ภาพนิ่ง 1

Download Report

Transcript ภาพนิ่ง 1

Ch. 3 บริการต่ างๆ ใน Internet
ผศ.บุรัสกร อยู่สุข
ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์
คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
อินเทอร์ เน็ตทางานอย่างไร
ระบบอินเตอร์เน็ตสามารถทางานได้เนื่องจาก




การติดต่อสื่ อสารใช้กฎและข้อตกลงเดียวกัน หรื อ Protocol Transmission
Control Protocol / Internet Protocol (TCP/IP)
หลักการ เครื อข่ายแบบแพคเกตสวิทช์ (Packet-Switching Network) = แพค
เก็ตหรื อกลุ่มข้อมูลจะถูกแบ่งออกเป็ นกลุ่มๆ และส่ งไปยังปลายทางโดยใช้
เส้นทางต่างๆ กัน ตามแต่ปลายทางที่กาหนด
เครื่ องคอมพิวเตอร์ ที่เชื่อมต่ออยูก่ บั เครื อข่ายจะต้องมีหมายเลขประจาเครื่ อง
ให้เครื่ องคอมพิวเตอร์อื่นๆ อ้างอิงถึงได้  หมายเลขไอพี (IP Address)
หมายเลขไอพี (IP Address) ชุดหนึ่งใช้ขนาด 32 บิต หมายเลขชุดนี้จะถูก
แบ่งเป็ น 4 ส่ วน ส่ วนละ 8 บิตเท่าๆ กัน
0-255.
0-255.
0-255.
0-255
คำถำม
จงตรวจสอบว่ำกำรเขียน IP Address ถูกต้องหรื อไม่
IP Address
255.16.3.0
155.256.60.103
254.36.106.36
255.255.255.255
245.257.135.10
/
คำถำม
จงตรวจสอบว่ำกำรเขียน IP Address ถูกต้องหรื อไม่
IP Address
255.16.3.0
155.256.60.103
254.36.106.36
255.255.255.255
245.257.135.10
/





อินเทอร์ เน็ตทางานอย่างไร (ต่ อ)




ปัญหา คือ หมายเลขไอพีจดจาได้ ยาก จึงเกิดการตั้งชื่อที่เป็ นตัวอักษร
ขึน้ มาแทนหมายเลขไอพี เรียกว่ า ดีเอ็นเอส (DNS : Domain Name
Server)
DNS ประกอบไปด้ วย 2 ส่ วน คือ ชื่อ และตามด้ วยโดเมน
หน่ วยงาน InterNIC (Internet Network Information Center) ได้
กาหนด รหัสโดเมนระดับบนสุ ด (Top-Level Domain Name) ให้
เป็ นมาตรฐานใช้ ร่วมกัน
ชื่อโดเมนระดับบนสุ ดจะบอกถึงประเภทขององค์ กร หรือ ชื่อ
ประเทศทีเ่ ครือข่ ายตั้งอยู่
การบริการบนอินเทอร์ เน็ต
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
จดหมายอิเล็คทรอนิคส์ (Electronic Mail หรือ E-mail)
ระบบลิสต์ เซิร์ฟ (listserv: List Server)
บริการเข้ าใช้ ระบบคอมพิวเตอร์ ระยะไกล (Remote Login, Telnet)
บริการโอนย้ ายข้ อมูล (FTP)
บริการแลกเปลีย่ นข้ อมูลและความคิดเห็น (Usenet News)
การสนทนาออนไลน์
บริการค้ นหาข้ อมูลจากระบบห้ องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic
Library)
เวิลด์ ไวด์ เวบ (World Wide Web)
จดหมำยอิเล็คทรอนิคส์
(Electronic Mail หรื อ E-mail)


ขอมู
ปแบบอืน
่ ๆ
้ ลอาจอยูในรู
่
นอกเหนือจากตัวอักษร
เช่น ภาพนิ่ง
ภาพเคลือ
่ นไหว เสี ยง
แนบไปพรอมกั
บจดหมายได้
้
เป็ นบริ กำรที่รับส่ งข้อควำมเพื่อติดต่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่ำวสำร
ผ่ำนเครื อข่ำยคอมพิวเตอร์กบั บุคคลอื่นๆ
ที่อยูข่ องกำรส่ งอีเมล์ประกอบด้วยสองส่ วนดังนี้
ชื่อผูใ้ ช้ (User Name)
@
ชื่อโดเมน (Domain name)
บริการการรับส่ งอีเมล์ ผ่านเว็บหรือเว็บเมล์
โปรแกรมทีใ่ ช้ ในการรับส่ งจดหมาย เช่ น MS Outlook
www.onlinetraining.in.th/ExamCourseDemo/DEMO/classroom.asp?cpath=0401f.asp
จรรยาบรรณเกีย่ วกับอิเล็กทรอนิกส์ เมล์ และไฟล์






ตรวจสอบจดหมายทุกวัน และจากัดจานวนไฟล์และข้อมูลในตูจ้ ดหมาย
ลบข้อความหรื อจดหมายที่ไม่ตอ้ งการ
ให้จานวนจดหมายที่อยูใ่ นตูจ้ ดหมาย (inbox) มีจานวนน้อยที่สุด
ให้ทาการโอนย้ายจดหมายจากระบบไปไว้ยงั พีซี หรื อฮาร์ดดิสต์ของ
ตนเอง
พึงระลึกเสมอว่าจดหมายที่เก็บไว้ในตูจ้ ดหมายนี้อาจถูกผูอ้ ื่นแอบอ่านได้
ในการคัดลอกไฟล์จากของตนไปให้ผอู ้ ื่นหรื อนาไฟล์จากอินเทอร์เน็ต
มายังเครื่ องของตน ควรทาการสแกนไวรัสไฟล์ก่อนทุกครั้ง
เมลล์ ลงิ ลิส์ (Mailing List)

เครื่ องมือที่ใช้กระจายข่าวสารและข้อมูลเฉพาะกลุ่ม

การใช้งานจะเป็ นลักษณะของการสมัครเป็ นสมาชิกของกลุ่มโดยใช้ Email ของเรา
เป็ นสื่ อติดต่อและรับข่าวสารต่างๆจากกลุ่มที่เราไปสมัคร ซึ่ งปกติจะเป็ นกลุ่มที่มี
ความสนใจในสิ่ งเดียวกับเรา
ตัวอย่างของผูใ้ ห้บริ การ Free Mailing list ที่คอ่ นข้างเป็ นที่นิยม เช่น
groups.yahoo.com, www.listbot.com , www.coolist.com


ใช้เป็ นแหล่งฐานข้อมูลซึ่ งสมาชิกของ Mailing list สามารถที่จะดาวน์โหลดไปได้

ฟังก์ชนั อานวยความสะดวกอื่นๆ เช่น ปฏิทิน บริ การ Chat สาหรับสมาชิกที่
ออนไลน์อยู่ มีบริ การอัลบั้มรู ปภาพ etc.
บริการเข้ าใช้ ระบบคอมพิวเตอร์ ระยะไกล
(Remote Login, Telnet)

บริ การนี้อนุญาตให้ผใู ้ ช้สามารถเข้าไปทางานต่างๆ ที่อยูใ่ น
คอมพิวเตอร์เครื่ องอื่นๆ ที่เชื่อมต่ออยูใ่ นเครื อข่ายอินเทอร์เน็ตไม่
ว่าเครื่ องนั้นจะอยูใ่ กล้หรื อไกลก็ตาม

โปรแกรม telnet สาหรับโปรแกรมบนระบบปฏิบตั ิการวินโดว์
เช่น โปรแกรม QvtNet, โปรแกรม HyperTerminal
เทลเน็ต (Telnet)
Telnet คือโปรแกรมที่ใช้ติดต่อเข้าไปทางานในเครื่ องบริ การที่ติดตั้งระบบปฏิบตั ิการ
Unix หรือ Linux มาตั้งแต่ยคุ แรก
 แต่ในปั จจุบน
ั การใช้โปรแกรมนี้ เริ่ มลดลง เพราะมีจุดบกพร่ องเรื่องความปลอดภัย
 ถ้าผูไ้ ม่หวังดีนาโปรแกรมประเภท Sniffer ไปประมวลผลในเครื อข่าย จะสามารถเห็น
ทุกตัวอักษรที่พิมพ์ และส่ งออกไปจากคอมพิวเตอร์ แต่ละเครื่ อง การทดสอบแล้วเห็น
ข้อมูลมากมายที่ส่งจากคอมพิวเตอร์ แต่ละเครื่ อง แม้แต่รหัสผ่าน หรื อเนื้อความใน
จดหมายอิเล็กทรอนิกส์
 วิธีแก้ไขคือใช้โปรแกรม SSH (Secure Shell) ซึ่ งเข้ารหัสข้อมูลก่อนส่ ง ทาให้ผล
ู้ กั ลอบ
ไม่สามารถเห็นข้อมูลที่แท้จริ ง
 ปั จจุบน
ั ระบบปฏิบตั ิการ Unix หรื อ Linux จะมีบริ การ SSH เสมอ แต่เครื่ องของผูใ้ ช้ที่
ต้องการติดต่อเครื่ องบริ การ จาเป็ นต้องมีโปรแกรม SSH client ติดตั้งไว้

เทลเน็ต(Telnet)
บริ กำรนี้คือกำรอนุญำตให้ผใู ้ ช้ติดต่อเข้ำไปยังเครื่ องบริ กำร ได้เสมือนนัง่ อยู่
หน้ำเครื่ อง เช่น ตรวจสอบผูใ้ ช้ แก้ปัญหำบำงประกำร อ่ำน e-mail ด้วย Pine
หรื อใช้เป็ นเครื่ องคอมพิวเตอร์ ตน้ ทำงเพื่อบุกรุ ก หรื อโจมตีเครื่ องอื่นใน
อินเทอร์ เน็ตต่อไป แต่เกิดปั ญหำควำมปลอดภัยของข้อมูล ที่ถกู ส่ งจำกเครื่ อง
คอมพิวเตอร์ที่ใช้ telnet จึงมีกำรพัฒนำ SSH ที่ทำงำนได้คล้ำย telnet แต่มีกำร
เข้ำรหัสก่อนส่ งข้อมูล ทำให้ปลอดภัยจำกผูท้ ี่ใช้โปรแกรมตรวจจับประเภท
sniffer เพื่อดักจับข้อมูล จำกกำรทดสอบ พบว่ำผูใ้ ห้บริ กำร e-mail
 ส่ วนหนึ่ งในปั จจุบน
ั ยังไม่ป้องกันปั ญหำนี้ ผูใ้ ห้บริ กำรที่ป้องกันแล้วเช่น
Hotmail.com หรือ Yahoo.com โดยมีตวั เลือกสำหรับควำมปลอดภัยที่สูงขึ้น

SSH (secure shell) คืออะไร


SSH คือโปรโตคอล (protocol) ที่ใช้เพื่อให้เครื่ องลูกข่ำยสำมำรถ
เชื่อมโยงกับเครื่ องแม่ข่ำย เพื่อล็อกอินหรื อทำสำเนำไฟล์โดยมีกำร
รักษำควำมปลอดภัย มีกำรพิสูจน์ตวั และ transport layer ที่ช่วยให้
ผูใ้ ช้สำมำรถเปิ ดกำรเชื่อมโยงอย่ำงปลอดภัย ถึงแม้จะใช้ผำ่ น
เครื อข่ำยที่ไม่ปลอดภัยก็ตำม
มีกำรพัฒนำ SSH ที่ทำงำนได้คล้ำย telnet แต่มีกำรเข้ำรหัสก่อนส่ ง
ข้อมูล ทำให้ปลอดภัยจำกผูท้ ี่ใช้โปรแกรมตรวจจับประเภท
sniffer เพื่อดักจับข้อมูล
หลักการทางานของบริการเข้ าใช้ ระบบคอมพิวเตอร์ ระยะไกล

ใช้หลักกำรทำงำนระบบลูกข่ำย/แม่ข่ำย (Client-Server)
จรรยาบรรณเกีย่ วกับการใช้ Telnet



ใช้กบั เครื่ องที่เปิ ดเป็ นสำธำรณะที่ให้ใช้ได้ หรื อเครื่ องที่มีสิทธิ์
หรื อได้รับอนุญำตให้ใช้
เครื่ องที่ต่อรับ telnet ส่ วนใหญ่จะมีระเบียบและกฎเกณฑ์เฉพำะ
เครื่ อง ควรทำควำม เข้ำใจโดยกำรศึกษำข้อกำหนด
ในกำรเข้ำไปยังเครื่ องด้วย telnet จะต้องรี บปฏิบตั ิงำน และใช้
ด้วยเวลำจำกัด เมื่อเสร็ จ ธุระแล้วให้รีบ logout ออกจำกระบบ
File Transfer Protocol บริการดาวน์ โหลดไฟล์
FTP คือ กำรรับ - ส่ งแฟ้ มไปยังเครื่ องที่ให้บริ กำร
 ปั จจุบน
ั มีโปรแกรม WS_FTP (http://www.ipswitch.com) หรื อ
CUTE_FTP (http://www.globalscape.com)
 ที่ทำให้ส่งแฟ้ มหลำยแฟ้ มไปยังเครื่ องบริ กำรได้สะดวก ต่ำงกับกำร
Upload หรื อ Download แฟ้ มที่จำกัดจำนวนแฟ้ มในกำรส่ งต่อครั้ง ผ่ำน
Browser เหมือนบริ กำรของ thai.net หรื อ geocities.com แม้ไม่มี
โปรแกรม WS_FTP หรื อ CUTE_FTP แต่เครื่ องคอมพิวเตอร์ ที่ติดตั้ง
TCP/IP จะมีโปรแกรม c:\windows\ftp.exe ติดมำด้วย ทำให้สำมำรถ
Download หรื อ Upload ในแบบ Text mode ซึ่ งมีฟังก์ชนั ที่จำเป็ นครบ
กำรใช้ FTP ได้ หรื อไม่ ขึ้นอยูก่ บั บริ กำรของเครื่ องบริ กำรที่เปิ ดให้บริ กำร
Web hosting และเปิ ดให้ใช้ FTP

File Transfer Protocol บริการดาวน์ โหลดไฟล์

Download
– หมำยถึง การทาสาเนาไฟล์จำกเครื่ องคอมพิวเตอร์เครื่ องอื่นมำ
ไว้ที่เครื่ องของเรำ หำกทาตรงกันข้ างเรียกว่ า Upload
– กำรเรี ยกใช้บริ กำร FTP ให้พิมพ์ ftp:// ตำมด้วยชื่อของ FTP
site หรื อ FTP server เช่น ftp://microsoft.com
– FTP site มี 2 แบบ คือ Anonymous FTP และ Private FTP
– โปรแกรมที่ใช้ Download เช่น Cute FTP, WS_FTP หรื อ FTP
ที่อยูใ่ น บรำวเซอร์ (Browser )
File Transfer Protocol บริการดาวน์ โหลดไฟล์

วิธีกำรดำวน์โหลด ทำได้ 2 แบบ คือ
– ดาวน์ โหลดผ่านเว็บ เช่น ดำวน์โหลดโปรแกรม WS_FTP จำก
www.ws_ftp.com มำเก็บไว้ใน Desktop แล้วทำกำรติดตั้ง
– ดาวน์ โหลดผ่านโปรแกรมโอนไฟล์โดยตรง เช่น WS_FTP หรื อ Cute
FTP
– กำรใช้โปรแกรมโดยตรงสำมำรถทำกำร Upload และ Download ได้
– กำร Upload เว็บไซต์ของเรำขึ้นไว้บน Server ถือเป็ นกำร public เว็บให้
แพร่ หลำย
บริการโอนย้ ายข้ อมูล (FTP)

FTP หรื อ File Transfer Protocol เป็ นกำรถ่ำยโอนแฟ้ มข้อมูลจำก
คอมพิวเตอร์เครื่ องหนึ่งไปยังเครื่ องคอมพิวเตอร์อีกเครื่ องหนึ่งซึ่ง
อำจจะอยูใ่ กล้หรื อไกล
บริการโอนย้ ายข้ อมูล (FTP)

ซอฟต์ แวร์ สำหรับกำรใช้
บริ กำรนี้มีอยูเ่ ป็ นจำนวน
มำก เช่น WS_FTP,
CuteFTP เป็ นต้น

นอกจำกนี้มีผใู ้ ช้จำนวนมำก
นิยมใช้บริ กำร ถ่ำยโอน
แฟ้ มข้อมูลผ่ าน Web
Browser
บริการแลกเปลีย่ นข้ อมูลและความคิดเห็น
(Usenet News)



Usenet News เป็ นบริ การซึ่งมีลกั ษณะเป็ นกลุ่มสนทนาเพื่อ
แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารบนเครื อข่ายอินเทอร์เน็ต ซึ่งคล้ายคลึงกับ
การเปิ ดเวทีสาธารณะให้ผคู ้ นทัว่ โลก มาแสดงความคิดเห็นร่ วมกัน
กลุ่มหัวข้อใน Usenet News เหล่านี้จะเรี ยกว่า Newsgroup ซึ่งมีการ
จัดแบ่งเป็ นกลุ่มหัวข้อต่างๆ พร้อมทั้งยังมีกลุ่มหัวข้อย่อยไว้มากมาย
นับพันๆ กลุ่ม
Usenet News มีหลายโปรแกรม เช่น โปรแกรม rn, tin และ rtin และ
มีใช้บริ การในเครื อข่าย WWW เพื่อใช้บริ การ Usenet News ผ่านทาง
Web Browser ได้
การใช้ Usenet News ผ่ านทางเครือข่ าย
การใช้ งาน NewsGroup


Usenet คือ อะไรในบำงครั้ง เรำมีปัญหำ ที่ต้องการจะสอบถามใคร
สั กคน แต่ไม่รู้จะไปถำมใคร หรื อ ต้องกำรพูด คุยกับเพื่อน ที่สนใจ
ในเรื่ อง เดียวกัน
Usenet (User's Network) เสมือนบอร์ ดข่ าวสารบนอินเตอร์ เนต ที่
ผูใ้ ช้ ทัว่ โลก สำมำรถ นำข่ำวสำร หรื อควำมคิดเห็นของตนเอง มำใส่
ไว้ เพื่อให้ ผูอ้ ื่นได้อ่ำน Usenet มีกลุ่มกำรสนทนำ และแลกเปลี่ยน
ข้อมูล ในหัวข้อต่ำง ๆ ที่เรี ยกว่ำ กลุ่มข่ำวหรื อ Newsgroup และเพื่อ
สะดวกในกำรใช้งำนของผูใ้ ช้ ได้มีกำรแบ่งหมวดหมู่ โดยใช้ชื่อของ
กลุ่มข่ำว เพื่อสื่ อควำมหมำย ดังตำรำงด้ำนล่ำง
ข้ อมูลทีพ่ บในกลุ่มข่ าวแต่ ละประเภท

เราจะพบว่า กลุ่มข่าวแต่ละประเภท มีเนื้อหาที่แตกต่างกันไป โดยกลุ่มข่าว
– ประเภท sci หรื อ comp ส่ วนใหญ ่่จะเน้นหนัก ด้านข้อมูล
– ในขณะที่กลุ่มข่าวประเภท soc หรื อ rec จะเป็ นที่แลกเปลี่ยน ความคิดเห็น
– ส่ วน กลุ่มข่าว ประเภท talk หรื อ alt จะเป็ น ที่พดู คุย และ ระบายอารมณ์ ซึ่ ง
หลายครั้ง อาจมีการใช้คาศัพท์ และ สานวน ที่ไม่สุภาพ กลุ่มข่าว
– บางกลุ่ม จะมีบุคคลที่เรี ยกว่า moderator ซึ่ งทาหน้าที่ พิจารณาและ
กลัน่ กรอง ข้อความที่เข้ามาก่อนนา ไปเผยแพร่ ในกลุ่มข่าว โดยตัดข้อความ
บางส่ วน หรื อเปลี่ยนคาพูด หากเห็นว่า ไม่เหมาะสม ทาให้ ข้อความ ในกลุ่ม
ข่าว เหล่านั้น มีความ ชัดเจน และ ไม่สับสน
จรรยาบรรณการใช้ Usenet News








ให้เขียนเรื่ องให้กระชับ
ระมัดระวังในการละเมิดสิ ทธิ์หรื อสร้างความเสี ยหายให้ผอู ้ ื่น
จากัดความยาวของข่าว และหลีกเลี่ยงตัวอักษรควบคุมพิเศษอื่นๆ
ลงชื่อ และลายเซนต์ตอนล่างของข้อความ
ไม่ควรใช้ขอ้ ความตลกขบขัน หรื อคาเฉพาะ คากากวม หรื อคาหยาบ
คายในการเขียนข่าว
ให้ ความสาคัญในเรื่องลิขสิ ทธิ์ ไม่ ควรละเมิดลิขสิ ทธิ์ผู้อนื่
ไม่ควรคัดลอกข่าวจากที่อื่น เช่น จากหนังสื อพิมพ์ท้ งั หมดโดยไม่มี
การสรุ ปย่อ และเมื่อส่ งข่าวย่อจะต้องอ้างอิงที่มา
ไม่ควรใช้กระดานข่าวเป็ นที่ตอบโต้หรื อละเมิดผูอ้ ื่น
การสนทนาออนไลน์




บริ การที่ผใู ้ ช้สามารถสื่ อสารกับผูใ้ ช้อินเทอร์เน็ตคนอื่นๆ ได้ ซึ่งจะ
มีลกั ษณะของการสนทนาโต้ตอบกันอย่างทันทีทนั ใด
ลักษณะของการคุยโต้ตอบกันทาได้โดยการพิมพ์ขอ้ ความโต้ตอบ
กัน หรื อการใช้เสี ยงเพื่อสนทนา
ในลักษณะนี้ทาให้ผใู ้ ช้สามารถติดต่อกับผูอ้ ื่นที่กาลังเข้าใช้งาน
อินเทอร์เน็ตได้ทวั่ โลก โดยไม่ตอ้ งเสี ยค่าใช้จ่ายในการโทรศัพท์
ทางไกล
โปรแกรมสนทนาที่นิยมใช้ เช่น Internet Phone, ICQ, MSN
Messenger Service, Microsoft NetMeeting
Internet Relay Chat :IRC


บริ กำรให้ผใู ้ ช้อินเตอร์เน็ตพูดคุยสนทนำโดย
– กำรพิมพ์
– Internet Phone
– โดยภำพ
บริ กำรที่นิยมในลักษณะเดียวกันคือโปแกรม ICQ
โปรแกรมสนทนาออนไลน์ ICQ
• คำว่ำ ICQ ออกเสี ยงเหมือน "I seek you" ถ้ำท่ำนให้
ฝรั่งพูดคำว่ำ "I seek you" อย่ำงเร็ ว คนไทยฟั งแล้ว จะ
ได้ยนิ เสี ยงเหมือนพูดคำว่ำ ICQ และนี่กค็ ือที่มำของชื่อ
โปรแกรม ที่นิยมใช้กนั ทัว่ โลก บริ กำรนี้ทำให้ผใู้ ช้
สำมำรถติดต่อ สื่ อสำรกันได้ง่ำย สำมำรถที่จะคุยกับ
เพื่อนได้สะดวก เพรำะโปรแกรมจะแสดงรำยชื่อของ
เพื่อน เมื่อมีกำรเปิ ดเครื่ องขึ้น จะแสดงสถำนะให้ทรำบ
ว่ำเพื่อนคนใดพร้อมรับข้อควำม และสำมำรถคุยได้
คล้ำยโปรแกรม IRC แต่ ICQ จะมีควำมเฉพำะเจำะจง
กว่ำ เพรำะทุกคนจะมีเลขประจำตัว 1 เลขเสมอ
ควำมสำมำรถของ ICQ นอกจำกกำรคุยกับเพื่อนผ่ำน
แป้ นพิมพ์ กำรส่ งข้อควำมในกรณี ที่ผรู้ ับไม่อยู่ ข้อควำม
ก็จะถูกฝำกไว้ที่ server เหมือน e-mail เมื่อผูร้ ับกลับมำ
เปิ ด ICQ จะได้รับข้อควำม
– บริ ษทั Mirabilis ก่อตั้งในเดือนกรกฎำคม พ.ศ.2539(ค.ศ.1996) เพื่อ
ให้บริ กำร ICQ สำหรับกำรติดต่อสื่ อสำรระหว่ำงสมำชิก มีสมำชิก
ในปัจจุบนั ไม่ต่ำกว่ำ 160 ล้ำนคน ต่อมำบริ ษทั ถูกซื้อโดย
AOL(American online) ในเดือนมิถุนำยน พ.ศ.2541(ค.ศ.1998)
เว็บไซต์ที่ให้ขอ้ มูลเกี่ยวกับ ICQ คือ icq.com, thaiicq.com,
icqplus.org และ 1001icqskins.com เป็ นต้น
– คู่แข่งที่น่ำจับตำของ ICQ คือ Hotmail messenger และ Yahoo
messenger เพรำะมีบริ กำรที่ใกล้เคียงกับ ICQ และได้รับควำมนิยม
มำกขึ้น เพรำะเป็ นทำงเลือกที่ไม่ตอ้ งเสี ยค่ำใช้จ่ำย เป็ นของใหม่ ใช้
ร่ วมกับระบบ e-mail ได้ดี และแปลกกว่ำเดิม ซึ่งเป็ นปกติของ
มนุษย์ ทีช่ อบของใหม่ ฟรี มีประโยชน์ และน่ าเชื่อถือ
จรรยาบรรณการใช้ ระบบสนทนาแบบออนไลน์




ควรเรียกสนทนาจากผู้ทเี่ รารู้จักและต้ องการสนทนาด้ วย
ก่อนกำรเรี ยกคู่สนทนำควรตรวจสอบสถำนกำรณ์ใช้งำนของคู่
สนทนำที่ตอ้ งกำรเรี ยก
หลังจำกเรี ยกไปชัว่ ขณะ คู่ทถี่ ูกเรียกไม่ ตอบกลับ แสดงว่ำคู่สนทนำ
อำจติดงำนสำคัญ ขอให้หยุดกำรเรี ยก เพรำะข้อควำมที่เรี ยกไป
ปรำกฏบนจออย่ำงแน่นอนแล้ว
ควรใช้ วาจาสุ ภาพ และให้เกียรติซ่ ึงกันและกัน กำรแทรกอำรมณ์ขนั
ควรกระทำกับคนที่ รู ้จกั คุน้ เคยแล้วเท่ำนั้น
เวิลด์ ไวด์ เวบ (World Wide Web)




บริการที่ถือว่าได้รับความนิยมมากทีส่ ุ ดของอินเทอร์เน็ตใน
ปัจจุบนั
เวบเป็ นบริ การที่ให้ผใู ้ ช้สามารถเข้าไปค้ นหาข้ อมูลต่างๆ ใน
อินเทอร์เน็ตได้ง่ายและสะดวก ด้วยลักษณะของการแสดงผลใน
รู ปแบบของ Hypertext
ข้อมูลที่นาเสนอในเวบประกอบด้วย 2 ส่ วน คือ
– ส่ วนที่เป็ นข้ อมูล
– และส่ วนที่เป็ นตัวเชื่อมหรือลิงค์ (Link)
เวบใช้สถาปัตยกรรมเครื อข่ายในรู ปแบบของ Client/Server
World Wild Web เครือข่ ายใยแมงมุม




บริ กำรใน Internet ที่นำเสนอข้อมูลคล้ายหน้ ากระดาษ
สำมำรถค้นหำข้อมูลได้ เรี ยกว่ำ Web page
โดยมีหน้ำแรกเรี ยกว่ำ Home page
Web page แต่ละหน้ำสำมำรถเชื่อมโยงหำกันได้เรี ยกว่ำ Link
World Wild Web การเชื่อมโยง
ลักษณะของการเชื่อมโยง
– เชื่อมโยงในหน้าเดียวกัน
– เชื่อมโยงต่างหน้า
– เชื่อมโยงไปยัง Web site อื่นๆ
 Web page เขียนโดยภาษา HTML
(Hyper Text Markup Language)

World Wild Web : URL


ไฟล์โค๊ดถูกเก็บใน Web Server และ ถูกเรี ยกใช้โดย Browser เช่น
Internet Explorer (IE) หรื อ Netscape
URL (Uniform Resource Locator) รู ปแบบมาตรฐานเพือ่ การ
เรียกใช้ บริการอินเตอร์ เน็ต โดยผูใ้ ช้ไม่จำเป็ นต้องใส่ path และ ชื่อ
ไฟล์
World Wild Web รูปแบบของ URL

Protocal://host.domain/path/file
– protocol หมำยถึงโปรโตคอลที่เรี ยกในอินเตอร์เน็ต เช่น
 http:// Hyper Text Transfer Protocol เป็ นโปรโตคอลใช้เรี ยก
บริการWeb site
 ftp:// File Transfer Protocol เป็ นโปรโตคอลใช้เรียกบริการ FTP
 news:// NNTP เป็ นโปรโตคอลใช้เรี ยกบริ การ UseNet News
group
 gopher:// เป็ นโปรโตคอลใช้เรี ยกบริ การ gopher
World Wild Web รูปแบบของ URL
Host หมำยถึงชื่อโฮสต์ที่ใช้บริ กำร
 Domain หมำยถึงโดเมนเนม
 path หมำยถึงพำธที่เก็บไฟล์ในโฮสต์ ส่ วนใหญ่เก็บใน
ลักษณะของไดเรคทอรี
 file ชื่อไฟล์
http://www.chiangmai.ac.th
http://www.onlinetraining.in.th/main.asp?ntsoft=open

World Wild Web
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
นศ. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
สานักทะเบียนและประมวลผล
คณะวิทยาศาสตร์
ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์





www.chiangmai.ac.th
www.cm.edu
www.reg.cmu.ac.th
www.science.cmu.ac.th
www.cs.science.cmu.ac.th
สถาปัตยกรรม
เครือขายในรู
ปแบบ
่
ของ
Client/Server
ใช้โปรแกรมเวบบราวเซอร ์ (Web
Browser)ไดแก
้ ่ Internet Explorer
(IE), Netscape Communicator,
Mozzila Firefox, Opera
เครือ
่ งserver เรียก Web Server
การติดตอระหว
างเวบบราวเซอร
และเวบเซิ
รฟเวอร
จะ
่
่
์
์
์
ใช้โปรโตคอล HTTP (HyperText Transfer
Protocol)
ขอมู
้ ลจะจัดเก็บ ในรูปแบบ
มาตรฐาน HTML (HyperText
Markup Language)
โปรแกรมเวบบราวเซอร์ (Web Browser)



โปรแกรมเวบบรำวเซอร์จะทำงำนโดยดึงข้อมูลซึ่งจัดเก็บอยูใ่ น
รู ปแบบที่เรี ยกว่ำ HTML (HyperText Markup Language) มำจำก
เวบเซิร์ฟเวอร์และแปลควำมหมำยของรู ปแบบข้อมูล ที่ได้กำหนด
เอำไว้เพื่อนำเสนอแก่ผใู ้ ช้
สำหรับข้อมูลที่อยูใ่ นรู ปแบบของ HTML นั้นจะมีกำรแบ่งเป็ น
หน้ำๆ เหมือนกับหน้ำในเอกสำรปกติ ซึ่งแต่ละหน้ำนั้นจะเรี ยกว่ำ
"เวบเพจ (Web Page)"
Web browser program
– Internet explorer (ลิขสิ ทธิ์)
– Mozilla Firefox (open source)
– Opera (open source)
– Google Chrome (open source)
Web Browser  Internet Explorer ปัจจุบน
ั เวอรชั
์ น
9
Protocol
บริการตางๆ
่
การระบุชื่อโปรโตคอล




http://www.netscape.com
โปรโตคอล http ที่อยูค่ ือเครื่ อง www ณ netscape.com
gopher gopher://gopher.tc.umn.edu
โปรโตคอล gopher ที่อยูค่ ือเครื่ อง gopher ณ tc.umn.edu
Gopher จะให้ วธิ ีการไปดึงไฟล์ ประเภทข้ อความจากทุกที่ เพือ่ นามาดูในเครื่อง
คอมพิวเตอร์ ของผู้ใช้ ซึ่งได้ รับความนิยมมาก ในช่ วงทีผ่ ่ านมา
ftp://ftp.nectec.or.th/pub/pc
โปรโตคอล ftp ที่อยูค่ ือเครื่ อง ftp ณ nectec.co.th และรำก/pub/pc
file://C:/WINDOWS/Modem.txt
โปรโตคอล File ที่อยูค่ ือฮำร์ดดิสก์ผใู ้ ช้ใน C:/WINDOWS แฟ้ ม
Modem.txt
การระบุชอ
ื่ โปรโตคอล
โปรโตคอล
hypertext transfer protocol
File Locate 
แฟ้ ม welcome.htm
http://www.cnn.com/welcome.htm
DNS  ที่ อยู่คือเครื่อง www
และบริษทั ชื่อ cnn
Uniform Resource Locator (URL) เป็ นรูปแบบการระบุตาแหน่งหรือทีอ
่ ยู่
ของ Resource ตางๆ
บนอินเทอรเน็
่
์ ต
การประยุกต์ ใช้ อนิ เทอร์ เน็ต

ด้ านการศึกษา

ธุรกิจการค้ า

การเงินการธนาคาร

ความบันเทิง
ด้ านการศึกษา




อินเทอร์เน็ตเป็ นแหล่งข้อมูลควำมรู ้ที่ผใู ้ ช้สำมำรถเข้ำไปค้นหำ
และดึงข้อมูลที่ตอ้ งกำรได้ง่ำยและรวดเร็ ว
ระบบกำรจัดกำรเรี ยนกำรสอนทำงไกลโดยใช้อินเทอร์เน็ต
กำรเรี ยนกำรสอนผ่ำนเวบ หรื อ E-Learning
ห้องสมุดดิจิตอล (Digital Library) ได้แก่
SchoolNet ซึ่ง NECTEC พัฒนำขึ้น
การเรียนรู้ผ่านสื่ ออิเล็กทรอนิกส์
(E-learning หรือ Electronic learning)
 บริ กำรที่เปิ ดโอกำสให้ผเู ้ รี ยนสำมำรถเรี ยนหนังสื อ โดยไม่
จำเป็ นต้องเข้ำไปนัง่ ในชั้นเรี ยน แต่ใช้คอมพิวเตอร์เป็ นสื่ อ
 จะเรี ยนที่ไหน (Anywhere) เมื่อใด(Anytime) ก็ได้ ผูเ้ รี ยน
สำมำรถนัง่ เรี ยนด้วยตนเอง
 แบบเป็ นขั้นตอนบทต่อบท หำกสงสัยก็สำมำรถติดต่อ
สอบถำมจนเข้ำใจ และมีกำรสอบวัดผล เพื่อประเมินผลกำร
เรี ยนรู ้
การเรียนรู้ผ่านสื่ ออิเล็กทรอนิกส์
(E-learning หรือ Electronic learning)
 โดยสรุ ปแล้วกำรเรี ยนแบบ Online มักมีลก
ั ษณะสำคัญ 4
ประกำร คือ
 เผยแพร่ ควำมรู ้เป็ นขั้นตอน(Follow by contents),
มีกำรสอบวัดผล ประเมินผล(Evaluation),
 มีระบบตอบข้อซักถำม(Reply the student question)
 และมีกำรบริ หำรจัดกำร(Management Education System)

 สำหรับเว็บที่เกี่ยวข้องเช่น thai2learn.com, learn.in.th,
www.onlinetraining.in.th, nectec.or.th/courseware,
elearningmag.com และ elearningexpos.com เป็ นต้น
http://www.learnsquare.com/index.php
ทดลองเรียน หัวข้ อ: ลิขสิ ทธิ์ซอฟต์ แวร์


http://www.learnsquare.com/
index.php?mod=Courses&op=lesson_show&
uid=&cid=45&eid=&sid=&lid=814
http://www.school.net..th/
http://www.thaicyberu.go.th
ธุรกิจการค้ า


E-Commerce /กำรซื้อขำยสิ นค้ำบริ กำรต่ำงๆ ผ่ำนทำง
อินเทอร์เน็ต
กำรให้บริ กำรแก่ลูกค้ำผ่ำนทำงอินเทอร์เน็ต
E-commerce http://www.amazon.com
E-commerce และกำรบริ กำรลูกค้ำ http://www.microsoft.com
การเงินการธนาคาร
การตรวจสอบยอดบัญชี
การโอนเงิน
การสั่ งชาระคาสิ
การ
่ นคาและบริ
้
การตรวจสอบยอดคาใช
ตร
่
้จายบั
่
เครดิต
การสั่ งอายัดเช็ค

ธนาคารบนอินเทอร์เน็ต (Internet Banking) หรื อ Electronic Banking
หรื อ E-Banking คือ ธนาคารที่ให้บริ การบนเครื อข่ายอินเทอร์เน็ต

ระบบชาระเงินค่าสิ นค้าและบริ การแบบออนไลน์ ซึ่งองค์กรกลางที่
น่าเชื่อถือ อันได้แก่ธนาคาร เข้าไปมีบทบาทในเรื่ องของการชาระเงิน
แบบออนไลน์ระหว่างผูซ้ ้ือและผูข้ าย
ความบันเทิง






กำรอ่ำนข่ำวสำรจำกวำรสำรและหนังสื อพิมพ์ต่ำงๆ จำกเว็บไซต์
ตัวอย่ำงภำพยนตร์ซ่ ึงเป็ นภำพเคลื่อนไหวพร้อมเสี ยง
ฟังเพลงผ่ำนอินเทอร์เน็ต
กำรค้นหำข้อมูลเพื่อใช้ในกำรพักผ่อนหย่อนใจ หรื อสันทนำกำร
ต่ำงๆ
กำรสนทนำพูดคุยระหว่ำงผูใ้ ช้บริ กำรอินเทอร์เน็ต
กำรแลกเปลี่ยนควำมคิดเห็นผ่ำนทำงเวบบอร์ดต่ำงๆ
หนังสือพิมพ์ออนไลน์
ตัวอย่างภาพยนตร์
ฟังเพลงผ่านอินเทอร์เน็ต
โทษของอินเทอร์ เน็ต


โรคติดอินเทอร์เน็ต (Webaholic)
เรื่ องอนำจำรผิดศีลธรรม(Pornography/Indecent
Content)
โรคติดอินเทอร์ เน็ต (Webaholic)









ผูท้ ี่มีคุณสมบัติดงั ต่อไปนี้อย่างน้อย 4 อย่าง เป็ นเวลานานอย่างน้อย 1 ปี ถือได้วา่ มีอาการติด
อินเทอร์เน็ต
รู ้สึกหมกมุ่นกับอินเทอร์เน็ต แม้ในเวลาที่ไม่ได้ต่อกับอินเทอร์เน็ต
มีความต้องการใช้อินเทอร์เน็ตเป็ นเวลานานขึ้น
ไม่สามารถควบคุมการใช้อินเทอร์เน็ตได้
รู ้สึกหงุดหงิดเมื่อต้องใช้อินเทอร์เน็ตน้อยลงหรื อหยุดใช้
ใช้อินเทอร์เน็ตเป็ นวิธีในการหลีกเลี่ยงปั ญหาหรื อคิดว่าการใชอินเทอร์เน็ตทาให้ตนเองรู ้สึกดีข้ ึน
หลอกคนในครอบครัวหรื อเพื่อน เรื่ องการใช้อินเทอร์เน็ตของตัวเอง
การใช้อินเทอร์เน็ตทาให้เกิดการเสี่ ยงต่อการสู ญเสี ยงาน การเรี ยน และความสัมพันธ์ยงั ใช้
อินเทอร์เน็ตถึงแม้วา่ ต้องเสี ยค่าใช้จ่ายมาก
มีอาการผิดปกติ อย่างเช่น หดหู่ กระวนกระวายเมื่อเลิกใช้อินเทอร์เน็ต
ใช้เวลาในการใช้อินเทอร์เน็ตนานกว่าที่ตวั เองได้ต้ งั ใจไว้
เรื่องอนาจารผิดศีลธรรม
(Pornography/Indecent Content)



ข้อมูลต่ำงๆ ที่มีเนื้อหำไปในทำงขัดต่อศีลธรรม ลำมกอนำจำร
หรื อรวมถึงภำพโป๊ เปลือยต่ำงๆ
เรื่ องหลอกหลวงต่ำงๆ
กำรเจำะทำลำยระบบเพื่อล้วงควำมลับหรื อข้อมูลต่ำงๆ
แบบฝึ กหัด (ส่ งภายในวันที่ 5 ม.ค.)
1.
ลิขสิ ทธิ์ซอฟต์ แวร์ คืออะไร
2. ให้ ยกตัวอย่ างการขายลิขสิ ทธิ์ผดิ ประเภท
3. เราจะรู้ได้ อย่ างไรว่ าเราซื้อสิ นค้ าลิขสิ ทธิ์แท้ หรือถูกปลอมแปลงสิ นค้ า
4. ให้ ยกตัวอย่ างผลิตภัณฑ์ ไมโครซอฟท์ ที่มลี ขิ สิ ทธิ์ประเภท OEM มา 2 อย่ าง
5. ถ้ าคุณใช้ ผลิตภัณฑ์ ไมโครซอฟท์ ทมี่ ีลขิ สิ ทธิ์คุณสามารถทาอะไรได้ บ้าง
ยกตัวอย่ างมา 2 ข้ อ
รายงาน (ส่ งภายในวันที่ 5 ม.ค.)
1.
นักศึกษำได้ประยุกต์ใช้อินเทอร์เน็ตในชีวิตประจำวันอะไรบ้ำง
จงบอกรำยละเอียดต่ำงๆ เช่นชื่อเว็บไซต์หรื อโปรแกรมที่เข้ำไป
ใช้ และวิธีใช้บริ กำรในอินเทอร์เน็ตนั้นประกอบ โปรแกรม
ต่ำงๆ เช่น List Server, telnet , ICQ,
NewsGroup, Usenet, FTP ฯลฯ (ทำให้ได้
หลำยโปรแกรมที่สุดแล้วทำรำยงำนพร้อมพำวเวอร์พอยท์มำ
นำเสนอในวันที่เรี ยนครั้งต่อไป)