06เมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืน.ดร.จำเนียร

Download Report

Transcript 06เมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืน.ดร.จำเนียร

เมืองน่าอยู่อย่างยัง่ ยืน คืออะไร?
• “เมืองน่าอยู”่ ในความหมายขององค์การอนามัยโลก หรือ “Healthy Cities”
(2537) หมายถึง เมืองสุขภาพ หรือเมืองสุขภาพดี
• เมืองน่าอยูอ่ ย่างยัง่ ยืนในบริบทเทศบาลไทย (2547) หมายถึง
- เมืองที่คนมี “ความเป็ นอยูท่ ี่ดี” โดยได้รบั บริการขัน้ พื้นฐานอย่างเพียงพอ
- รูส้ ึก “มีความสุข” ในการอยูใ่ นเมือง
- เมืองอยูท่ า่ มกลาง “สิ่งแวดล้อมที่ยงั ่ ยืน”
- ผูบ้ ริหารเมืองมีการบริหารจัดการองค์กรตาม “หลักธรรมาภิบาล”
- เทศบาลเป็ น “องค์กรแห่งการเรียนรูแ้ ละพัฒนา” ให้ทนั ตามกระแสโลก
- เทศบาลยึดหลัก “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” ในการดาเนินงาน คือ มีเหตุผล
ความพอประมาณ และมีภมู คิ มุ้ กัน
ปั จจุบนั ...
สทท. มีการขับเคลื่อนเมืองน่าอยูอ่ ย่างต่อเนือ่ งผ่านโครงการต่างๆ
ภายใต้คณะอนุฯ สิ่งแวดล้อมและอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
โครงการ
ประเมินเทศบาล
น่าอยูอ่ ย่างยัง่ ยืน
โครงการ
โครงการ
ประกวดวิถีภาพถ่าย ท้องถิ่นไทยร่วมใจ
เมืองน่าอยูฯ่
ลดโลกร้อน
สร้างเครือข่ายการ
เรียนรูด้ า้ นการจัด
การเมืองสวล.
ได้เทศบาลตัวอย่าง
ที่มกี ารพัฒนาเมือง
ไปสูค่ วามน่าอยู่ฯ ตาม
กรอบแนวคิดฯ
มากที่สดุ
ได้ภาพถ่ายที่สื่อแสดง เทศบาลเข้าใจเรื่องภาวะ
ถึงความน่าอยู่ของเมือง โลกร้อนและสามารถ
มาเป็ นผลงานการนา
ปรับตัวรับมือกับ
แนวคิดเมืองน่าอยู่ฯ ผลกระทบที่จะเกิดขึน้ กับ
ลงสูก่ ารปฏิบตั ิ
เมืองในอนาคตได้
เกิดกระบวนการ
แลกเปลี่ยนเรียนรูแ้ ละ
กัลยาณมิตรระหว่าง
เทศบาล เพื่อเป็ นการ
สร้างความเข้มแข็ง
• 24 แห่งในปี 47
• อยู่ระหว่างเปิ ดรับ
• 45 แห่งในปี 50
ผลงานภาพถ่ายจนถึง
• > 45 แห่งในปี 52 สิน้ เดือน มี.ค. 53
• โครงการลดโลกร้อน
อย่างเป็ นรูปธรรม
มากกว่า 10 เทศบาล
• ศูนย์ประสานงาน
เครือข่าย 5 ภาค
• กิจกรรมแลกเปลี่ยน
ทำไมต้องทำเมืองให้น่ำอยู่ ?
• ปี 2493 มีเมืองใหญ่ในโลกไม่เกิน 83 เมือง (ประชากรเกินกว่า 1
ล้านคน) มีเพียงเมืองนิวยอร์คเมืองเดียวที่ประชากรเกิน 10 ล้านคน
• ปี 2503 มีเมืองที่มปี ระชากรเกินกว่า 10 ล้านคนเพิ่มเป็ น 2 เมือง
• ปี 2540 เมืองที่มปี ระชากรมากกว่า 1 ล้านคน เพิ่มเป็ น 280 เมือง
และจะเพิ่มอีกเท่าตัวในปี 2558 เมืองที่มคี นมากที่สดุ ในโลกในปี นีค้ ือ
โตเกียว-โอซากา (ประชากร 26.5 ล้านคน)
• ปี 2542 เมืองที่มปี ระชากรเกินกว่า 10 ล้านคน เพิ่มขึน้ เป็ น 17
เมือง และคาดว่าอีก 16 ปี ข้างหน้า (ปี 2556) จะมีเมืองใหญ่มหึมา
(ประชากรมากกว่า 10 ล้านคน) จานวนถึง 26 เมือง
• ปั จจุบนั ปี 2553 ประชากรกว่าครึ่งโลก (มากกว่า 3,300 ล้านคนจาก
ประชากรโลก 6,500 ล้านคน) จะอาศัยในเขตเมือง
• คนกว่า 600 ล้านคนที่อยูใ่ นเขตเมืองของประเทศกาลังพัฒนายังไม่มีบา้ นที่
อยูอ่ าศัยที่แข็งแรง ปลอดภัย ถูกสุขลักษณะ ไม่มนี า้ สะอาดและบริการ
สาธารณสุขที่จาเป็ น
• คนกว่า 2,000 ล้านคน ต้องเผชิญกับปั ญหามลพิษการจราจร ยาเสพติด
อาชญากรรม การแย่งกันอยู่ แย่งกันกิน แย่งกันหางาน แย่งทรัพยากร
เผชิญกับโรคภูมแิ พ้ ความเครียด การฆ่าตัวตาย การทุบตีวิวาท การขาด
แคลนอาหาร เจ็บป่ วยด้วยโรคเรื้อรัง
• คนเมืองล้วนแต่ไม่มคี วามสุข ดังนัน้ การทาเมืองให้เป็ น “เมืองน่าอยู”่ จึงเป็ น
ความปรารถนาหรือเป้าหมายที่ทกุ เมืองอยากพัฒนาไปให้ถึง
การจัดลาดับเมืองน่าอยู่จากทัว่ โลก
สารวจเมือง 218 เมืองทัว่ โลก ประเมินจากคุณภาพชีวิตของประชาชนในเมือง
จาก 39 ตัวชี้วดั ในประเด็นต่างๆ ดังนี้
• การเมืองการปกครอง
• เศรษฐกิจ
• สิ่งแวดล้อม
• ความปลอดภัยในตัวบุคคล
•สุขภาพอนามัย
• การศึกษา
• ระบบการขนส่งมวลชน
• การบริการสาธารณะ
การประเมินจะใช้เมือง New York เป็ นฐานของเกณฑ์การประเมิน
โดยเมือง New York มีคะแนนฐานที่ 100 คะแนน
จากการสารวจของ Mercer Human Resource Consulting ปี 2550
ผลการจัดลาดับเมืองน่าอยู่
ลำดับ
ที่
ชื่อเมือง
ประเทศ
1
2
Zürich
Switzerland
Geneva
3
Vancouver
คะแนน
108.1
Switzerland 108.0
Canada
Zürich - Switzerland
Vancouver- Canada
Vienna - Austria
107.7
4
Vienna
Austria
107.7
5
Auckland
New
Zealand
107.3
Düsseldorf - Germany
Auckland - New Zealand
Amsterdam –
The Netherlands
Toronto - Canada
Budapest - Hungary
6
Düsseldorf
Germany
107.3
จากการสารวจของ
Mercer Human Resource Consulting ปี 2550
ผลการจัดลาดับเมืองน่าอยู่
Berlin - Germany
ลำดับ
ที่
ชื่อเมือง
ประเทศ
คะแนน
7
8
Frankfurt
Germany
Munich
Germany
107.1
106.9
9
10
Bern
Switzerland
Sydney
Australia
106.5
106.5
11
Copenhagen
Denmark
106.2
12
Wellington
New
Zealand
105.8
จากการสารวจของ
Mercer Human Resource Consulting ปี 2550
Buenos Aires - Argentina
Oslo - Norway
Warsaw - Poland
Singapore
Melbourne - Australia
Lisbon - Portugal
Riyadh - Saudi Arabia
ผลการจัดลาดับเมืองน่าอยู่
ลำดับที่
ชื่อเมือง
ประเทศ
คะแนน
106
SAN JOSE
Costa Rica
77.8
107
108
109
ZAGREB
Croatia
77.6
BUCHAR
ESTRomania
76.9
BANGKOK
Thailand
76.8
110
YEOCHUN
(YOSU)
South Korea
76.3
111
112
ASUNCION
Paraguay
76.1
NASSAU
Bahamas
75.9
113
114
ULSAN
South Korea
75.0
74.6
SAO PAULO
Brazil
จากการสารวจของ Mercer Human Resource Consulting ปี 2550
ผลการจัดลาดับเมืองน่าอยู่
ลำดับที่
ชื่อเมือง
ประเทศ
คะแนน
128
MEXICO
CITY
Mexico
71.3
129
130
AMMAN
CAIRO
Jordan
Egypt
71.2
71.2
131
132
GUANGZHOU
China
RAYONG
Thailand
70.3
69.3
133
134
135
KUWAIT CITY
Kuwait
69.0
BLANTYRE
Malawi
NANJING
China
66.9
66.8
136
COLOMBO
Sri Lanka
66.3
จากการสารวจของ Mercer Human Resource Consulting ปี 2550
ใครมีบทบำทสำคัญในกำรทำเมืองให้น่ำอยู?
่
“องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น”
(เทศบาล อบต. เขตปกครองพิเศษ กทม. พัทยา)
ควรเป็ นเสาหลักสาคัญในการแสดงบทบาทในการทาเมืองให้นา่ อยู่
ทัง้ ในปั จจุบนั และอนาคต เนือ่ งจาก...
• อปท. มีบทบาทหน้าที่ ความรับผิดชอบตามกฎหมายที่บญ
ั ญัตไิ ว้ในการพัฒนา
เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม
• ถูกบังคับและสนับสนุนด้วยเงือ่ นไขในรัฐธรรมนูญ อันเป็ นกฎหมายแม่บทสูงสุด
• ในแง่การเมือง ผูบ้ ริหารเป็ นตัวแทนของประชาชนในเมืองเพื่อทาหน้าที่บริหาร
จัดการเมืองแทนประชาชน จึงมี “ความชอบธรรม” ที่ตอ้ งทาหน้าที่ทาเมืองให้
น่าอยู่
สมำคมสันนิบำตเทศบำลแห่งประเทศไทย
กับกำรขับเคลื่อนแนวคิดเมืองน่ำอยูอ่ ย่ำงยัง่ ยืน
ลงสูก่ ำรปฏิบตั ิในเทศบำล
ที่ผา่ นมา...
• ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2545 สมาคมสันนิบาตเทศบาลแห่งประเทศไทย โดยคณะอนุ
กรรมาธิการด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม (ขณะนัน้ ) จัดโครงการ
ประกวดเทศบาลน่าอยู่ขนึ้ ครัง้ แรก
• ตัง้ แต่ปี 2546 เป็ นต้นมา สมาคมสันนิบาตเทศบาลแห่งประเทศไทย โดย
คณะอนุกรรมาธิการด้านสิ่งแวดล้อมและอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
ร่วมกับกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อมดาเนินโครงการประเมินเทศบาล
น่าอยู่อย่างยัง่ ยืน จนถึงปั จจุบนั
ยกย่องเทศบาลที่ด…
ี
มาตรการเชิงสังคมสร้างเทศบาลน่าอยูอ่ ย่างยัง่ ยืนสูส่ งั คมคาร์บอนตา่
นำยดำรงค์ เภตรำ
นำยกเทศมนตรีตำบลเกำะสีชงั
กำรประเมินเทศบำลน่ำอยูอ่ ย่ำงยัง่ ยืน
ประจำปี 2552
วัตถ ุประสงค์
1. เพื่อนำกรอบแนวคิดและเกณฑ์ช้ ีวดั เทศบำลน่ำอยู่
อย่ำงยัง่ ยืนลงสูก่ ำรปฏิบตั ิในระดับท้องถิ่น
2. เพื่อยกย่องเชิดชูเทศบำลที่มีควำมพยำยำม
พัฒนำสูเ่ มืองน่ำอยูอ่ ย่ำงยัง่ ยืนให้เป็นตัวอย่ำง
ที่ดีแก่เทศบำลอื่นๆ ทัง้ ในและต่ำงประเทศ
กระบวนกำรและแผนกำรประเมินเทศบำลน่ำอยูอ่ ย่ำงยัง่ ยืน ประจำปี 2552
1. ประช ุมทำควำมเข้ำใจรำยละเอียดกำรประเมินเทศบำลน่ำอยูฯ่ 2552
18 ม.ค. 53
2. ประชำสัมพันธ์และเปิดรับผลงำนจำกเทศบำลที่สนใจ
ถึง 15 มี.ค.53
3. ประช ุมประเมินฯ รอบคัดเลือกโดยพิจำรณำจำกเอกสำรผลงำนและคัดให้
7-9 เม.ย.53
ได้เทศบำลท ุกขนำดรวม 45 แห่ง
4. แจ้งผลกำรประเมินรอบที่ 1 ไปยังเทศบำลที่สง่ ผลงำนเข้ำร่วม และ
ประสำนกำรลงพื้นที่กบั 45 เทศบำลที่ผำ่ นกำรคัดเลือก
15-30 เม.ย.53
5. ประเมินรอบตัดสิน โดยกำรลงพื้นที่ทงั้ 45 เทศบำลที่ผำ่ นเข้ำรอบ
1-31 พ.ค.53
6. ประช ุมสร ุปผลและจัดลำดับเทศบำลน่ำอยูฯ่ ประจำปี 2552
30 มิ.ย.53
7. จัดพิธีประกำศผลและมอบรำงวัลเทศบำลน่ำอยูอ่ ย่ำงยัง่ ยืนฯ2552
จะแจ้งให้ทรำบ
เทศบำลจะได้อะไรจำกกำรส่งผลงำนเข้ำร่วมโครงกำร
• กระตุน้ การเรียนรูแ้ ละพัฒนาภายในองค์กร
• สร้างการทางานเป็ นทีมระหว่างฝ่ ายต่างๆ ในเทศบาลในการทาความเข้าใจ
ตัวชี้วดั และเก็บรวบรวมผลงาน
• สร้างเสริมทักษะในการนาเสนอผลงานให้กระชับ ชัดเจน
• วัดระดับการพัฒนาเมืองของตนเองในประเด็นความน่าอยูอ่ ย่างยัง่ ยืน เพื่อนามา
ปรับปรุงในอนาคต
• มีโอกาสแลกเปลี่ยนเรียนรูก้ บั เมืองอื่น เปิ ดมุมมอง สร้างประสบการณ์การเรียนรู้
• ผลงานที่ดขี องเทศบาลจะได้รบั การรวบรวมเป็ นเอกสารเผยแพร่ในวันประกาศผล
และมอบรางวัลถ้วยพระราชทานฯ และเผยแพร่ในเว็บไซต์ของหน่วยงานต่างๆ
• เทศบาลทุกแห่งที่สง่ ผลงานจะได้รบั การรวบรวมรายชือ่ ไว้ในฐานข้อมูลเครือข่าย
เทศบาลน่าอยูอ่ ย่างยัง่ ยืน
• เทศบาลที่ผา่ นการประเมินจะได้รบั การส่งเสริมให้สามารถเป็ นแหล่งเรียนรู/้ ศึกษา
ดูงาน และเป็ นตัวอย่างที่ดแี ก่เทศบาลอื่น
ผลสำเร็จจำกกำรดำเนินโครงกำร
• ปี 2547 เทศบาลที่ผา่ นการประเมิน จานวน 24 แห่ง โดยเทศบาล
ที่ชนะเลิศในระดับนคร เมือง และตาบล ได้แก่ ทน.สงขลา
ทม.พิจิตร และทต.เมืองแกลง ตามลาดับ
• ปี 2550 เทศบาลที่ผา่ นการประเมินจานวน 45 แห่ง โดยเทศบาล
ที่ชนะเลิศขนาดใหญ่ กลางและเล็ก ได้แก่ ทน.ตรัง ทม.อุโมงค์
และ ทต.ดงเจน ตามลาดับ
กำรประเมินเทศบำลน่ำอยูอ่ ย่ำงยัง่ ยืน ประจำปี 2552
เปิ ดรับผลงานตัง้ แต่วนั นี้ จนถึง 15 มีนาคม 2553
ดูรายละเอียดเพิ่มเติมและดาวน์โหลดใบสมัครใน...
www.tei.or.th
www.deqp.go.th
www.nmt.or.th
โครงกำรประกวดภำพถ่ำยวิถีเมืองน่ำอยู่
วัตถุประสงค์
กระตุน้ เทศบาลได้เห็นความสาคัญของการถ่ายทอดเรื่ องราว
“ความน่าอยู”่ ของเมืองผ่านภาพถ่าย
กำรดำเนินงำน
1. ประชาสัมพันธ์ไปยังทุกเทศบาลให้สง่ ภาพที่แสดงถึงความน่าอยู่
อย่างยัง่ ยืน
2. แต่งตัง้ คณะกรรมการคัดเลือกภาพที่ดที ี่สดุ มาเผยแพร่
ผลสำเร็จที่คำดหวังจำกกำรดำเนินโครงกำร
คาดหวังจะได้ภาพที่ดที ี่สดุ ที่แสดงถึงความน่าอยู่ของเทศบาลใน
ประเทศไทยอย่างน้อย 12 ภาพ
โครงกำรท้องถิ่นไทยร่วมใจพิทกั ษ์ภ ูมิอำกำศ
วัตถ ุประสงค์
1. เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจเรื่องภาวะโลกร้อน
2. เพื่อส่งเสริมบทบาทของเทศบาลในการช่วยลดการปลดปล่อย
ก๊าซเรือนกระจกและเตรียมความพร้อมรับมือกับผลกระทบของ
ภาวะโลกร้อน
กำรดำเนินงำน
1. จัดอบรมท้องถิ่นไทยร่วมใจพิทกั ษ์ภมู อิ ากาศโลก 5 ครัง้ ใน 5
ภูมภิ าค
2. จัดอบรมสร้างความเข้าใจต่อการใช้เทคโนโลยีสะอาดในการพัฒนา
และซื้อขายคาร์บอนเครดิตในปี 53
ผลสำเร็จจำกกำรดำเนินโครงกำร
1. คูม่ อื ลดโลกร้อนสาหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
2. บุคลากรกว่า 500 คนได้รบั ความรู้ ความเข้าใจ
เรื่องโลกร้อน
3. เทศบาล 10 แห่งได้รบั การสนับสนุนจากสทท.ในการดาเนินเพื่อลด
ภาวะโลกร้อน
4. เทศบาลกว่า 10 แห่งเข้าใจเรื่องเทคโนโลยีสะอาดในการพัฒนาและ
การซื้อขายคาร์บอนเครดิต
เครือข่ำยกำรเรียนรจ้ ู ดั กำรเมืองและสิ่งแวดล้อม
ระดับภ ูมิภำค
วัตถ ุประสงค์
1. สร้างความเข้มแข็งของเทศบาลในระดับภูมภิ าคในรูปแบบ
“เครือข่ายการเรียนรู”้
2. สนับสนุนนโยบายการกระจายอานาจและการบริหารกิจการ
บ้านเมืองที่ดตี ามหลักธรรมาภิบาลลงสูก่ ารปฏิบตั จิ ริงในระดับ
ท้องถิ่น
กำรดำเนินงำน
1. ผลักดันให้เกิดการจัดตัง้ ศูนย์ประสานงานเครือข่ายการเรียนรูฯ้ ใน
5 ภูมภิ าค เพื่อกระจายข้อมูลข่าวสารเชิงวิชาการที่เป็ นประโยชน์แก่
เทศบาลในภูมภิ าค
2. จัดกิจกรรมพัฒนาศักยภาพเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรูแ้ นวทางการจัด
การเมืองและสิ่งแวดล้อมระหว่างเทศบาลทัง้ ในและต่างภูมิภาค
3. รวบรวมผลงานที่สร้างสรรค์ดา้ นการพัฒนาเมืองและสิ่งแวดล้อม
ของเทศบาลในภูมภิ าคตนเอง
ผลสำเร็จจำกกำรดำเนินโครงกำร
1. ศูนย์ประสานงานเครือข่ายฯ 5 แห่ง ได้แก่
ทน.เชียงราย / ทน.นครปฐม / ทต.เมืองแกลง / ทน.ขอนแก่น
และ ทน.สงขลา
2. เกิดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรูท้ ี่จดั ขึน้ โดยแต่ละศูนย์ฯ เช่น
- มหกรรมนวัตกรรมระดับท้องถิ่น ภาคอีสาน
- ประชุมวิชาการระดับเอเชีย-แปซิฟิคเรื่องเกษตรเมือง
มำร่วมกันคิดว่ำ
เรำจะขับเคลื่อนเมืองน่ำอยู่
สูก่ ำรปฏิบตั ิในเทศบำล
ต่อไปอย่ำงไร?