Transcript VoIP

VoIP
โดย
ิ
นายว
เ
ชี
ย
ร
จ
าปาแดง
รหัสนักศึกษา 55631859
สาขาวิชา การศึกษาวิทยาศาสตร์
คณะครุศ(คอมพ
าสตร์ิ วอเตอร์
ตุ สาหกรรม
)
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณ
VoIP
VoIP ยอมาจาก
(Voice over Internet
่
Protocol) (หรือชือ
่ อืน
่ IP Telephony,
Internet telephony, หรือ Digital Phone) เป็ น
การสื่ อสารทางเสี ยงผานโครงข
าย
่
่
อินเทอรเน็
น
่ ๆ ทีใ่ ช้
่
์ ต หรือโครงขายอื
อินเทอรเน็
์ ตโพรโทคอล สั ญญาณเสี ยงจะ
ถูกตัดแบงเป็
่ นแพ็คเก็ตวิง่ ผานไปบน
่
โครงขายที
ใ่ ช้สาหรับการสื่ อสารขอมู
่
้ ล
ทัว่ ไป แทนการใช้วงจรเฉพาะตามวิธก
ี าร
VoIP
ก่อนที่เราจะรู้ว่า VoIP คืออ
อะไร สิ่งที่เราควรจะต้องรูก้ ่อน
ก็คือ เครือข่าย IP มีหลักการ
พืน้ ฐานอย่างไร แล้วจึงพัฒนา
ไปเป็ น VoIP ได้อย่างไร
หลั
ก
การพื
น
้
ฐานของ
เครือข่ายไอพี มีพฒ
ั นามาจากรากฐาน
อข่ายPacket
IP โดยระบบมีการ
ระบบการสืเครื
่อสารแบบ
กาหนด Address ที่เรียกว่า IP Address จาก IP
Address หนึ่ ง ถ้าต้องการส่งข่าวสารไปยังอีก IP
Address หนึ่ ง ใช้หลักการบรรจุข้อมูลใส่ใน
Packet แล้วส่งไปในเครือข่าย ระบบการจัดส่ง
Packet กระทา ด้วยอุปกรณ์ สื่อสารจาพวก
Router โดยมีหลักพืน
้ ฐานการส่งเป็ นแบบ
หลักการพืน้ ฐานของ
"เป็ นที่ เก็บข้อมูลที่ เป็ นอิสระ ซึ่งมี
เครือข่าย IP
สารสนเทศเพียงพอในการเดินทาง
จากแหล่งข้อมูลไปยังคอมพิวเตอร์
ปลายทาง โดยปราศจากความเชื่อมัน่
ของการเปลี่ยนครัง้ ก่อน ระหว่าง
แหล่งข้อมูลกับคอมพิวเตอร์ปลายทาง
หลักการพืน้ ฐานของ
เครือข่าย IP
หลักการพืน้ ฐานของ
ซึ่งจะเห็นว่าการส่งแบบ Packet เข้าไปใน
เครื
อ
ข่
า
ย
IP
เครือข่ายนัน้ จะไม่มีการประกันว่า Packet นัน้
จะถึงปลายทางเมื่อไร ดังนัน้ รูปแบบของ
เครือข่ายไอพีจึงไม่เหมาะสมกับการสื่อสาร
แบบต่อเนื่ องเช่น การส่งสัญญาณเสียง หรือ
วิดีโอ เมื่อเครือข่าย IP กว้างขวางและเชื่อมโยง
กันมากขึน้ ความต้องการส่งสัญญาณข้อมูล
เสียงที่ได้คณ
ุ ภาพจึงเกิดขึน้ ก็เลยมีการพัฒนา
Over IP
อที่เรียคืกกั
แล้วVoIP-Voice
Voice over
IPหรื
(VoIP)
อนว่า “VoIP
Gateway” หมายถึง การส่งเสียงบนเครือข่ายไอพี
อะไร
เป็ นระบบที่แปลงสัญญาณเสียงในรูปของ
สัญญาณไฟฟ้ ามาเปลี่ยนเป็ นสัญญาณดิจิตอล
คือ นาข้อมูลเสียงมาบีบอัดและบรรจุลงเป็ น
แพ็กเก็ต ไอพี (IP) แล้วส่งไปโดยมีเราเตอร์
(Router) ที่ เป็ นตัวรับสัญญาณแพ็กเก็ต และ
แก้ปัญหาบางอย่างให้ เช่น การบีบอัด
การสื่อสารผ่านทางเครือข่ายไอ
พีต้องมีเราเตอร์ (Router) ที่ทาหน้ าที่
พิเศษเพื่อประกันคุณภาพ
ช่องสัญญาณไอพีนี้ เพื่อให้ข้อมูลไป
ถึง ปลายทางหรือกลับมาได้อย่าง
ถูกต้อง และอาจมีการให้สิทธิพิเศษ
ก่อนแพ็กเก็ตไอพีอื่น (Quality of
Service : QoS) เพื่อการให้บริการที่ ทา
นอกจากนัน้ Voice over IP (VoIP)
ยังเป็ นการส่งข้อมูลเสียงแบบ 2 ทาง
บนระบบเครือข่ายแบบ packetswitched IP network ซึ่งข้อมูลนี้ จะถูก
ส่งผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
สาธารณะ เพื่อสื่อสารระหว่าง VoIP
ด้วยกัน โดยที่ยงั คงความเป็ นส่วนตัว
เทคโนโลยีและการทางาน
สาหรับมาตรฐานที่มีการใช้งานอยู่
ของ
VoIP
บนเทคโนโลยี VoIP นัน้ โดยทัวไปจะมี
่
อยู่
2 มาตรฐานด้วยกัน ได้แก่... มาตรฐาน
H.323 และมาตรฐาน SIP มาตรฐาน
เหล่านี้ เราสามารถเรียกได้อีกอย่างหนึ่ ง
ว่า “Call Control Technologies” ซึ่งถือว่าเป็ น
ส่วนประกอบสาคัญสาหรับการนา
สาหรับมาตรฐาน H.323
นัน้ จริงๆ
H.323
แล้วไม่ได้ถกู ออกแบบมาให้
ใช้งานกับ
Standard
ระบบเครือข่ายที่ใช้ Internet Protocol (IP)
นอกจากนัน้ มาตรฐาน H.323 ยังมีการ
ทางานที่ค่อนข้างช้า โดยปกติแล้วเราจะ
เสนอการใช้งานมาตรฐาน H.323 ให้กบั
ลูกค้าก็ต่อเมือ่ ในระบบเดิมของลูกค้ามี
 มาตรฐาน H.323 เป็ นมาตรฐานภายใต้
ITU-T (International Telecommunications Union)
Standard
 ในตอนแรกนัน
้ มาตรฐาน H.323 ได้ถกู
พัฒนาขึน้ มาเพื่อเป็ นมาตรฐานสาหรับการทา
Multimedia Conferencing บนระบบเครือข่าย LAN
เป็ นหลัก แต่มาในตอนหลังจึงถูกพัฒนาให้
ครอบคลุมถึงการทางานกับเทคโนโลยี VoIP ด้วย
 อุปกรณ์ ต่างๆ จากหลากหลายยี่ห้อ หรือ
หลายๆ Vendors นัน้ สามารถที่จะทางานร่วมกัน
(Inter-Operate) ผ่านมาตรฐาน H.323 ได้
 มาตรฐาน H.323 สามารถรองรับการทางานได้
ทัง้ แบบ Point-to-Point Communications และแบบ
Multi-Point Conferences
How VoIP
ในส่วนนี้ เราจะมาทWorks
าความรู้จกั
เกี่ยวกับการทางานของเทคโนโลยี
VoIP แต่ก่อนอื่นที่ เราจะไปรู้จก
ั กับ
กระบวนการต่างๆ ของเทคโนโลยี
VoIP นัน
้ ผมขอนาทุกท่านมารู้จกั
รูปแบบของโปรโตคอล IP กันอย่าง
Internet Protocol (IP)
Internet Protocol หรือ IP จะเป็ นโปรโตคอลที่ใช้ใน
การสื่อสารข้อมูลในระบบ Internet ซึ่งในส่วน
ของการทางานคร่าวๆ ของโปรโตคอล IP นี้
สามารถสรุปอย่างย่อได้ดงั ต่อไปนี้
ข้อมูลจะถูกแบ่งย่อยออกเป็ นส่วนๆ
แต่ละส่วนของข้อมูลจะถูกส่งออกไปใน
เส้นทางที่อาจจะแตกต่างกันบนระบบ Internet
ข้อมูลย่อยแต่ละส่วนนัน้ จะไปถึงยังปลายทาง
ในเวลาและลาดับที่ไม่พร้อมเพรียงกัน
หลังจากนัน้ จะมีโปรโตคอลอีกหนึ่ งตัวเข้ามา
เกี่ยวข้อง คือ Transmission Control Protocol (TCP)
ซึ่ง TCP นี้ จะเข้ามาช่วยเกี่ยวกับการเรียงลาดับ
ข้อมูลที่มาถึงยังปลายทางนี้ ให้อยูใ่ นลาดับ
และรูปแบบที่ถกู ต้องเหมือนข้อมูลต้นแบบ
ก่อนที่จะถูกส่งออกมา
โปรโตคอล IP นี้ จะเป็ นโปรโตคอลในการ
สื่อสารแบบที่เรียกว่า Connectionless Protocol ซึ่ง
เป็ นการสื่อสารที่จดุ ต้นทางและปลายของการ
สื่อสารไม่จาเป็ นที่จะต้องสร้างการเชื่อมต่อ
(Connection) ขึน
้ มา ณ เวลาที่ต้องการทาการ
หลังจากได้ทราบคร่าวๆ เกี่ยวกับ
สื่อสาร
โปรโตคอล IP กันไปแล้ว เราก็จะมาคุยกันถึง
กระบวนการทางานของเทคโนโลยี VoIP กัน ซึ่งมี
ขัน้ ตอนอยู่พอสมควรดังต่อไปนี้ ...
Conversion to PCM (Pulse Code Modulation)
ขัน้ ตอนนี้ จะเป็ นการแปลงสัญญาณ Analog
ให้ไปอยู่ในรูปแบบสัญญาณ Digital หรือที่
เรียกว่า PCM
Removal of Echo
ขัน้ ตอนต่อไปนี้ จะเป็ นการมีการแยก
สัญญาณออกเป็ นส่วนๆ เพื่อทาการตัดสัญญาณ
Echo ออก ซึ่งกระบวนการนี้ จะถูกจัดการโดย DSP
(Digital Signal Processors)
ในส่วนของสัญญาณที่เหลือนัน้ ก็จะถูกแบ่ง
และจัดรูปแบบขึน้ มาใหม่ในรูปของ Frame ซึ่ง
กระบวนการนี้ จะถูกจัดการโดยรูปแบบการบีบ
อัดที่เรียกว่า CODEC หลังจากกระบวนการนี้ แล้ว
Frame ของสัญญาณเสียงจะถูกสร้างขึน
้
Packetisation
ในกระบวนการนี้ จะเป็ นการแปลง Frame ของ
สัญญาณให้มาอยู่ในรูปของ Packet ซึ่งจะมีการ
เพิ่ม Header เข้าไปใน Packet โดยในส่วนของ
Header นัน
้ ก็จะประกอบไปด้วยข้อมูลที่เรียกว่า
Sequence Number และ Time Stamp หลังจากนัน
้
Packet นี้ จะถูกส่งต่อไปที่ Host Processor
Address and
Delivery
หลังจากที่ได้แปลงสัญญาณให้อยู่ในรูปของ
Packet แล้ว ข้อมูลนัน
้ จะถูกนามาวิเคราะห์และ
ใส่ค่า IP Address ปลายทาง
Conversion to Analog
หลังจากที่ได้ทาการใส่ค่าของ IP Address ปลายทาง
ไปใน Header ของ Packet แล้วนัน้ เมื่อ Packet เหล่านัน้ ไป
ถึงด้านปลายทาง ข้อมูล Header เหล่านี้ จะถูกแยกออก
เพื่อให้เหลือแค่ Voice Frame หลังจากนัน้ ก็จะทาการแปลง
สั
ญ
ญาณ
Digital PCM ให้กลับมาเป็ นสัญญาณรูปแบบ
Error Correction
Analogกระบวนการนี
ที่เป็ นสัญญาณเสี้ จยะเป็
งที่เนราได้
ยินกันอีกครัง้่ใหนึ
กระบวนการที
ช้ใ่ งน
การตรวจสอบและแก้ไขข้อผิดพลาดซึ่งอาจจะ
เกิดขึน้ ระหว่างการส่งสัญญาณและนามาซึ่ง
ความผิดเพี้ยนหรือความเสียหายของสัญญาณจน
ระบบของ VoIP สามารถแบ่งได้เป็ น 4
ส่วนคือ
2.1 Voice Processing module
2.2 The Call Processing module
2.3 Packet Processing module
2.4 Network management
นา VoIP มาใช้
่อมนาสิ่งที่
แน่ นอนว่าเทคโนโลยี
ใ
หม่
ย
การใช้
VoIP ให้เกิดอย่างไร
ดีกว่ามาให้เสมอ สาหรับ VoIP ก็เช่นเดียวกัน
ประโยชน์
ประการสาคัญของประโยชน์ ที่ได้รบั จาก VoIP คง
ต้องเป็ นเรื่องการลดค่าใช้จ่ายในการโทรศัพท์
ขององค์กรลง ไม่ว่าจะเป็ นการโทรในพืน้ ที่
เดียวกันหรือโทรทางไกล แม้กระทังการโทร
่
ต่างประเทศ ทัง้ โทรภายในองค์กรเองหรือโทร
ติดต่อกับหน่ วยงานอื่นๆหรือลูกค้า ล้วนแล้วแต่
1. ลดค่าใช้จ่าย (Cost Savings) ในการติดต่อสื่อสาร
ทางโทรศัพท์ลง เนื่ องจากเสียงได้ถกู เปลี่ยนให้อยู่
ในรูปแบบเดียวกับข้อมูล จึงทาให้สามารถส่ง
สัญญาณเสียงไปในเครือข่าย LAN หรือ WAN ได้เลย
่ายสูงกว่
ิ ดีคต่่าอใช้
ไม่เพ
ต้อิ่ มงผ่
านเครืดอหยุ
ข่า่นยในการต
PSTN ที่ ม
2.
ความยื
สื่อจสารให้
กบั า
องค์กร เช่น ในสาขาหรือ Siteงานชัวคราว
่
สามารถ
นา VPN ร่วมกับ VoIP ประกอบกันเพื่อสร้างระบบ
การติดต่อสื่อสารเต็มรูปแบบภายในองค์กรได้
3. จัดการระบบเครือข่ายได้ง่ายขึน
้ เนื่ องจาก
เครือข่ายการติดต่อสื่อสารทัง้ หมด สามารถยุบ
รวมกันให้เหลือเพียงเครือข่ายเดียวได้ อีกทัง้ ใน
กรณี ที่มีการโยกย้ายของหน่ วยงานหรือพนักงาน
การจัดการด้านหมายเลขโทรศัพท์และอื่นๆ
สามารถทาได้โดยไม่จาเป็ นต้องเดินสายสัญญาณ
4. รองรับการขยายตัวของระบบในอนาคต หากใน
ใดๆขึน้ มาใหม่
อนาคตองค์กรขยายตัวใหญ่ขึน้ VoIP สามารถ
รองรับผูใ้ ช้งานได้เพิ่มมากขึน้ ในทันทีโดยการเพิ่ม
“Virtual” User เข้าไปในระบบเท่านัน
้ เอง
5. ลดค่าใช้จ่ายในการดูแลและจัดการระบบ
(Reduce Operating Expenses) เนื่ องจากใช้ซอฟต์แวร์
ในการจัดการ ทาให้ VoIP นัน้ ง่ายในการจัดการและ
เพงิ่ มรักประส
บ6.ารุ
ษา ิ ทธิภาพการทางาน (Increase
Productivity) พนักงานสามารถส่งเอกสารผ่าน
เครือข่ายควบคู่ไปกับการสนทนา หรืออาจจัดการ
ประชุมออนไลน์ (Conference Call) ทัง้ ภาพและเสียง
และแม้กระทังส่
่ งเอกสารการประชุมให้กบั
7. ใช้ร่วมกับการสื่อสารไร้สายได้ ทาให้อป
ุ กรณ์
สื่อสารไร้สายต่างๆ เช่นโทรศัพท์มอื ถือหรือPDA
สามารถติดต่อผ่าน VoIP เข้ามาในเครือข่ายของ
องค์
8. เพกิ่ มรได้
ประสิทธิภาพในการติดต่อกับลูกค้า
(Improved Level of Services) โดยใช้ความสามารถของ
แอพพลิเคชันต่
่ างๆ ของ VoIP เช่น “Click-to-talk”
เพื่อเพิ่มความสะดวกและรวดเร็วในการติดต่อกับ
ลูกค้า
ตัวอย่าง Application การใช้งาน
เทคโนโลยี
VoIP
1. PBX to PBX Connection
ตัวอย่าง Application การใช้งาน
เทคโนโลยี
VoIP
2. Long Line PBX Extension
ตัวอย่าง Application การใช้งาน
เทคโนโลยี
VoIP
1. PBX to PBX Connection
ตัวอย่าง Application การใช้งาน
เทคโนโลยี
VoIP
3. Teleworker/ Local Access
ตัวอย่าง Application การใช้งาน
เทคโนโลยี
VoIP
4. Service Provider CPE
อนาคตของ และแนวโน้ ม
Voice over
น้ พร้อมๆ
กับการให้บริการ
ิ การIP เกิดขึของ
ทิศทางบร
VoIP
ิ
ิ
ิ
อ
น
เทอร์
เ
น็
ต
และได้
ก
ลายเป็
น
บร
ก
ารยอดน
ย
มของผู
ท
้
่
ี
แห่งยุค
เชี่ยวชาญด้านคอมพิวเตอร์ และนักศึกษา ซึ่งมีเวลาแต่
ไม่มีเงิน เมื่อไม่นานมานี้ และในปัจจุบนั Voice over IP ก็
กาลังได้รบั ความนิยมจากผูใ้ ช้เพิ่มมากขึน้ เรือ่ ยๆ การไม่
สามารถเปิดให้บริการโทรศัพท์ด้วยเสียงผ่าน
อินเทอร์เน็ตจากเครือข่ายที่มีอยู่เดิม อาจทาให้ผใู้ ห้
บริการ เช่น เวอริซอน, เอสบีซี และเบลล์เซาธ์ ต้อง
อนาคตของ และแนวโน้ ม
เมื่อเร็วๆนี้ บริษทั นี เมอร์เทส รีเสิรช์ ในชิคา
แนวโน้
ม
วงการ
ของ
VoIP
โก ทาสารวจ 42 บริษทั ซึ่งคิดเป็ น 70% ของบริษทั
โทรคมฯ
ที่มีรายได้มากกว่า 1,000 ล้านดอลลาร์ และพบว่า
ประชาชนเกือบ 2 ใน 3 ใช้โทรศัพท์ผา่ น
อินเทอร์เน็ต ขณะที่อีก 20% ที่เหลือ กาลังทดลอง
ใช้เทคโนโลยีดงั กล่าว จึงไม่แปลกใจว่าทาไมเมื่อ
เดือนธันวาคมที่ผา่ นมา เอที แอนด์ ที, เควสต์,
คอกซ์ คอมมิวนิเคชันส์, และไทม์ วอร์เนอร์ เทเล
อนาคตของ และแนวโน้ ม
over IP สร้
างความตื
ั
แนวโน้Voice
มวงการโทร
ของ
VoIP ่นเต้นให้กบ
ลูกค้(าต่นางแคธี
มาร์ติน รองประธานอาวุโส
คมฯ
อ)
เอที แอนด์ ที ผูซ้ ึ่งผลักดันให้บริการโทรศัพท์
ผ่านอินเทอร์เน็ต ของมา เบลล์ กลายเป็ น
บริการยอดนิยม 100 อันดับแรกในตลาด
ผูบ้ ริโภคทัวไปและองค์
่
กรธุรกิจของสหรัฐ
อนาคตของ และแนวโน้ ม
แนวโน้นับมตัวงการโทร
ง้ แต่การมาถึของ
งของโทรศั
พท์ในทศวรรษ 1950
VoIP
เป็ นต้(นต่มา
คมฯ
อ)แต่ความยืดหยุ่นของโทรศัพท์ผา่ น
อินเทอร์เน็ต อาจทาให้ผใู้ ช้ต้องอุทานคาดังกล่าว เพื่อ
แสดงออกถึงความพอใจในการใช้งาน ขณะที่นายเดวิด
ไอเซนเบิรก์ ที่ปรึกษาด้านโทรคมนาคมอิสระ ขยายความ
เรื่องความยืดหยุ่นของบริการ Voice over IP ไว้ว่า โทรศัพท์
ผ่านอินเทอร์เน็ต ทางานบนมาตรฐานเปิด จึงแตกต่าง
จากเครือข่ายโทรศัพท์พืน้ ฐาน ที่ต้องถูกควบคุมอย่าง
สิ่งที่ผลักดันให้ VoIP ภายใต้ ไอพี เทเลโฟนนี่ (IP
Telephony) เป็ นที่ ต้องการทางด้านการตลาด
ประการแรก โอกาสที่จะติดต่อ สื่อสารระหว่างประเทศ โดย
ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต หรืออินทราเน็ต โดยมีราคาที่
ถูกกว่าโครงข่ายโทรศัพท์ทวไป
ั่
ประการ 2 การพัฒนารูปแบบการสื่อสารใหม่ๆ เพิ่มขึน้ ใน
ปัจจุบนั โดยที่ส่วนหนึ่ งถูกพัฒนาขึน้ ให้สามารถใช้งานใน
VoIP ทาให้สามารถติดต่อสื่อสารได้กว้างไกลมากขึน
้
ประการ 3 การเป็ นที่ยอมรับ และรับเอาคอมพิวเตอร์เข้า
มาใช้ในชีวิตประจาวัน ในช่วง 10 ปี ที่ผา่ นมาอย่างมากมาย
รวมทัง้ การเพิ่ม จานวนขึน้ ของผูใ้ ช้งานอินเทอร์เน็ตใน
ปัจจุบนั เป็ นส่วนหนึ่ งที่ทาให้ VoIP ได้รบั ความนิยมในการ
ประการ
มีการใช้ประโยชน์ จากระบบ Network ที่มีการ
ติดต่อสื่อ4สาร
พัฒนาให้ดียิ่งๆ ขึน้ ไปในปัจจุบนั ให้สามารถใช้งาน ได้ทงั ้
ในการส่
อมูล และเสี
าด้วายกั
น
ประการง5ข้ความก้
าวหน้ยางเข้
ทางด้
นการประมวลผลของ
คอมพิวเตอร์ ช่วยลดต้นทุนในการสร้างเครือข่ายของ VoIP
ในขณะที่ ความสามารถ การให้บริการมีมากขึน้ ส่งผลให้
ธุรกิจต่างๆ เข้ามาร่วมใน VoIP มากขึน้
ประการ 6 ความต้องการที่จะมีหมายเลขเดียวในการ
ติดต่อสื่อสารทัวโลก
่
ทัง้ ด้านเสียง, แฟกซ์ และข้อมูล
ถึงแม้ว่าบุคคลนัน้ จะย้ายไปที่ใด ก็ตามก็ยงั คงสามารถใช้
ประการ 7 การเพิ่มขึน้ อย่างมากมายของการทารายการ
หมายเลขเดิมได้ เป็ นความต้องการของผูใ้ ช้งานและธุรกิจ
ต่างๆ บน e-Commerce ในปัจจุบนั ผูบ้ ริโภคต่างก็ต้องการ
การ บริการที่มีคณ
ุ ภาพ และมีการโต้ตอบกันได้ระหว่างที่
กาลังใช้ อินเทอร์เน็ตอยู่ ซึ่ง VoIP สามารถเข้ามาช่วยใน
ประการ
8 การเติบโตอย่างรวดเร็วของ Wireless
ส่วนนี้ ได้
Communication ในปัจจุบน
ั ซึ่งผูใ้ ช้ในกลุ่มนี้ ต้องการ การ
ติดต่อสื่อสาร ที่ราคาถูกลง แต่มีความยืดหยุ่นในการใช้
งาน ดังนัน้ ตลาดกลุ่มนี้ ถือว่า เป็ นโอกาสของ VoIP
ถาม ตอบ
The End