Transcript Slide 1

อาพาเน็ต (ARPANET)
• Advanced Reseach Projects Agency
• อาพาเน็ตเริ่ มต้นประมาณปี พ.ศ. 2512 โดยหน่วยวิจยั ของ
กระทรวงกลาโหมสหรัฐอเมริ กา
• มีจุดมุ่งหมายในการสร้างเครื อข่ายคอมพิวเตอร์
-เพื่อให้นกั วิจยั ที่กระจายอยูต่ ามที่ต่างๆ ให้สามารถสื่ อสารถึงกันได้
-เพื่อให้สามารถรับส่ งข้อมูลกันได้ตลอดเวลา แม้วา่ บางส่ วนของ
เครื อข่ายถูกทาลาย อาจจะโดยนิวเคลียร์ หรื อ ภัยธรรมชาติ
อาพาเน็ต (ARPANET)
• 1969 เริ่ มต้นโดยนาซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ 4 เครื่ องมาเชื่อมต่อกัน
• จากนั้นก็เพิม่ จานวนคอมพิวเตอร์ข้ ึนเรื่ อยๆ โดยมีสถาบันการศึกษา
หลายสิ บสถาบันและหน่วยงานรัฐได้เชื่อมต่ออาพาเน็ตเพื่อติดต่อสื่ อสาร
กัน
• ในระหว่างสงครามเวียดนาม มีการใช้งานนอกเหนือจากงานวิจยั
อาทิ ส่ งอีเมล์ เล่นเกมส์
• ในทศวรรษถัดมา มีเครื อข่ายของมหาวิทยาลัยและวิทยาลัยหลายร้อย
แห่งเชื่อมต่อกับอาพาเน็ต
• 1984 มีคอมพิวเตอร์เชื่อมต่อมากกว่า 1000 เครื่ อง
อาพาเน็ตสู่อินเทอร์เน็ต
• มีการพัฒนาโพรโตคอลเพื่อให้คอมพิวเตอร์ที่ใช้ระบบปฏิบตั ิการ
หลากหลาย อาทิ ดอส-วินโดว์ แอปเปิ้ ล-แมคอินทอช ยูนิกซ์ สามารถ
รับส่ งข้อมูลระหว่างกันผ่านเครื อข่ายของอาพาเน็ตได้
• 1986 National Science Foundation (NSF) ได้
นาเครื อข่ายขนาดใหญ่ชื่อว่า NFSnet ที่ประกอบด้วย 5 ศูนย์
ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ เชื่อมต่อกับ ARPANET กลายเป็ นเครื อข่าย
ที่ซบั ซ้อนขึ้น และภายหลังเรี ยกว่า อินเทอร์เน็ต(Internet)
• ปัจจุบนั มี server computer มากกว่า 550 ล้านเครื่ อง เชื่อมต่อ
ในอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย
• เมื่อพ.ศ. 2530 มีการเชื่อมต่อมินิคอมพิวเตอร์ ของมหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์
และสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย
ไปยังมหาวิทยาลัยเมลเบิร์น ประเทศออสเตรเลีย โดยใช้สายโทรศัพท์ เชื่อมต่อกัน
วันละ 2 ครั้ง
• ในปี พ.ศ. 2535 ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ แห่งชาติ
ได้ทาการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ กบั มหาวิทยาลัย 6 แห่ง ได้แก่จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย, สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ , สถาบัน
เทคโนโลยีพระจอมเกล้า มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และมหาวิทยาลัย
เกษตรศาสตร์ เข้าด้วยกันเรี ยกว่า เครื อข่ายไทยสาร
อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย
• พ.ศ. 2537 การสื่ อสารแห่งประเทศไทย (กสท) จึงได้ร่วมมือกับ
บริ ษทั เอกชน เปิ ดบริ การอินเทอร์เน็ต ให้แก่ผสู ้ นใจได้สมัครเป็ นสมาชิก
ตั้งขึ้นในรู ปแบบของบริ ษทั ผูใ้ ห้บริ การอินเทอร์เน็ตเชิงพาณิ ชย์ เรี ยกว่า
"ผู้ให้ บริการอินเทอร์ เน็ต" หรื อ ISP (Internet Service
Provider)
อินเทอร์เน็ต
เป็ นระบบเครื อข่ายที่ใหญ่และกว้างไกลที่สุด เชื่อมต่อกับผูใ้ ช้ทวั่ โลก
ประกอบด้วยหลายเครื อข่าย
ไม่มีใครเป็ นเจ้าของ ไม่มีหน่วยงานหลัก หรื อ ศูนย์กลาง
ไม่มีดชั นีแจ้งบอกว่าอะไรอยูท่ ี่ไหน
แต่ละองค์กร หรื อ บุคคล เป็ นผูพ้ ฒั นาเว็บเพจและติดตั้งไว้ที่เว็บเซอร์
เวอร์ของตนเอง
• แต่ละองค์กร หรื อ บุคคล เชื่อมต่อเครื อข่ายอินเทอร์เน็ตด้วยตนเอง
•
•
•
•
•
The Internet Society (ISOC)
• เป็ นองค์ กรระหว่ างประเทศทีไ่ ม่ แสวงหาผลกาไร
• ก่อตั้งเมื่อพ.ศ. 2535 ตั้งอยู่ที่ วอชิงตัน และเจนีวา
• ทาหน้ าที่
– กาหนดมาตรฐานโครงสร้ างพืน้ ฐานของอินเทอร์ เน็ต
– ควบคุมการปรับปรุ ง TCP/IP และ เทคโนโลยีเครือข่ าย
– มอบหมาย IP address
– บริหาร domain name
การใช้อินเทอร์เน็ต
•
•
•
•
•
เครื่ องคอมพิวเตอร์
สายโทรศัพท์ สายเคเบิ้ล ดีเอสแอล ดาวเทียม
การเชื่อมต่อเครื อข่าย
ผูใ้ ห้บริ การอินเทอร์เน็ต
ซอฟต์แวร์ที่เกี่ยวข้อง
Internet Access
• Local Area Network
• Dial-up Access
• Broadband access
– Leased Line
– Digital Subscriber Line
– Fiber-to-the-home
• Wireless Broadband access
– Wi-Fi
– Wireless ISP
– Satellite broadband
– Mobile broadband
TCP/IP
• เป็ นมาตรฐานในการสื่ อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในเครื อข่าย
อินเทอร์เน็ต
• ในการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต ผูใ้ ช้คอมพิวเตอร์ตอ้ งเชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์
แม่ข่าย คอมพิวเตอร์แม่ข่ายแต่ละตัวติดตั้งซอฟต์แวร์พิเศษ เรี ยกว่า
TCP/IP (Transmission Control Protocol
/Internet Protocol)
TCP/IP
• ข้อความที่ส่งในอินเทอร์เน็ต ถูกแบ่งเป็ นหลายแพ็คเก็ตทีม่ ีขนาดเท่ากัน
• แต่ละแพ็คเก็ตมีที่อยูข่ องปลายทางติดไปด้วย
• แต่ละแพ็คเก็ต สามารถเลือกเส้นทางได้โดยอิสระ แล้วจึงไปพบกันที่
ปลายทาง พร้อมกับรวมตัวกันเป็ นข้อความตามเดิม
• ซอฟต์แวร์ที่ดูแลเพ็คเก็ตเหล่านี้ เรี ยกว่า TCP/IP
• TCP ทาหน้าที่แยกและรวมเพ็คเก็ต
• IP เป็ นโพรโทรคอลที่จดั การที่อยู่ คอยดูวา่ แพ็คเก็ตสามารถเดิน
ทางผ่านคอมพิวเตอร์หลายๆเครื่ องจนไปสู่จุดหมายได้
เวิลด์ ไวด์ เว็บ (WWW : World Wide Web)
• แรกเริ่ มอินเทอร์เน็ตถูกใช้โดยหน่วยงานรัฐ นักวิทยาศาสตร์ และ
สถาบันการศึกษา
• เนื่องจากการใช้อินเทอร์เน็ต ต้องมีเครื่ องคอมพิวเตอร์ซ่ ึงยังมีราคาสูงและใช้
งานยาก ภาคเอกชนจึงไม่ได้สนใจที่จะใช้อินเทอร์เน็ตในช่วงต้น
• กระทัง่ พ.ศ. 2532 (1989) Tim Berners-Lee นักวิจยั ทาง
ฟิ สิ กส์ ได้เสนอแนวคิด บริ การทางอินเทอร์เน็ต เวิลด์ไวด์เว็บ ซึ่งมีการ
ตอบรับที่ดีมาก คือ มีการจัดการข่าวสารในรู ปแบบหน้าเอกสารที่เชื่อมต่อ
กันด้วยการเลือกข้อความหรื อรู ปภาพ (Hyperlinks) บนจอภาพ
เวิลด์ ไวด์ เว็บ (WWW : World Wide Web)
• พ.ศ. 2532 (1989) Tim
Berners-Lee นักวิจยั ทางฟิ สิ กส์
ชาวอังกฤษ ได้เสนอแนวคิด นาข้อความ
หลายมิติ ( hypertext) มาใช้สาหรับ
การแลกเปลี่ยนและนาเสนอข้อมูลบน
อินเทอร์เน็ต เรี ยกว่า World Wide
Web ซึ่งถือได้วา่ เป็ นโปรแกรมค้นดู
เว็บ (Web Brower) โปรแกรมแรก
เวิลด์ ไวด์ เว็บ (WWW : World Wide Web)
• พ.ศ. 2535 (1993) อาจารย์และนิสิตมหาวิทยาลัย Illinois
National Center for Supercomputing
Application (NCSA) ได้พฒั นาและแนะนา Mosaic ซึ่ง
เป็ นเว็บบราวเซอร์ ที่มีการเชื่อมต่อประสานกับผูใ้ ช้แบบกราฟิ กส์เป็ น
ครั้งแรก และยังสามารถเพิม่ ได้ท้ งั ข้อความและภาพกราฟิ กส์ ทาให้มี
การใช้เวิลด์ไวด์เว็บเพิ่มขึ้นเป็ นอย่างมาก
ไฮเปอร์เท็กซ์ (Hypertext)
• เป็ นข้อความ ตาราง หรื อ รู ปภาพ ที่แสดงบนคอมพิวเตอร์ ที่มีการ
เชื่อมโยง(Hyperlink)ไปยังเอกสารอื่น และผูใ้ ช้สามารถตามไปดู
เอกสารนั้นได้ทนั ที โดยการใช้คลิกเมาส์ หรื อสัมผัส
เวิลด์ ไวด์ เว็บ (WWW : World Wide Web)
• เว็บเพจในปัจจุบนั สามารถมีได้ท้ งั ข้อความ กราฟิ กส์ อนิเมชัน่ เสี ยง
วีดิโอ และวัตถุเสมือนจริ ง 3 มิติ
• WWW ประกอบด้วยเว็บ หลายพันล้าน หน้า
• ที่เก็บเว็บของแต่ละองค์กรหรื อบุคคล เรี ยกว่า เว็บไซต์ (web site
หรื อ site) โดยมีหน้าแรกเรี ยกว่า home page
• โดยเว็บไซต์จะติดตั้งไว้บนเว็บเซอร์เวอร์
• เว็บมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา มีการสร้างไซต์ใหม่ บางเว็บก็เลิกไป
เวิลด์ ไวด์ เว็บคอนซอร์ เทียม
( World Wide Web Consortium: W3C)
• เป็ นองค์กรระหว่างประเทศ ทาหน้าที่กาหนดมาตรฐานการใช้งานบน
เวิลด์ไวด์เว็บ (WWW หรื อ W3) โดยเป็ นแกนนาในการพัฒนาโพร
โทคอลและวิธีการใช้งานสาหรับเวิลด์ไวด์เว็บ
Server
• เซอร์เวอร์ (Server) คือ
คอมพิวเตอร์ศูนย์กลาง ที่จดั เก็บ
ข้อมูลหรื อฐานข้อมูล และ
โปรแกรม เพื่อให้บริ การกับ
คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์อื่นที่
เชื่อมต่อ (clients) ซึ่ง
clients เหล่านี้ เชื่อมต่อกับ
เครื อข่ายทั้งแบบมีสายและไร้
สาย
Internet Protocol Address
(IP Address)
• เป็ นตัวเลขที่ไม่ซ้ า ที่กาหนดให้กบั คอมพิวเตอร์ หรื อ อุปกรณ์ที่เชื่อมต่อ
กับอินเทอร์เน็ต
• ประกอบด้วยตัวเลข 4 กลุ่ม ตัวเลขแต่ละกลุ่มมีค่า 0 ถึง 255
ตัวอย่าง 158.108.16.20
ตัวเลข 2 กลุ่มแรก เป็ นหมายเลขเครื อข่าย 158.108
ตัวเลข 2 กลุ่มหลัง เป็ นหมายเลขเครื่ อง 16.20
เว็บเซอร์เวอร์ (Web Server)
• เว็บเซอร์เวอร์ (Web Server) คือ เซอร์เวอร์ที่ให้บริ การเว็บไซต์
ทั้งในรู ปเอกสารไฮเปอร์เท็กซ์ แฟ้ มข้อมูล รู ปภาพ และเสี ยงโดยใช้
Hypertext Transfer Protocol
โปรแกรมค้นดูเว็บ (Web browser)
• โปรแกรมค้ นดูเว็บ คือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ช่วยให้ผใู ้ ช้สามารถดูและ
สื่ อสารกับสารสนเทศที่จดั เก็บในหน้าเว็บ ที่ได้จดั เก็บไว้ที่ระบบบริ การ
เว็บหรื อเว็บเซิร์ฟเวอร์หรื อระบบคลังข้อมูลอื่น ๆ ผ่านทางอินเทอร์เน็ต
• ผูใ้ ช้สามารถค้นหาและเปิ ดดูหน้าเว็บและกระโดดไปยังหน้าอื่น
โปรแกรมค้นดูเว็บ (Web browser)
•
•
•
•
•
•
•
•
WorldWideWeb
Mosaic
Netscape Navigator
Internet Explorer
Opera
Safari
Firefox
Chrome
[1990]
[1993]
[1994]
[1995]
[1996]
[2003]
[2004]
[2008]
โปรแกรมค้นดูเว็บ (Web browser)
• ปลาวาฬ
HTML
• HyperText Markup Language
• เก็บในแฟ้ ม สกุล .htm หรื อ .html
HTML
ซอฟต์แวร์ที่ช่วยในการสร้างเว็บ
• Dreamweaver ช่วยจัดวางโครงสร้าง ออกแบบและพัฒนาเว็บ
• Photoshop ใช้สร้างและตกแต่งภาพในเว็บ
• Flash ใช้สร้างภาพเคลื่อนไหวในเว็บ
ชื่อคอมพิวเตอร์ที่ให้บริ การอินเทอร์เน็ต
• เครื่ องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริ การอินเทอร์เน็ต เรี ยกว่า host หรื อ
server
• เครื่ องคอมพิวเตอร์เหล่านี้มีชื่อเรี ยกเป็ นมาตรฐาน ประกอบด้วย
– ชื่อและที่อยูข่ องคอมพิวเตอร์
– เช่น nontri.ku.ac.th
คอมพิวเตอร์ชื่อ nontri ตั้งอยูท่ ี่ ม.เกษตรศาสตร์
ชื่อบัญชีผใู้ ช้
• ชื่อบัญชีผใู ้ ช้ ประกอบด้วย
ชื่อผูใ้ ช้ @ และ ชื่อคอมพิวเตอร์ที่ให้บริ การทางอินเทอร์ เน็ต
• เช่น [email protected]
โดเมน (Domain)
• เป็ นที่อยูใ่ นอินเทอร์เน็ต
• เช่น nontri.ku.ac.th
ระบบชื่อโดเมนในยุคแรก
(Domain name system)
โดเมนระดับบนสุ ดได้แก่
• com, edu, gov, mil, net. org
• หน่วยงาน
• ชื่อคอมพิวเตอร์
เช่น nontri.ku.ac.th
ระบบชื่อโดเมน (Domain name system)
โดเมนประกอบด้วยลาดับชั้น ดังนี้
• ประเทศ เช่น th, jp, au, fr, uk, us
• ประเภท ได้แก่ ac, go, or, co, net
• หน่วยงาน
• ชื่อคอมพิวเตอร์
เช่น nontri.ku.ac.th
Uniform Resource Location(URL)
• เป็ นที่อยูข่ องหน้าเว็บ หรื อ แฟ้ มบนอินเทอร์เน็ต ซึ่ งขึ้นต้นด้วยโพรโตคอล http
(HyperText Transfer Protocol)
• HyperText Transfer Protocol หมายถึง ติดต่อสื่ อสารดิ
• ที่ดา้ นบนของบราวเซอร์ มีช่องว่างให้ใส่ URL
protocol
host
Domain name
web server name
path,directory
file name
Search engine
เครื่ องมือค้นหาข้อมูลในอินเทอร์ เน็ต
Search engine
• เป็ นเครื่ องมือที่ใช้สาหรับค้นหาข่าวสารใน WWW
• เมื่อผูใ้ ช้ใส่ คาค้นที่เว็บไซต์ดงั กล่าว search engine จะค้นหา
ไซต์ที่มีคาค้นนั้น
Search engine
มีลาดับการทางานดังนี้
• Web crawling ใช้ซอฟต์แวร์ Search engine
robot หรื อ spider ทาหน้าที่มองหาเว็บไซต์ หรื อ เนื้อหาใหม่ๆ
หรื อเพจเดิมที่มีการปรับปรุ งเนื้อหา และวิ่งไปตามลิงค์ในเพจที่กาลัง
ตรวจสอบ และคัดลอกข้อมูลของเพจนั้น ส่ งกลับไปที่เซิรฟ์ เวอร์
• Indexing แล้วนาคาค้น มาสร้างเป็ นดัชนี หรื อฐานข้อมูลของ
คาค้นไว้ โดยแล้วนาบางคาหรื อทุกคาในหน้าเว็บมาทาเป็ นดัชนี หรื อ
เจ้าของเว็บอาจส่ งคาค้นมาให้ search engine
• Searching ผูใ้ ช้สามารถค้นหาข่าวสารได้
ปัญหาที่สาคัญบนอินเทอร์เน็ต
•
•
•
•
•
•
•
•
ไวรัสคอมพิวเตอร์
ความล่าช้าการสื่ อสาร
มีแหล่งยัว่ ยุทางเพศ
อีเมล์ขยะ
การใช้ถอ้ ยคาหยาบคาย
ค่าใช้จ่าย
การขโมยข้อมูล
การละเมิดสิ ทธิส่วนบุคคล
การเข้าถึงอินเทอร์เน็ต
• ประชากรทัว่ ทั้งโลกมีท้ งั สิ้ นในปัจจุบนั 7 พันล้านคน
• แต่ที่ไม่สามารถเข้าถึงอินเทอร์เน็ตได้มี 4.5 พันล้านคน
• ในสหรัฐอเมริ กา ผูเ้ ข้าไม่ถึงอินเทอร์เน็ตมีถึง 19% หรื อประมาณ 63
ล้านคน
• ประเทศที่เข้าถึงอินเทอร์เน็ตได้นอ้ ยสุ ด
– อีริเตรี ย มีผใู้ ช้อินเทอร์เน็ต 0.8%
– ติมอร์เลสเต 0.9%
– เมียนมาร์ 1.1%
ประเทศไทย
• มีผเู ้ ข้าถึงอินเทอร์เน็ตประมาณ 30% หรื อประมาณ 20 ล้านคนจาก
ประชากรทั้งสิ้ น 67 ล้านคน
• มีผใู ้ ช้เฟซบุก๊ ประมาณ 18 ล้านคน
• ปัจจุบนั มีผใู ้ ช้เฟซบุก๊ ทัว่ โลกประมาณ หนึ่งพันล้านคน
การใช้อินเทอร์เน็ตร่ วมกัน
• ผูใ้ ช้อินเทอร์ เน็ตมีเป็ นจานวนมาก และเพิ่มขึ้นทุกวัน การใช้งานระบบเครื อข่ายที่
ออนไลน์ และส่ งข่าวสารถึงกันย่อมมีผทู ้ ี่มีความประพฤติไม่ดีปะปน และสร้าง
ปั ญหาให้กบั ผูใ้ ช้อื่นอยูเ่ สมอ
• หลายเครื อข่ายจึงได้ออกกฎเกณฑ์การใช้งานภายในเครื อข่ายเพื่อให้สมาชิกใน
เครื อข่ายยึดถือและปฏิบตั ิตาม เพื่อให้สมาชิกได้รับประโยชน์สูงสุ ด ไม่เกิดปั ญหา
จากผูใ้ ช้บางคน
• ผูใ้ ช้อินเทอร์ เน็ตจะต้องเข้าใจกฎเกณฑ์ขอ้ บังคับของเครื อข่ายที่ตนเป็ นสมาชิก
• ผูใ้ ช้อินเทอร์ เน็ตต้องมีความรับผิดชอบต่อตนเองและผูร้ ่ วมใช้บริ การคนอื่น
• ผูใ้ ช้อินเทอร์ เน็ตต้องรับผิดชอบต่อการกระทาของตนเองที่เข้าไปขอใช้บริ การบน
เครื อข่าย
จรรยาบรรณ
– เป็ นสิ่ งที่ทาให้สงั คมเป็ นระเบียบ
– ความรับผิดชอบต่อสังคมเป็ นเรื่ องที่จะต้องปลูกฝังกฏเกณฑ์ของแต่
ละเครื อข่ายจึงต้องมีและวาง ระเบียบเพื่อให้การดาเนินงานเป็ นไป
อย่างมีระบบและเอื้อประโยชน์ซ่ ึงกันและกัน บางเครื อข่ายมี
บทลงโทษที่ชดั เจน เช่น หากปฏิบตั ิเช่นไรจะถูกคัดชื่อออกจากการ
เป็ นผูใ้ ช้เครื อข่าย
– อนาคตของการใช้เครื อข่ายยังมีอีกมาก จรรยาบรรณจึงเป็ นสิ่งที่ช่วย
ให้สงั คมสงบสุ ข และหากการละเมิดรุ นแรง กฏหมายก็จะเข้ามามี
บทบาทได้เช่นกัน
จรรยาบรรณในการใช้อีเมล์และไฟล์
– ตรวจสอบจดหมายทุกวัน และต้องจากัดจานวนไฟล์และข้อมูลใน
ตูจ้ ดหมายของตนให้เหลือภายในโควต้าที่กาหนด
– ลบข้อความหรื อจดหมายที่ไม่ตอ้ งการแล้วออก เพื่อลดปริ มาณการ
ใช้ดิสก์
– โอนย้ายจดหมายจากตูจ้ ดหมายไปไว้ยงั พีซีของตนเอง
– จดหมายที่เก็บไว้ในตูจ้ ดหมายนี้อาจถูกผูอ้ ื่นที่มีสิทธิสูงกว่าแอบ
อ่านได้ จึงไม่ควรเก็บ ข้อมูลหรื อจดหมายไว้ในตูจ้ ดหมาย
– ในการคัดลอกไฟล์จากของตนไปให้ผอู ้ ื่นหรื อนาไฟล์จาก
อินเทอร์เน็ตมายังเครื่ องของตน ควรสแกนไวรัสก่อน
การโพสข้อความบนอินเทอร์เน็ต
• เขียนเรื่ องให้ตรงประเด็น กระชับ ใช้ภาษาที่สุภาพเรี ยบง่าย เข้าใจได้
• การเขียนพาดพิงถึงผูอ้ ื่น ต้องไม่ละเมิด หรื อสร้างความเสี ยหายให้ผอู ้ ื่น
• ให้แหล่งที่มาของข้อความ ไม่เขียนข่าวโคมลอย ข่าวลือ หรื อ เขียนข่าวเพื่อ
ความสนุกขาดความรับผิดชอบ
• จากัดความยาวของข่าว และหลีกเลี่ยงตัวอักษรควบคุมพิเศษอื่นๆ เพราะ
ผูอ้ ่านอาจมีปัญหาในการแสดงผล
• ไม่ควรใช้เครื อข่ายของมหาวิทยาลัยเพื่อประโยชน์ทางการค้า หรื องาน
เฉพาะของตน เพื่อ ประโยชน์ส่วนตนในเรื่ องการค้า
• การเขียนข่าวทุกครั้งจะต้องลงชื่อ ที่อยู่ ที่ติดต่อได้ที่ตอนล่างของข้อความ
เพื่อบอกชื่อ ตาแหน่ง แอดเดรสที่อา้ งอิงได้ทางอินเทอร์เน็ต หรื อ
การโพสข้อความบนอินเทอร์เน็ต
• หลีกเลี่ยงการใช้ตวั อักษรใหญ่ ตัวอักษรใหญ่มีความหมายถึงการตะโกน
หรื อการแสดง ความไม่พอใจ
• ในการเน้นคาให้ใช้เครื่ องหมาย * ข้อความ* แทน
• ไม่ควรนาข้อความที่ผอู ้ ื่นเขียนไปกระจายต่อ โดยไม่ได้รับอนุญาตจาก
เจ้าของเรื่ อง
• ไม่ควรใช้ขอ้ ความตลกขบขัน หรื อคาเฉพาะ คากากวม หรื อคาหยาบคาย
• ไม่ละเมิดลิขสิ ทธิ์ผอู ้ ื่น
• ไม่ควรคัดลอกข่าวจากที่อื่น เช่น จากหนังสื อพิมพ์ท้ งั หมดโดยไม่มีการสรุ ป
ย่อ และเมื่อ ส่ งข่าวย่อจะต้องอ้างอิงที่มา
การโพสข้อความบนอินเทอร์เน็ต
• ไม่ควรใช้กระดานข่าวเป็ นที่ตอบโต้หรื อละเมิดผูอ้ ื่น
• เมื่อต้องการใช้คาย่อ คาย่อที่เป็ นที่รู้จกั กันทัว่ ไป เช่น
FYI - for your information
BTW - by the way
• ต้องไม่ใช้อารมณ์ หรื อความรู ้สึกส่ วนตัว และระลึกเสมอว่าข้อความที่
เขียนนี้กระจายไปทัว่ โลก และมีผอู ้ ่านจานวนมาก
จรรยาบรรณสาหรับผูใ้ ช้อินเทอร์เน็ต
•ต้ องไม่ ใช้ คอมพิวเตอร์ ทาร้ าย หรือละเมิดผู้อนื่
•ต้ องไม่ รบกวนการทางานของผู้อนื่
•ต้ องไม่ สอดแนม หรือแก้ ไขเปิ ดดูในแฟ้มของผู้อนื่
•ต้ องไม่ ใช้ คอมพิวเตอร์ เพือ่ การโจรกรรมข้ อมูลข่ าวสาร
•ต้ องไม่ ใช้ คอมพิวเตอร์ สร้ างหลักฐานทีเ่ ป็ นเท็จ
•ต้ องไม่ คดั ลอกโปรแกรมผู้อนื่ ทีม่ ลี ขิ สิ ทธิ์
•ต้ องไม่ ละเมิดการใช้ ทรัพยากรคอมพิวเตอร์ โดยที่ตนเองไม่ มีสิทธิ์
•ต้ องไม่ นาเอาผลงานของผู้อนื่ มาเป็ นของตน
•ต้ องคานึงถึงสิ่ งที่จะเกิดขึน้ กับสั งคมอันติดตามมาจากการกระทา
•ต้ องใช้ คอมพิวเตอร์ โดยเคารพกฏระเบียบ กติกามารยาท