ผลการหาประสิทธิภาพของ WBI แบบทบทวนร่วมกับโปรแกรมตรวจสอบการ

Download Report

Transcript ผลการหาประสิทธิภาพของ WBI แบบทบทวนร่วมกับโปรแกรมตรวจสอบการ

ชือ
่ ปัญหาพิเศษ
การพัฒนา WBI แบบทบทวนร่วมกับโปรแกรมตรวจสอบการเขียน DFD
วิชาการวิเคราะห์และออกแบบระบบ
วิศลั ยา ทองทับ
กฤช สินธนะกุล
: วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก
: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนื อ
ปี ทีว่ จิ ยั : 2552
ที่มาของปัญหา
วิชาการวิเคราะห์และออกแบบระบบ
เน้นความรู้ ความเข้าใจพื้นฐานในขั้นตอนการวิเคราะห์ และ
พัฒนาระบบ
เนื้อหาบางตอนมีความซับซ้อนทาความเข้าใจได้ยาก
ทาให้ผเู้ รี ยนบางคนเข้าใจได้ไม่ดี
นักศึกษาภาคสมทบ(วันอาทิตย์) มีเวลาทาความเข้าใจน้อย
วัตถุประสงค์ ของงานวิจัย
 เพื่อพัฒนา WBI แบบทบทวนร่ วมกับโปรแกรมตรวจสอบการ
เขียน DFDวิชาการวิเคราะห์และออกแบบระบบ
 เพื่อหาประสิ ทธิ ภาพบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่สร้างขึ้น
 เพื่อหาผลสัมฤทธิ์ ทางเรี ยนด้วยบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ที่สร้างขึ้น
 เพื่อศึกษาระดับความพึงพอใจของผูเ้ รี ยน ที่มีต่อบทเรี ยน
คอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่สร้างขึ้น
สมมติฐานการวิจัย
WBI แบบทบทวนร่ ว มกับ โปรแกรมตรวจสอบการเขี ย น DFD
วิ ช าการวิ เ คราะห์ แ ละออกแบบระบบ ที่ พ ัฒ นาขึ้ นตามเกณฑ์
มาตรฐาน 80/80
ผลสัม ฤทธิ์ ทางการเรี ยนของผูเ้ รี ยน หลัง จากเรี ยน WBI
ที่
พัฒนาขึ้นสู งกว่าก่อนเรี ยน ที่ระดับนัยสาคัญทางสถิติ .05
ความพึงพอใจของผูเ้ รี ยน ที่ มีต่อบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนที่
พัฒนาขึ้นอยู่ในระดับมาก
ประโยชน์ ที่คาดว่ าจะได้ รับ
ได้ WBI แบบทบทวนร่ วมกับ โปรแกรมตรวจสอบการเขี ยน Data
Flow Diagram วิ ชาการวิ เ คราะห์ และออกแบบระบบ ที่ มี
ประสิ ทธิภาพ ตามหลักสู ตรบริ หารธุรกิจ วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก
นัก ศึ ก ษาได้รั บ รู ป แบบการเรี ย นรู ป แบบใหม่ ๆ ที่ ส ามารถเรี ย นรู ้
ศึกษา ด้วยตนเองได้โดยไม่จากัดเวลาและสถานที่
ลดปั ญ หาความแตกต่ า งของผู ้เ รี ยน เพราะบทเรี ยนที่ พ ัฒ นาขึ้ น
สามารถทาให้ผเู ้ รี ยนใช้วิธีการเรี ยนรู ้ดว้ ยตนเอง
ประโยชน์ ที่คาดว่ าจะได้ รับ (ต่ อ)
สามารถช่วยผูเ้ รี ยนเข้าใจเนื้อหาและสามารถนาไปใช้ทดแทนกับเวลา
เรี ยนที่ ขาดหายไป และสามารถเติมเต็มเนื้อหาให้สมบูรณ์ตรงตาม
หลักสู ตรได้อีก ทั้งยังช่วยสร้างความเข้าใจให้มากยิง่ ขึ้น
เป็ นแนวทางให้ผสู ้ อนนาสื่ อการสอนไปใช้ในการประกอบกับการเรี ยน
การสอนให้เกิดประโยชน์มากยิง่ ขึ้นเพื่อเสริ มประสิ ทธิ ภาพในการ
ดาเนินการสอน ส่ งผลให้เกิดผลสัมฤทธิ์ กับผูเ้ รี ยนยิง่ ขึ้น
เป็ นแนวทางในการพัฒนาบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการ
วิเคราะห์และออกแบบระบบ ในเรื่ องอื่นๆ ต่อไป
งานวิจัยที่เกีย่ วข้ อง
พัฒนาบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่ องผลการสอนโดยใช้เกมการ
สอน (พังงา :2540)
พัฒนาและหาประสิ ทธิภาพของบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนกลุ่ม
สาระการเรี ยนรู ้วิชาคณิ ตศาสตร์ เรื่ องบทประยุกต์ (วรชตพร :2548)
พัฒนา และหาประสิ ทธิภาพของบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนบน
เครื อข่ายอินเทอร์เน็ต วิชาดิจิตอลเบื้องต้น (นภวรรณ :2547)
งานวิจัยที่เกีย่ วข้ อง (ต่ อ)
การพัฒนาบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชาสถิติเบื้องต้น เรื่ องทฤษฎี
ความน่าจะเป็ นเบื้องต้น (อภิญญา :2546)
พัฒนาบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่ องสัตว์ (อดิศร :2542)
Active and Interactive Learning Online : A comparison of Web-Based
and Conventional Writing Classes (Brad, Carolyn, David and Jamie
:2000 )
วิธีดาเนินการวิจยั
–
–
–
–
–
–
การศึกษาข้อมูล
ออกแบบแบบแผนการทดลอง
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
การพัฒนาเครื่ องมือที่ใช้ในการวิจยั
ผลการประเมินเครื่ องมือที่ใช้ในการวิจยั
การดาเนินการทดลองและเก็บรวบรวมข้อมูล
การศึกษาข้อมูล
• ศึกษาหลักการและวิธีการสร้ าง WBI เช่ น วิธีการนาเสนอ และรู ปแบบจาก
ตารา เอกสาร งานวิจยั และสิ่ งพิมพ์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
• ศึกษาเครื่ องมื อสาหรั บสร้ าง WBI ซึ่ งเกี่ ยวข้องในการสร้ างเนื้ อหาบทเรี ยน
รู ปภาพ การทาแบบฝึ กหัดและแบบทดสอบ การเก็บสถิติการเรี ยน และการ
เก็บคะแนนใน WBI ได้แก่ โปรแกรม Macromedia Dreamweaver 8 ,
Macromedia Flash 8 , Adobe Photoshop เป็ นต้น
• ศึ กษาหลักการวิเคราะห์ เนื้ อหาจากคาอธิ บายรายวิชา
เพื่อกาหนด
วัตถุประสงค์ทวั่ ไปและวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
• ศึกษาเนื้อหาวิชา
ออกแบบแบบแผนการทดลอง
• การวิจยั เชิงทดลอง (Experimental Research) แบบกลุ่มเดียว
โดยใช้รูปแบบ One-Group Pretest-Posttest Design
กลุ่ม การทดสอบ การทดลอง การทดสอบ
ตัวอย่ าง ก่ อนเรียน
หลังเรียน
E
่
E แทนกลุ่มตัT
วอย่
า
งซึ
่
ง
เป็
น
กลุ
มทดลอง
X
1
X แทนการเรี ยนด้วยเว็บช่วยสอน
วิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบ
T1 แทนการทดสอบก่อนบทเรี ยน
T2 แทนการทดสอบหลังบทเรี ยน
T2
กาหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากร
ประชากรในการวิจยั ครั้งนี้ คือนักศึกษาระดับปริ ญญาตรี วิทยาลัยเซาธ์
อีสท์บางกอก ที่ผา่ นการเรี ยนวิชาการวิเคราะห์และออกแบบระบบ
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ภาคสมทบ(วันอาทิตย์) ปี การศึกษา 2552
กลุ่มตัวอย่ าง
กลุ่มตัวอย่างในการวิจยั ครั้งนี้ คือนักศึกษาระดับปริ ญญาตรี วิทยาลัย
เซาธ์อีสท์บางกอก ที่ผา่ นการเรี ยนวิชาการวิเคราะห์และออกแบบระบบ
โดยใช้วิธีเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) จานวนทั้งสิ้ น 20 คน
การสร้ างและหาประสิ ทธิภาพของแบบทดสอบ
เริ่มต้ น
สร้ างและหาคุณภาพของแบบทดสอบ
ค่า IOC
ค่า P, D, r
สร้ าง WBI แบบทบทวนร่ วมกับโปรแกรมตรวจสอบการเขียน DFD วิชาการวิเคราะห์ และออกแบบระบบ
สร้ างแบบประเมินสาหรับผู้เชี่ยวชาญ
ไม่ ผ่าน
ที่ปรึกษาตรวจ
ปรับปรุง
ผ่าน
1
การสร้ างและหาประสิ ทธิภาพของแบบทดสอบ (ต่ อ)
1
พัฒนาWBI แบบทบทวนร่ วมกับโปรแกรมตรวจสอบการเขียน DFD วิชาการวิเคราะห์ และออกแบบ
ไม่ ผ่าน
ผู้เชี่ยวชาญตรวจ
ปรับปรุง
ผ่าน
ไม่ ผ่าน
ปรับปรุง
พิจารณาผล
ผ่าน
ได้ เครื่องมือที่ใช้ ในการวิจยั ที่พร้ อมนาไปใช้ กบั กลุ่มตัวอย่าง
จบการทางาน
ผลการประเมินความคิดเห็นของผูเ้ ชี่ยวชาญที่มีต่อการพัฒนา WBI
แบบทบทวนร่ วมกับโปรแกรมตรวจสอบการเขียน DFD
วิชาการวิเคราะห์และออกแบบระบบ
ด้ านเนือ้ หา
รายการประเมิน
ค่ าเฉลีย่
(x)
ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
(S.D.)
ระดับ
ความเห็น
1. ด้านเนื้อหาและการดาเนินเรื่ อง
4.07
0.06
ดี
2. ด้านแบบทดสอบและการ
ประเมินผล
4.21
0.07
ดี
4.14
0.06
ดี
ค่ าเฉลีย่ รวม
ขั้นตอนการสร้ างบทเรียนคอมพิวเตอร์
เริ่ม
เตรียมข้ อมูล
โครงร่ างจอภาพ
ทดลอง
กลุ่มย่ อย
สอบถามผู้เชี่ยวชาญ
ปรับปรุง
ไม่ มีข้อเสนอแนะ
ติดตั้งบทเรียน
ออกแบบผังงาน
เขียนบทดาเนินเรื่อง
ตรวจสอบโดยที่
ปรึกษา
สร้ างบทเรียน
ตรวจสอบโดยที่
ปรึกษา
ไม่ ผ่าน
ปรับปรุงบทเรียน
มีข้อเสนอแนะ
ผ่าน
มีข้อเสนอแนะ
ไม่ มีข้อเสนอแนะ
บทเรียนที่สมบูรณ์
จบ
ปรับปรุง
ผลการประเมินความคิดเห็นของผูเ้ ชี่ยวชาญที่มีต่อการพัฒนา WBI
แบบทบทวนร่ วมกับโปรแกรมตรวจสอบการเขียน DFD
วิชาการวิเคราะห์และออกแบบระบบ
ด้ านเทคนิค
รายการประเมิน
ด้านภาพและภาษา
2. ด้านตัวอักษร สี และเสี ยง
3. ด้านการจัดการบทเรี ยน
4. ด้านการปฏิสม
ั พันธ์
1.
(Interactive)
ค่ าเฉลีย่
(x)
ส่ วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน (S.D.)
ระดับ
ความเห็น
3.60
0.35
3.87
0.12
3.68
0.03
3.89
0.10
ดี
ดี
ดี
ดี
ขั้นตอนการสร้างโปรแกรม
ตรวจสอบการเขียน DFD
เริ่มต้ น
กาหนดให้ คะแนน=0
ผู้ใช้ ป้อนชื่อ
ผู้ใช้ ทากิจกรรม
ส่ งคาตอบ
ตรวจสอบคะแนน มากกว่ า
เกณฑ์ ทกี่ าหนดหรือไม่
ผ่ าน
ตรวจสอบจานวนครั้งทีท่ า
ข้ อสอบ>1
ผ่ าน
สรุ ปคะแนนและเก็บข้ อมูลลงฐานข้ อมูล
จบการทางาน
ไม่ ผ่าน
ไม่ ผ่าน
เว็บช่ วยสอนวิชา การวิเคราะห์ และออกแบบระบบ
โปรแกรมตรวจสอบการเขียน DFD
ผู้เรียน
ขั้นตอนการเรียน
Login : Username
ผู้เรียน
สอบก่ อนเรียน
คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน
วิชาการวิเคราะห์ และออกแบบ
สอบระหว่างเรี ยน
Login : Username
โปรแกรม
ตรวจสอบการเขียน DFD
สอบหลังเรียน
ผู้เรียน
การดาเนินการทดลองและเก็บรวบรวมข้อมูล
การเข้าสู่ การเรี ยนด้วย WBI แบบทบทวนร่ วมกับโปรแกรมตรวจสอบการ
เขียน DFD วิชาการวิเคราะห์และออกแบบระบบ ให้ผเู้ รี ยนสมัครเข้าเรี ยน
และทาแบบทดสอบก่อนเรี ยน (Pretest)
 ให้ผเู้ รี ยนทาแบบทดสอบระหว่างเรี ยนในแต่ละเรื่ อง โดยผูเ้ รี ยนจะทาในโปรแกรมเริ นสแควร์
 ผูเ้ รี ยนเข้าฝึ กทดสอบการเขียน DFD ด้วยโปรแกรมที่สร้างขึ้น
 หลังจากศึกษาครบทุกเรื่ องแล้ว จึงให้ผเู้ รี ยนทาแบบทดสอบหลังเรี ยน (Posttest)
ผลการหาประสิ ทธิภาพของ WBI แบบทบทวนร่ วมกับโปรแกรม
ตรวจสอบการเขียน DFD วิชาการวิเคราะห์ และออกแบบระบบ
(E1/E2 : 80/80)
รายการ
คะแน
นเต็ม
ค่ าเฉลีย่
S.D.
ร้อยละ
คะแนนแบบทดสอบ
21
19.05 0.89
90.71
ระหวางเรี
ยน (E1)
่
แสดงว่ า การเรียนด้ วย งWBI แบบทบทวนร่
วมกับโปรแกรมตรวจสอบ
คะแนนแบบทดสอบหลั
23
19.70
2.23
85.65
เรียการเขี
น (E2)
ยน DFD วิชาการวิเคราะห์ และออกแบบระบบ ที่ผู้วิจัยสร้ างขึน้ มี
ประสิ ทธิภาพ เท่ ากับ 90.71/85.65
ผลการเปรียบเทียบผลสั มฤทธิ์ทางการเรียนด้ วย WBI
แบบทบทวนร่ วมกับโปรแกรมตรวจสอบการเขียน DFD
วิชาการวิเคราะห์ และออกแบบระบบ
คะแน
น
จานวน คะแนน
ผู้เรียน เต็ม
(N)
ค่ าเฉลีย่
S.D.
t
กอน
20
23
14.25
4.76
่
* มีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดับ .05, df =19
เรียน
5.77**
้ เรียนหลังเรี2.23
ยนสู งกว่ าก่อนเรียน
หลัง แสดงให้ เห็20นว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรี
23 ยนของผู
19.70
ด้ วย WBI แบบทบทวนร่ วมกับโปรแกรมตรวจสอบการเขียน DFDวิชาการ
เรียน
วิเคราะห์ และออกแบบระบบ อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติทรี่ ะดับ .05
ผลการประเมินหาความพึงพอใจของผู้เรียนด้ วย WBI แบบทบทวนร่ วมกับ
โปรแกรมตรวจสอบการเขียน DFD วิชาการวิเคราะห์ และออกแบบระบบ
ผลการวิเคราะห์
รายการประเมิน
X
S.D.
เกณฑ์
ความพึงพอใจ
1. ความเข้ าใจที่มีต่อเนือ้ หาบรรยายในบทเรียน
3.90
0.54
มาก
2. เนือ้ หามีความเหมาะสมกับผู้เรียน
4.00
0.55
มาก
3. สีสันของหน้ าจอหน้ าสนใจ
3.95
0.59
มาก
4. คาอธิบายในการปฏิบัตใิ นบทเรียนมีความชัดเจน
4.10
0.54
มาก
5. บทเรียนน่ าสนใจชวนให้ ตดิ ตาม
3.95
0.38
มาก
6. คาชี้แจงอ่านเข้ าใจง่ าย
3.85
0.57
มาก
7. ต้ องการให้ มีการแจ้ งผลหลังทาแบบทดสอบ
3.90
0.77
มาก
8. การนาเสนอเนือ้ หามีความต่ อเนื่อง
3.95
0.50
มาก
9. บทเรียนช่ วยให้ เกิดการเรียนรู้ (เข้ าใจ)
4.05
0.67
มาก
3.96
0.58
มาก
รวม
แสดงว่ าผลการประเมินหาความพึงพอใจของผู้เรียนอยู่ในระดับมาก
สรุปผลการวิจยั
1. ด้านประสิ ทธิภาพของบทเรี ยนที่สร้างขึ้น คิดคะแนนเฉลี่ยร้อยละของการ
ทาแบบทดสอบระหว่างเรี ยนกับแบบทดสอบหลังเรี ยน ที่ผเู ้ รี ยนทาได้มี
ค่า 90.71/85.65 อยูใ่ นเกณฑ์สูงกว่าเกณฑ์ 80/80
2.ด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนระหว่างก่อนเรี ยนและหลังเรี ยน พบว่า
คะแนนสอบหลังเรี ยนสูงกว่าคะแนนสอบก่อนเรี ยน อย่างมีนยั สาคัญทาง
สถิติที่ระดับ .05
3.ความพึงพอใจของผูเ้ รี ยนต่อบทเรี ยนที่สร้างขึ้น ค่าเฉลี่ย 3.96 อยูใ่ นระดับ
ความพึงพอใจมาก
ข้ อเสนอแนะในการวิจัย
1. ปั จจุบนั แนวโน้มการจัดการศึกษาผ่านระบบออนไลน์ ได้ขยายตัวอย่าง
รวดเร็ วมีชื่อเรี ยกหลากหลายกันไป ผูพ้ ฒั นาเกี่ยวกับบทเรี ยนที่สนับสนุน
ระบบการศึกษาแบบนี้ ควรให้ ความสาคัญในการกระบวนการนาเสนอ
เนื้ อ หาบทเรี ย นให้ มี ก ารปฏิ สั ม พั น ธ์ มากขึ้ น มี สื่ อ เสริ ม แ ละระบบ
สนับสนุนในการเรียนต่ างๆ เพือ่ ให้ เกิดประโยชน์ สูงสุ ดแก่ผู้เรียน
ข้ อเสนอแนะการวิจัยในครั้งต่ อไป
1. ควรจัดทาเนื้อหาของรายวิชาการโปรแกรมอื่น เพราะจะได้ตกแต่งหรื อ
ใช่ลูกเล่น (Simulation)ให้ดูสวยงาม เพื่อดึงดูดความสนใจของผูเ้ รี ยน
2. ควรมีการเฉลยคาตอบของแบบทดสอบระหว่างเรี ยน เพื่อให้ทราบให้
ผลลัพธ์ที่ถูกต้องของแบบทดสอบ
3. ควรใช้ระบบอื่นที่มีประสิ ทธิ ภาพในการจัดการบทเรี ยนได้ม ากกว่านี้
เนื่ องจากในการติดตั้งโปรแกรมถ้าจาลองบทเรี ยนลงใน local host
เวอร์ ชนั่ ใด ถ้านาไปขึ้นเว็บก็ตอ้ งใช้เวอร์ ชนั่ นั้น ไม่เช่นนั้นจะมีปัญหา
กับฐานข้อมูล