เป็นผู้มีสิทธิฟ้องคดีหรือไม่ - องค์การบริหารส่วนตำบลโนนธาตุ

Download Report

Transcript เป็นผู้มีสิทธิฟ้องคดีหรือไม่ - องค์การบริหารส่วนตำบลโนนธาตุ

คดีปกครอง
เกีย่ วกับการเข้ าสู่ ตาแหน่ งและการพ้ นจากตาแหน่ งของ
สมาชิกสภาท้ องถิน่ ประธานสภาท้ องถิน่
รองประธานสภาท้ องถิน่ และผ้ บู ริ หารท้ องถิน่
อนุชา ฮุนสวัสดิกลุ
ตุลาการศาลปกครอง
การเข้ าสู่ ตาแหน่ งและการพ้นจากตาแหน่ ง
สมาชิกสภาท้ องถิ่น
ประธานสภาท้ องถิ่น และรองประธานสภาท้ องถิ่น
ผู้บริหารท้ องถิน่ (ระบบเดิมมากจากเลือกของสภาท้ องถิ่น)
หากการเข้ าสู่ ตาแหน่ งเป็ นไปโดยไม่ ชอบด้ วยกฎหมาย
ต่ อมาอาจเป็ นเหตุให้ ต้องพ้ นจากตาแหน่ งได้
ประเด็นสาคัญ
• การเข้ าสู่ ตาแหน่ ง
– คุณสมบัติ และลักษณะ
ต้ องห้ าม
– ผู้มีอานาจพิจารณาวินิจััย
– กระบวนการโต้ แย้ งคัดค้าน
• ก่อนการเลือกตั้ง
• หลังจากเลือกตั้ง
• การพ้นจากตาแหน่ ง
– เหตุทที่ าให้ พ้นจากตาแหน่ ง
– กระบวนการขั้นตอน
– ผู้มีอานาจออกคาสั่ งให้ พ้น
จากตาแหน่ ง
กฎหมายที่เกีย่ วข้ อง
• การเข้ าสู่ ตาแหน่ ง
1) กฎหมายว่ าด้ วยการเลือกตั้งท้ องถิ่น
• พ.ร.บ. การเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล พ.ศ. 2482
• พ.ร.บ. การเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด พ.ศ. 2482
• พ.ร.บ. การเลือกตั้งสมาชิกสภากรุงเทพมหานครและผู้ว่าราชการ
กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2531
• ระเบียบ มท. ว่ าด้ วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาตาบลและสมาชิกสภา
องค์ การบริหารส่ วนตาบล พ.ศ. 2538
• พ.ร.บ. การเลือกตั้งสมาชิกสภาท้ องถิ่นหรือผู้บริหารท้ องถิ่น พ.ศ. 2545
• การเข้ าสู่ ตาแหน่ ง
2) กฎหมายจัดตั้งองค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิ่น
• พ.ร.บ. เทศบาล พ.ศ. 2496 แก้ไขเพิม่ เติมถึง (ับับที่ 12) พ.ศ. 2546
• พ.ร.บ. องค์ การบริหารส่ วนจังหวัด พ.ศ. 2540 แก้ไขเพิม่ เติมถึง
(ับับที่ 3) พ.ศ. 2546
• พ.ร.บ. สภาตาบลและองค์ การบริหารส่ วนตาบล พ.ศ. 2537 แก้ไข
เพิม่ เติมถึง (ับับที่ 5) พ.ศ. 2546
• พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528 แก้ไข
เพิม่ เติมถึง (ับับที่ 5) พ.ศ. 2546
• พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการเมืองพัทยา พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิม่ เติมถึง
(ับับที่ 3) พ.ศ. 2546
เทศบาล
กฎหมายว่ าด้ วยการเลือกตั้งฯ
4 มี.ค. 46
พรบ.การเลือกตั้งเทศบาล 2482
(ับับที่ 10) พ.ศ. 2542
10 มี.ค. 42
พรบ.การเลือกตั้งสภาท้ องถิ่นฯ 2545
(ับับที่ 11) พ.ศ. 2543
12 พ.ค. 43
(ับับที่ 12) พ.ศ. 2546
22 ธ.ค. 46
กฎหมายเทศบาล
1
2
3
4
องค์ การบริหารส่ วนตาบล
กฎหมายว่ าด้ วยการเลือกตั้งฯ
4 มี.ค. 46
ระเบียบ มท. พรบ.การเลือกตั้ง
การเลือกตั้งฯ 2538 เทศบาล 2482
พรบ.การเลือกตั้งสภาท้ องถิ่นฯ 2545
พ.ร.บ. พ.ศ. 2537 (ับับที่ 3) พ.ศ. 2542 (ับับที่ 4) พ.ศ. 2546 (ับับที่ 5) พ.ศ. 2546
3 มี.ค. 38
20 พ.ค. 42
17 มิ.ย. 46
22 ธ.ค. 46
พ.ร.บ. สภาตาบลและองค์ การบริหารส่ วนตาบล พ.ศ. 2537
1
2
3
4
5
สรุปการแก้ ไขปรับปรุงกฎหมายเทศบาล
สรุปความเป็ นมาของ “เทศบาล”
 พ.ร.บ. เทศบาล (ับับที่ 10) พ.ศ. 2542
(รจ. 10 มี.ค. 2542)
 แก้ไขให้ สอดคล้องกับรัฐธรรมนูญ
 แก้ไขวาระ ข้ อห้ ามและการสิ้นสุ ดสมาชิกภาพ การพ้นจากตาแหน่ ง
 พ.ร.บ. เทศบาล (ับับที่ 11) พ.ศ. 2543 (รจ. 12 พ.ค. 2543)
 แก้ไขเพิม่ ให้ ผู้บริหารเทศบาลมาจากการเลือกตั้งโดยตรงอีกด้ วย (2 แบบ)
 พ.ร.บ. เทศบาล (ับับที่ 12) พ.ศ. 2546 (รจ. 22 ธ.ค. 2546)
 แก้ไขให้ ผู้บริหารเทศบาลมาจากการเลือกตั้งโดยตรงรูปแบบเดียว และแก้ไข
ให้ สอดคล้องกับกฎหมายว่ าด้ วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้ องถิ่นหรือ
ผู้บริหารท้ องถิ่น
สาระสาคัญของ พ.ร.บ. เทศบาล (ับับที่ 10) พ.ศ. 2542
 หลัก “แก้ ไขให้ สอดคล้ องกับรัฐธรรมนูญ”
 มาตรา 18 ทวิ ต้ องไม่ เป็ นผู้มีส่วนได้ เสี ย (แก้ไขโดย ั. 12)
 มาตรา 19 การสิ้นสุ ดสมาชิกภาพของสมาชิกสภาเทศบาล (แก้ไขโดย ั. 12)
 มาตรา 45 เทศมนตรีท้งั คณะพ้นจากตาแหน่ ง
 มาตรา 46 ความเป็ นเทศมนตรีสิ้นสุ ดลงเัพาะตัว
 มาตรา 48 การสั่ งพักคณะเทศมนตรี (แก้ไขโดย ั. 11)
 มาตรา 74 การยุบสภา
สาระสาคัญของ พ.ร.บ. เทศบาล (ับับที่ 11) พ.ศ. 2543




หลัก “กาหนดให้ ผู้บริหารเทศบาลมี 2 รูปแบบ”
มาตรา 20 ทวิ การพ้นจากตาแหน่ งของประธานสภา และรองประธานสภา
รูปแบบคณะเทศมนตรี แก้ไขเัพาะจานวนเทศมนตรี (มาตรา 36-48) (ั. 12)
รูปแบบนายกเทศมนตรี
มาตรา 48 เบญจ คุณสมบัตขิ องผู้มสี ิ ทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็ นนายกเทศมนตรี (ั. 12)
 มาตรา 48 ั ลักษณะต้ องห้ ามไม่ ให้ ใช้ สิทธิสมัครรั บเลือกตั้งเป็ นนายกเทศมนตรี (ั. 12)
 มาตรา 48 จตุทศ ผู้บริหารเทศบาลฯ ต้ องไม่ กระทาการ (ั. 12)
 มาตรา 48 ปัญจทศ เหตุการพ้ นจากตาแหน่ งของนายกเทศมนตรี (ั. 12)
 มาตรา 48 โสฬส เหตุการณ์ พ้นจากตาแหน่ งของรองนายกเทศมนตรี (ั. 12)
 มาตรา 62 ตรี การหาข้ อยุตใิ นการเสนอข้ อบัญญัติงบประมาณฯ และการยุบสภา (ั. 12)

 มาตรา 23 (ับับ 11) ให้ นากฎหมายการเลือกตั้งเทศบาลมาใช้ โดยอนุโลม
 บทเัพาะกาล
สาระสาคัญของ พ.ร.บ. เทศบาล (ับับที่ 12) พ.ศ. 2546
 มาตรา 15 กาหนดคุณสมบัติและลักษณะต้ องห้ ามของผู้มสี ิ ทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็ นสมาชิกสภาเทศบาล
โดยให้ ใช้ ตามกฎหมายเลือกตั้งฯ 2545 และเพิม่ กรณีต้องไม่ พ้นจากตาแหน่ งเนื่องจากมีส่วนได้ เสี ยไม่ ถึง 5 ปี
 มาตรา 18 ทวิ ห้ ามมีส่วนได้ เสี ย
 มาตรา 19 เหตุพ้นจากตาแหน่ งของสมาชิกสภาเทศบาล
 มาตรา 20 ทวิ เหตุพ้นจากตาแหน่ งของประธานสภา รองประธานสภาฯ
 มาตรา 48 เบญจ คุณสมบัติและลักษณะต้ องห้ ามของผู้มสี ิ ทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็ นนายกเทศมนตรี (ตาม
กฎหมายเลือกตั้ง 45 และเพิม่ เติมอีก 4 ประการ)
 มาตรา 48 นว คุณสมบัติและลักษณะต้ องห้ ามของรองนายกเทศมนตรี
 มาตรา 48 จตุทศ ผู้บริหารเทศบาลต้ องไม่ กระทาการ
 มาตรา 48 ปัญจทศ เหตุพ้นจากตาแหน่ งของนายกเทศมนตรี
 มาตรา 48 โสฬส เพิม่ เติมเหตุพ้นจากตาแหน่ งของรองนายกเทศมนตรี
 มาตรา 62 ตรี การหาข้ อยุตใิ นการเสนอข้ อบัญญัติงบประมาณฯ และการยุบสภา
 มาตรา 73 รมต.สั่ งให้ ผ้ บู ริหารเทศบาล ประธาน/รองประธานสภาเทศบาลพ้นจากตาแหน่ ง
 บทเัพาะกาล
การเข้ าสู่ ตาแหน่ ง
• การเข้ าสู่ ตาแหน่ ง
 คุณสมบัติ และลักษณะต้ องห้ าม
 กฎหมายเลือกตั้งสมาชิกสภาท้ องถิ่น หรือผู้บริหารท้ องถิ่น 2545
 กฎหมายจัดตั้งองค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิ่น
 ผู้มีอานาจวินิจััยว่ ามีคุณสมบัติ และลักษณะต้ องห้ ามหรือไม่
 ก่อนใช้ กฎหมายเลือกตั้งท้ องถิ่น ๒๕๔๕ (นายอาเภอ/ผู้ว่าราชการจังหวัด)
 หลังใช้ กฎหมายเลือกตั้งท้ องถิ่น ๒๕๔๕ (กกต.)
 กระบวนการขั้นตอนการพิจารณาวินิจััย
 ความเหมาะสมของการใช้ ดุลพินิจ
 การตรวจสอบโดยศาลปกครอง
การพ้นจากตาแหน่ ง
● เหตุพ้นจากตาแหน่ ง





กฎหมายจัดตั้ง อปท.
กฎหมายว่ าด้ วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้ องถิ่น หรือผู้บริหารท้ องถิ่น พ.ศ. 2545
เหตุพ้นจากตัวผู้ดารงตาแหน่ งเอง (ตาย ลาออก ขาดประชุม เข้ าสู่ ตาแหน่ งโดยไม่ ชอบฯ)
เหตุพ้นจากสภาท้ องถิ่น (มีมติให้ พ้นจากตาแหน่ ง)
เหตุพ้นจากผู้ใช้ อานาจกากับดูแล (นายอาเภอ ผู้ว่าราชการจังหวัด หรือ รมว.มท.)
● ผู้มีอานาจวินิจััยการพ้นจากตาแหน่ ง
● กระบวนการขั้นตอนการพิจารณาวินิจััย
● ความเหมาะสมของการใช้ ดุลพินิจ
● การตรวจสอบโดยศาลปกครอง
ลักษณะข้ อพิพาทที่ฟ้องต่ อ
ศาลปกครอง
ศาลปกครองมีอานาจพิจารณา “คดีปกครอง”
คู่กรณี (เป็ นคดีพพิ าทระหว่ าง)
■ หน่ วยงานทางปกครอง/เจ้ าหน้ าทีข่ องรัฐ กับเอกชน
■ หน่ วยงานทางปกครอง/เจ้ าหน้ าทีข่ องรัฐ ด้ วยกันเอง
ลักษณะคดีพพิ าท (พิพาทในเรื่อง)
หน่ วยงานฯ/จนท.ของรัฐ กระทาการโดยไม่ ชอบด้ วยกฎหมาย
จากการออกกฎ คาสั่ ง หรือการกระทาอืน่
หน่ วยงานฯ/เจ้ าหน้ าทีข่ องรัฐ ละเลยต่ อหน้ าที่ ปฏิบัติหน้ าที่ล่าช้ าเกินสมควร
ละเมิดเจ้ าหน้ าที่ และความรับผิดอย่ างอืน่
สั ญญาทางปกครอง
กฎหมายกาหนดให้ หน่ วยงานฯ/เจ้ าหน้ าทีข่ องรัฐ ฟ้องคดีต่อศาลปกครอง
กฎหมายกาหนดให้ อยู่ในอานาจของศาลปกครอง
ลักษณะข้ อพิพาทที่ฟ้องศาลปกครอง
● กระทาการโดยไม่ ชอบด้ วยกฎหมาย การออกกฎ คาสั่ ง /กระทาการอืน่ ใด เช่ น
 การวินิจััยว่ าสมาชิกสภาท้ องถิ่นเป็ นผู้ขาดคุณสมบัติ หรือมีลกั ษณะต้ องห้ าม และ
ต้ องพ้นจากตาแหน่ ง
 สภาท้ องถิ่นมีมติว่าสมาชิกสภามีพฤติกรรมเสื่ อมเสี ยฯ
● ละเลยต่ อหน้ าที่ หรือปฏิบัติหน้ าทีล่ ่าช้ าเกินสมควร เช่ น
 ผู้ว่าราชการจังหวัดไม่ วนิ ิจััยว่ า สมาชิกสภาเป็ นผู้มลี กั ษณะต้ องห้ ามหรือไม่ ภายใน
ระยะเวลาอันสมควร
● ละเมิดจากการออกคาสั่ งทางปกครองไม่ ชอบด้ วยกฎหมาย เช่ น
 นายอาเภอมีคาสั่ งให้ พ้นจากตาแหน่ งไม่ ชอบด้ วยกฎหมาย จึงนาคดีมาฟ้องเรียก
ค่ าเสี ยหาย (ต้ องฟ้องกรมการปกครอง) (คำสัง่ ศำลปกครองนครรำชสี มำ คดีหมำยเลขแดงที่
๒๑๗/๒๕๔๗)
ประเด็นพิจารณาของศาลปกครอง
• คดีอยู่ในอานาจศาลปกครองหรือไม่ ?
 เป็ นคดีปกครอง และอยู่ในอานาจของศาลปกครองหรือไม่ ?
• ผู้ฟ้องคดีดาเนินการตามเงือ่ นไขการฟ้องคดีครบถ้ วนหรือไม่ ?
 เป็ นผู้มีสิทธิฟ้องคดีหรือไม่ ?
 ดาเนินการตามขั้นตอนและวิธีการที่กฎหมายกาหนดแล้วหรือไม่ ?
 ฟ้องภายในระยะเวลาทีก่ ฎหมายกาหนดหรือไม่ ?
• การใช้ ดุลพินิจของผู้ใช้ อานาจเหมาะสม ชอบด้ วยกฎหมายหรือไม่ ?
 ผู้กระทามีอานาจตามกฎหมายหรือไม่ ?
 กระทาการถูกต้ องตามขั้นตอนและวิธีการอันเป็ นสาระสาคัญหรือไม่ ?
 ใช้ ดุลพินิจเหมาะสม ชอบด้ วยกฎหมายหรือไม่ ?
การตรวจสอบความชอบด้ วยกฎหมาย



๓. ใช้ ดุลพินิจ
โดยชอบหรือไม่
๒. ถูกต้ องตามขั้นตอนและวิธีการ
อันเป็ นสาระสาคัญหรือไม่
๑. มีอานาจตาม
กฎหมายหรือไม่
้ ล
การตรวจสอบการใชด
ุ พินจ
ิ
ั ว
่ น
หล ักแห่งความได้สดส
• หล ักแห่งความเหมาะสม
 การกระทานนต้
ั้ องบรรลุเจตนารมณ์ของกฎหมาย
• หล ักแห่งความจาเป็น
ิ ธิประชาชนเท่าทีจ
 กระทบสท
่ าเป็นหรือน้อยทีส
่ ด
ุ
ั ว
่ นในความหมาย
• หล ักแห่งความได้สดส
อย่างแคบ
เกิดประโยชน์สาธารณะมากกว่าโทษทีเ่ กิดก ับ
ประชาชน
การเข้ าสู่ ตาแหน่ ง
คดีทเี่ กีย่ วกับการเข้ าสู่ ตาแหน่ ง (การเลือกตั้ง)
●การวินิจััยคุณสมบัติ และลักษณะต้ องห้ ามของผู้สมัครรับ
เลือกตั้งเป็ นสมาชิกสภาท้ องถิ่น
 ผู้ดาเนินการจัดการเลือกตั้ง
 เดิม
 ปัจจุบัน
● ผอ. การเลือกประจาท้ องถิ่นวินิจััยว่ า ผู้ฟ้องคดีขาดคุณสมบัติและ
มีลกั ษณะต้ องห้ าม ไม่ มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็ นสมาชิกสภา อบต. และ
กกต.ประจาจังหวัดมีคาวินิจััยยืนตาม เป็ นการใช้ อานาจตามรั ฐธรรมนูญ
ไม่ ใช่ การใช้ อานาจทางบริหารหรือทางปกครอง คดีไม่ อยู่ในอานาจ
ศาลปกครองที่จะพิจารณาพิพากษาได้
(คาสั่ งศาลปกครองนครราชสี มา คดีหมายเลขแดงที่ ๒๑๘/๒๕๔๗)
การพ้นจากตาแหน่ ง
เหตุพ้นจากตาแหน่ ง
● เหตุจากผู้ดารงตาแหน่ งเอง
ตาย
 ออกตามอายุสภาฯ หรื อยุบสภา
 ลาออก
 ขาดประชุ ม
ขาดคุณสมบัติ
 มีส่วนได้ เสี ยไม่ ว่าทางตรง/อ้ อม เป็ นผ้ ม
ู ีพฤติกรรมในทางทุจริ ต

 เหตุจากผู้มีอานาจกากับดูแล


มีคาวินิจััยกรณีสงสั ยว่ าสมาชิกสภาฯพ้นจากตาแหน่ งหรือไม่
ใช้ อานาจกากับดูแล (อบต. ม.๙๐,๙๑,๙๒ เทศบาล ม.๗๒,๗๓,๗๔)
● เหตุจากสภาท้ องถิ่น


สภาฯมีมติให้ พ้นฯเพราะ มีความประพฤติในทางที่จะนามาซึ่งความเสื่ อมเสี ยหรือก่ อ
ความไม่ สงบเรียบร้ อย หรือกระทาการอันเสื่ อมเสี ยประโยชน์
ไม่ ให้ ความเห็นชอบข้ อบัญญัตงิ บฯ เป็ นเหตุให้ ผ้ บู ริหารพ้ นฯ
การพ้นจากตาแหน่ งเหตุจากผู้ดารงตาแหน่ ง
และการวินิจััยให้ พ้นจากตาแหน่ ง
การลาออก
● สมาชิกสภา อบจ. ลงนามในใบลาออกไว้ ล่วงหน้ า ต่ อมามีผู้ลงวันที่ แล้ว
นาไปยืน่ ต่ อประธานสภาฯโดยไม่ ได้ รับมอบอานาจเป็ นเพียงการเตรี ยมการ
ล่ วงหน้ า ไม่ ถือเป็ นการยืน่ หนังสื อลาออกของสมาชิกสภาฯโดยฝ่ าฝื นใจ
ไม่ สามารถทาแทนได้ โดยชอบ ถือว่ ายังไม่ ได้ มีการยื่นหนังสือลาออก
สมาชิกภาพจึงยังไม่ สิ้นสุ ด มีสิทธิเข้ าร่ วมประชุ ม ออกเสี ยง และลงมติ
(คาพิพากษาศาลปกครองกลาง (ป) คดีหมายเลขแดงที่ ๑๑๙๔-๑๑๙๕/๒๕๔๖)
●
สมาชิกสภาเทศบาลเมืองขาดประชุม ๓ ครั้ง ต่ อมาได้ ยนื่ ใบลาการ
ประชุม ประธานสภาไม่ อนุญาต
 หากไม่ พอใจต้ องอุทธรณ์ คาสั่ งต่ อผู้ว่าราชการจังหวัด
 ต่ อมาผู้ว่าฯสอบสวนและวินิจััยว่ าพ้ นจากตาแหน่ ง เป็ นคาสั่ งทางปกครองใหม่
หากไม่ พอใจต้ องอุทธรณ์ ต่อผู้ว่าฯอีกครั้ง
(คาสั่ งศาลปกครองกลาง คดีหมายเลขแดงที่ ๓๐๔/๒๕๔๕)
พ้นจากตาแหน่ งเนื่องจากมีส่วนได้ เสี ยไม่ ว่า
ทางตรงหรือทางอ้ อม
สมาชิกสภาเทศบาล
เทศบาล
● มาตรา ๑๘ ทวิ สมาชิกสภาเทศบาลต้ องไม่ เป็ นผู้มสี ่ วนได้ เสี ยไม่ ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้ อมในสั ญญาที่
เทศบาลนั้นเป็ นคู่สัญญาหรือในกิจการทีก่ ระทาให้ แก่ เทศบาลนั้น หรือทีเ่ ทศบาลนั้นจะกระทา
● มาตรา ๑๙ สมาชิกภาพของสมาชิกสภาเทศบาลสิ้นสุ ดลง เมือ่
(๖) กระทาการอันต้ องห้ ามตามมาตรา ๑๘ ทวิ
นายกเทศมนตรี
● มาตรา ๔๘ เบญจ บุคคลผู้มสี ิ ทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็ นนายกเทศมนตรีต้องมีคุณสมบัติและไม่ มี
ลักษณะต้ องห้ ามตามกฎหมายว่ าด้ วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้ องถิ่นหรือผู้บริหารท้ องถิ่น และต้ องมี
คุณสมบัติและไม่ มลี กั ษณะต้ องห้ ามดังต่ อไปนีไ้ ปด้ วย
(๓) ไม่ เป็ นผู้ทพี่ ้นจากตาแหน่ งสมาชิกสภาท้ องถิ่น คณะผู้บริหารท้ องถิ่น หรือผู้บริหารท้ องถิ่น รอง
ผู้บริหารท้ องถิ่น หรือทีป่ รึกษาหรือเลขานุการของผู้บริหารท้ องถิ่น เพราะเหตุมสี ่ วนได้ เสี ยไม่ ว่า
ทางตรงหรือทางอ้ อมในสั ญญาทีก่ ระทากับองค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิ่นยังไม่ ถงึ ๕ ปี นับถึงวันรับสมัคร
เลือกตั้ง
● มาตรา ๔๘ จตุทศ นายกเทศมนตรี รองนายกเทศมนตรี ทีป่ รึกษานายกเทศมนตรี และเลขานุการ
นายกเทศมนตรีต้องไม่ กระทาการอย่ างใดอย่ างหนึ่ง ดังต่ อไปนี้
(๓) เป็ นผู้มสี ่ วนได้ เสี ยไม่ ว่าโดยตรงหรือโดนอ้ อมในสั ญญาทีเ่ ทศบาลนั้นเป็ นคู่สัญญาหรือในกิจการที่
กระทาให้ แก่ เทศบาลนั้น หรือทีเ่ ทศบาลนั้นจะกระทา
● มาตรา ๔๘ ปัญจทศ นายกเทศมนตรีพ้นจากตาแหน่ ง เมือ่
(๕) กรทาการฝ่ าฝื นมาตรา ๔๘ จตุทศ
สมาชิกสภา อบต.
อบต.
● มาตรา ๔๗ ทวิ บุคคลผู้มสี ิ ทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็ นสมาชิกสภา อบต. ต้ องมีคุณสมบัติและไม่ มลี กั ษณะ
ต้ องห้ ามดังต่ อไปนีไ้ ปด้ วย
(๒) ไม่ เป็ นผู้มพี ฤติกรรมในทางทุจริตหรือพ้นจากตาแหน่ งสมาชิกสภาตาบล สมาชิกสภาท้ องถิ่น คณะ
ผู้บริหารท้ องถิ่น หรือผู้บริหารท้ องถิ่น รองผู้บริหารท้ องถิ่น หรือทีป่ รึกษาหรือเลขานุการของผู้บริหาร
ท้ องถิ่น เพราะเหตุมสี ่ วนได้ เสี ยไม่ ว่าทางตรงหรือทางอ้ อมในสั ญญาทีก่ ระทากับสภาตาบลหรือองค์ กร
ปกครองส่ วนท้ องถิ่นยังไม่ ถงึ ๕ ปี นับถึงวันรับสมัครเลือกตั้ง
● มาตรา ๑๙ สมาชิกภาพของสมาชิกสภา อบต. สิ้นสุ ดลง เมือ่
(๗) ขาดคุณสมบัติหรือมีลกั ษณะต้ องห้ ามตามมาตรา ๔๗ ทวิ
นายก อบต.
● มาตรา ๕๘/๑ บุคคลผู้มสี ิ ทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็ นนายก อบต. ต้ องมีคุณสมบัติและไม่ มลี กั ษณะ
ต้ องห้ ามตามกฎหมายว่ าด้ วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้ องถิ่นหรือผู้บริหารท้ องถิ่น และต้ องมีคุณสมบัติ
และไม่ มลี กั ษณะต้ องห้ ามดังต่ อไปนีไ้ ปด้ วย
(๓) ไม่ เป็ นผู้มพี ฤติกรรมในทางทุจริตหรือพ้นจากตาแหน่ งสมาชิกสภาตาบล สมาชิกสภาท้ องถิ่น คณะ
ผู้บริหารท้ องถิ่น หรือผู้บริหารท้ องถิ่น รองผู้บริหารท้ องถิ่น หรือทีป่ รึกษาหรือเลขานุการของผู้บริหาร
ท้ องถิ่น เพราะเหตุมสี ่ วนได้ เสี ยไม่ ว่าทางตรงหรือทางอ้ อมในสั ญญาทีก่ ระทากับสภาตาบลหรือองค์ กร
ปกครองส่ วนท้ องถิ่นยังไม่ ถงึ ๕ ปี นับถึงวันรับสมัครเลือกตั้ง
● มาตรา ๖๔ นายก อบต. พ้นจากตาแหน่ ง เมือ่
(๔) ขาดคุณสมบัติหรือมีลกั ษณะต้ องห้ ามตามมาตรา ๕๘/๑
สมาชิกสภา อบจ.
อบจ.
● มาตรา ๙ วรรคสอง ผู้มสี ิ ทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็ นสมาชิกสภา อบจ. นอกจากต้ องมีคุณสมบัติและไม่ มี
ลักษณะต้ องห้ ามตามกฎหมายว่ าด้ วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้ องถิ่นหรือผู้บริหารท้ องถิ่นแล้ ว จะต้ อง
ไม่ เป็ นผู้ทพี่ ้นจากตาแหน่ งสมาชิกสภาท้ องถิ่น คณะผู้บริหารท้ องถิ่นหรือผู้บริหารท้ องถิ่น รอง
ผู้บริหารท้ องถิ่น เลขานุการหรือทีป่ รึกษาผู้บริหารท้ องถิ่น เพราะเหตุมสี ่ วนได้ เสี ย ไม่ ส่าทางตรงหรือ
ทางอ้ อมในสั ญญาหรือกิจการทีก่ ระทากับองค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิ่นยังไม่ ถงึ ๕ ปี นับถึงวันสมัครรับ
เลือกตั้ง
● มาตรา ๑๑ สมาชิกภาพของสมาชิกสภา อบจ. สิ้นสุ ดลง เมือ่
(๕) เป็ นผู้มสี ่ วนได้ เสี ยไม่ ว่าทางตรงหรือทางอ้ อมในสั ญญาที่ อบจ. นั้นเป็ นคู่สัญญาหรือในกิจการที่
กระทาให้ แก่ อบจ. นั้นหรือที่ อบจ. นั้นจะกระทา
(๖) ขาดคุณสมบัติหรือมีลกั ษณะต้ องห้ ามตามมาตรา ๙ วรรคสอง
นายก อบจ.
● มาตรา ๓๕/๑ บุคคลผู้มสี ิ ทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็ นนายก อบจ. ต้ องมีคุณสมบัติและไม่ มลี กั ษณะ
ต้ องห้ ามตามกฎหมายว่ าด้ วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้ องถิ่นหรือผู้บริหารท้ องถิ่น และต้ องมีคุณสมบัติ
และไม่ มลี กั ษณะต้ องห้ ามดังต่ อไปนีไ้ ปด้ วย
(๓) ไม่ เป็ นผู้ทพี่ ้นจากตาแหน่ งสมาชิกสภาท้ องถิ่น คณะผู้บริหารท้ องถิ่น หรือผู้บริหารท้ องถิ่น รอง
ผู้บริหารท้ องถิ่น หรือทีป่ รึกษาหรือเลขานุการของผู้บริหารท้ องถิ่น เพราะเหตุมสี ่ วนได้ เสี ยไม่ ว่า
ทางตรงหรือทางอ้ อมในสั ญญาทีก่ ระทากับองค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิ่นยังไม่ ถงึ ๕ ปี นับถึงวันรับสมัคร
เลือกตั้ง
● มาตรา ๓๖ นายก อบจ. พ้นจากตาแหน่ ง เมือ่
(๔) ขาดคุณสมบัติหรือมีลกั ษณะต้ องห้ ามตามมาตรา ๓๕/๑
ประเด็นปัญหาการมีส่วนได้ เสี ย
 การกระทาอย่ างใด ทีเ่ ป็ นการมีส่วนได้ เสี ยทางตรง/ทางอ้ อม
 การมีส่วนได้ เสี ย
 มีส่วนได้ เสี ยก่ อนวันที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๔๖
 มีส่วนได้ เสี ยตั้งแต่ วนั ที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๔๖ เป็ นต้ นมา
 หากการมีส่วนได้ เสี ยเกิดก่ อน ๒๒ ธันวาคม ๒๕๔๖ ต่ อมาลาออก และ
มีการร้ องเรียนว่ า มีส่วนได้ เสี ยในภายหลัง ๒๒ ธันวาคม ๒๕๔๖ ยัง
ต้ องวินิจััย ว่ า “เป็ นผู้มีส่วนได้ เสี ย” อีกหรือไม่
การมีส่วนได้ เสี ยไม่ ว่าทางตรงหรือทางอ้อม
●
กรณีมสี ่ วนได้ เสี ยทางอ้ อม
 มารดาของนายกเทศมนตรีเป็ นหุ้นส่ วนรายใหญ่ ในห้ างฯซึ่งเข้ าทา
สั ญญากับเทศบาล แม้ จะได้ ยกให้ เป็ นบุตรบุญธรรมของบุคคลอืน่
แล้ วก็ตาม (หน้ าทีก่ ารเลีย้ งดูบุพการี และ/แม่ยงั คงเป็ นทายาทของบุตร)
 ข้ อห้ ามเรื่องการมีส่วนได้ เสี ยมีเจตนารมณ์ เพือ่ ให้ สท. หรือ คทม.
ปฏิบัตหิ น้ าทีโ่ ดยสุ จริตและเทีย่ งธรรม ไม่ เข้ าไปหาประโยชน์ และ
รักษาประโยชน์ เทศบาล อันเป็ นประโยชน์ สาธารณะอย่ างเต็มที่
 การพิจารณาว่ ามีส่วนได้ เสี ยหรือไม่
 ได้ รับประโยชน์ โดยตรงหรือไม่
 มีความสั มพันธ์ กบั คู่สัญญาของเทศบาลในลักษณะทีจ่ ะส่ งผลดีหรือ
ผลเสี ยต่ อตนในอ้อมหรือไม่ (เชิงบริหาร เชิงทุน ระหว่ างบุคคล)
(คาพิพากษาศาลปกครองเชียงใหม่ คดีหมายเลขแดงที่ ๒๐/๒๕๔๗)
 สมาชิกสภาเทศบาลมีบุตรเป็ นผู้ถอื หุ้น ๑๐% ในห้ างฯ ซึ่งเป็ น
คู่สัญญากับเทศบาล
(คาพิพากษาศาลปกครองขอนแก่ น คดีหมายเลขแดงที่ ๗๑/๒๕๔๗)
 สมาชิก อบต. เข้ าไปควบคุมดูแลโครงการของ อบต. ทุกโครงการที่
มีบุตรของตนเป็ นคู่สัญญา ทั้งทีไ่ ม่ ได้ มีหน้ าทีเ่ กีย่ วข้ อง
(คาพิพากษาศาลปกครองระยอง คดีหมายเลขแดงที่ ๒๒/๒๕๔๗)
●กรณีมสี ่ วนได้ เสี ยทางตรง
 สท. ยืน
่ ซองสอบราคาแทน หจก. ทีม่ ีพชี่ ายเป็ น ผจก. และการ
แสดงตัวเป็ นผู้แทน หจก. เข้ าเจรจาเพือ่ ยุตขิ ้ อพิพาทกับเทศบาล
(คาพิพากษาศาลปกครองเชียงใหม่ คดีหมายเลขแดงที่ ๘๘/๒๕๔๗)
●กรณีไม่ ถือว่ าเป็ นผู้มสี ่ วนได้ เสี ย
 สมาชิกสภาเทศบาลดารงตาแหน่ งประธานกลุ่มองค์ กรสตรีของ
เทศบาลและได้ รับเงินอุดหนุนจากเทศบาลไปดาเนินงานต่ าง ๆ
(คาพิพากษาศาลปกครองขอนแก่ น คดีหมายเลขแดงที่ ๑๒๗/๒๕๔๗)
 สมาชิกสภา อบต. ในนามของกลุ่มอาชีพหรือกลุ่มเกษตรกรทา
สั ญญากู้เงินกับ อบต.
(คาพิพากษาศาลปกครองกลาง คดีหมายเลขแดงที่ ๖๑๒/๒๕๔๖)
คดี ทต. วังสะพุง ....
■ บริษัทประทีปธรรม จากัด
คาพิพากษาศาลปกครองสู งสุ ด คดีหมายเลขแดงที่ อ.๗๖/๒๕๔๗
๑๐,๐๐๐ หุ้น
 พีช่ าย สท.
๔,๐๐๐ หุ้น
 น้ องชาย สท .
๔,๐๐๐ หุ้น
 อดีตภรรยา สท.
๘๐๐ หุ้น
 ลูกสาว สท. ๒ คน ๆ ละ ๔๐๐ หุ้น รวม ๑,๐๐๐ หุ้น (บรรลุนิตภิ าวะแล้ ว)
 บุคคลภายนอก
๒๐๐ หุ้น
■ เทศบาลทาสั ญญาจ้ าง บ.ประทีปธรรมฯ ก่อสร้ างถนน ผู้ฟ้องคดีร้องขอให้
ผวจ.วินิจััยว่ า สท. มีส่วนได้ ในสั ญญาไม่ ว่าทางตรงหรือทางอ้อมกับ ทต.
■ ผวจ. วินิจััยว่ า สท. มิใช่ เป็ นผู้มีส่วนได้ เสี ยฯ
■ อัยการ และ สคก. วินิจััยว่ า กรณีไม่ พอฟังว่ า สท. เป็ นผู้มีส่วนได้ เสี ย
■ จึงนาคดีมาฟ้องขอให้ ศาลปกครองมีคาสั่ งเพิกถอนคาวินิจััยของ ผวจ.
■ ศาลปกครองสู งสุ ด มีประเด็นต้ องวินิจััยว่ า คาสั่ งของ ผวจ. ที่
วินิจััยว่ า สท. ไม่ เป็ นผู้มีส่วนได้ เสี ยฯ เป็ นคาสั่ งที่ชอบด้ วยกฎหมาย
หรือไม่
 กรณีไม่ ปรากฏว่ า สท. มีความสั มพันธ์ ใด ๆ กับบริษัท
 แม้ บุตรถือหุ้น แต่ รวมกันก็เพียง ๑๐% และไม่ มีอานาจบริหารจัดการหรือ
กระทาการใด ๆ ผูกพันบริษัท
 บุตรบรรลุนิติภาวะ แม้ มาตรา ๑๕๖๓ ปพพ. กาหนดให้ บุตรต้ องอุปการะ
เลีย้ งดูบิดามารดา แต่ ย่อมต้ องขึน้ อยู่กบั ข้ อเท็จจริงในแต่ ละกรณีว่า ฐานะ
ของบิดามารดา และบุตรเป็ นเช่ นใด รวมทั้งบุตรอยู่ในสภาพพร้ อมที่จะให้
การอุปการะได้ และบิดามารดาจาเป็ นต้ องได้ รับการอุปการะจากบุตร
หรือไม่
 สท. ประกอบอาชีพค้ าขาย เป็ นโสด ไม่ ได้ อาศัยอยู่บ้านเดียวกับบุตร และ
ข้ อเท็จจริงบุตรไม่ ได้ อปุ การะบิดา
 เพราะ สท.อาจตายก่อนก่อนบุตร หรือบุตรอาจทาพินัยกรรมให้ ผู้อนื่ ก็ได้
 แม้ สท. จะมีฐานะเป็ นทายาทโดยธรรมของบุตร มีสิทธิได้ รับมรดกของ
บุตร แต่ สิทธิจะเกิดต่ อเมื่อบุตรตายก่อน สท. จึงเป็ นเรื่องไม่ แน่ นอน
 ไม่ ปรากฏ สท.ได้ เข้ าไปเกีย่ วข้ องหรือมีผลประโยชน์ ใด ๆ กับบริษัท
 จึงไม่ อาจถือได้ ว่า สท. ได้ รับประโยชน์ ในสั ญญาทีบ่ ริษัททากับ ทต.
 ประกอบกับ สท. ไม่ ได้ ดารงตาแหน่ ง นทม. หรือเทศมนตรี ซึ่งเป็ นผู้ควบคุมและมี
หน้ าทีร่ ับผิดชอบการบริหารงาน ทต. ทีจ่ ะมีอานาจในการสั่ งจ้ างและทาสั ญญา
 และมูลเหตุทผี่ ้ ฟู ้ องคดีร้องเรียนก็เนื่องจากเห็นป้ ายแสดงรายละเอียดโครงการมีชื่อ
บริษัทเป็ นคู่สัญญาเท่ านั้น โดยไม่ มหี ลักฐานอืน่ ทีแ่ สดงว่ า สท. เข้ าไปเกีย่ วข้ องใน
สั ญญาฯ
 กรณีพฤติการณ์ จึงถือไม่ ได้ ว่า สท. เป็ นผู้มสี ่ วนได้ เสี ยไม่ ว่าทางตรงหรือทางอ้ อมใน
สั ญญาที่ ทต. เป็ นคู่สัญญากับบริษัท อันจะเป็ นเหตุทาให้ สมาชิกภาพของ สท.
สิ้นสุ ดลง
■ ดังนั้น คาสั่ งของ ผวจ. ที่วินิจััยว่ า สท. ไม่ เป็ นผู้มีส่วนได้ เสี ยฯ จึงเป็ นคาสั่ ง
ที่ชอบด้ วยกฎหมาย
ั
ข้อสงเกต
• การวินิจััยพิจารณาจาก ๔ ส่ วนคือ
1) ด้ านคู่สัญญา พิจารณาความมีส่วนได้ เสี ยกับผู้ถือหุ้น และบริษัท
2) ด้ านผู้ดารงตาแหน่ ง ไม่ ได้ รับประโยชน์ ในสั ญญาทีบ่ ริษัททากับ ทต.
3) ด้ าน ทต. คือ ไม่ ได้ เป็ นผู้บริหาร ทต.
4) ด้ านผู้ร้องเรียน คือ ไม่ มีหลักฐานอืน่ ใดทีส่ นับสนุนข้ อร้ องเรียน
คดี ทต. สี่ ควิ้ ....
คาพิพากษาศาลปกครองสู งสุ ด คดีหมายเลขแดงที่ อ.๑๑/๒๕๔๘
■ การสอบราคาจ้าง
■ การเลือกตงเป
ั้ ็ น สท.
 ๘ ตค. ๔๒ ประกาศให้ เลือกตั้ง สท.
 ๑๑ ตค. ๔๒ ยืน่ ใบสมัครรับเลือกตั้ง
 ๒ พย. ๔๒ ทต.ประกาศสอบราคา
 ๑๗ พย. ๔๒ ยืน่ ซอง
 ๑๘ พย. ๔๒ คกก. เปิ ดซองเสนอผล
ว่ า ผู้ฟ้องคดีเสนอราคาต่าทีส่ ุ ด นายก
ฯ อนุมตั ติ ามความเห็น คกก.
๑ ธค. ๔๒ ในฐานะ ผจก. ลงนามทา
สัญญารับจ้ างก่อสร้ าง
 ๒๑ พย. ๔๒ วันเลือกตั้ง
 ๒๒ พย. ๔๒ ประกาศผลการเลือกตั้ง
 ๓๐ พย. ๔๒ ลงนามรับเงินค่ าป่ วยการ
เริ่มตั้งแต่ ๒๑ พย. ๔๒
 ๑ ธค. ๔๒ เข้ าร่ วมประชุม สท.
ปฏิญาณตนก่อนเข้ ารับตาแหน่ ง สท.
■ ผวจ./รมว.มท. เห็นว่ า ผู้ฟ้องคดีลงนามเป็ นคู่สัญญากับ ทต.
ในขณะดารงตาแหน่ ง สท. เป็ นการฝ่ าฝื น ม. ๑๘ ทวิ จึงมีคาสั่ ง
ให้ พ้นจาก สท. ผู้ฟ้องคดีเห็นว่ าคาสั่ งฯไม่ ชอบ เนื่องจากการลง
นามฯกระทาขณะตนยังไม่ มีสมาชิกภาพเป็ น สท. เพราะยังไม่ ได้
ปฏิญาณตนเพือ่ เข้ ารับตาแหน่ ง
■ ศาลปกครองสู งสุ ด เห็นว่ า
 สมาชิกภาพเริ่มต้ นเมื่อใด :
กฎหมายไม่ ได้ กาหนดวันเริ่มต้ นสมาชิกภาพของ สท. ไว้
ม. ๔๘ สั ตต การเริ่มต้ นสมาชิกภาพของนายกฯ ให้ เริ่มนับแต่ วนั เลือกตั้ง
ม. ๑๑๗ (รัฐธรรมนูญ) ให้ สมาชิกภาพของ สส. เริ่มตั้งแต่ วนั เลือกตั้ง
ม. ๑๓๒ (รัฐธรรมนูญ) ให้ สมาชิกภาพของ สว. เริ่มตั้งแต่ วนั เลือกตั้ง
สามารถนาเจตนารมณ์ ของบทบัญญัติข้างต้ นมาอนุโลมใช้ กบั ม. ๑๕
แห่ ง พ.ร.บ. เทศบาลฯ ทีก่ าหนดให้ สภาเทศบาลประกอบด้ วย สท. ซึ่ง
เลือกตั้งโดยราษฎรผู้มีสิทธิเลือกตั้งตามกฎหมายฯ
ดังนั้น สมาชิกภาพของผู้ฟ้องคดี (สท.) จึงเกิดขึน้ จากการที่ได้ รับ
เลือกตั้งจากราษฎร จึงเริ่มนับตั้งแต่ วนั เลือกตั้ง คือ ๒๑ พย. ๔๒ เป็ นต้ น
ไป
ที่กล่าวอ้างว่ า เริ่มนับแต่ ได้ ปฏิญาณตนตาม ม. ๑๗ ประกอบ ข้ อ ๒๑
ฟังไม่ ขนึ้ และยังปรากฏว่ า ผู้ฟ้องคดีได้ รับเงินค่ าป่ วยการสาหรับ
ตาแหน่ ง สท. ตั้งแต่ ๒๑ พย. ๔๒
 คาสั่ งให้ พ้นจากสมาชิกภาพฯ ชอบด้ วยกฎหมายหรือไม่ :
 ระหว่ างดารงตาแหน่ ง สท. ห้ ามเข้ าไปมีส่วนได้ เสี ยไม่ ว่าทางตรงหรือ
ทางอ้อมในสั ญญากับเทศบาลตาม ม. ๑๘ ทวิ
 การทีผ่ ้ ฟู ้ องคดีลงนามเป็ นผู้รับจ้ างในโครงการก่ อสร้ างถนนฯ กับเทศบาลสี่
คิว้ จึงถือได้ ว่า เข้ าไปเป็ นผู้มสี ่ วนได้ เสี ยไม่ ว่าทางตรงหรือทางอ้ อมในสั ญญา
ทีเ่ ทศบาลสี่ ควิ้ เป็ นคู่สัญญา ทาให้ สมาชิกภาพของ สท. ของผู้ฟ้องคดีสิ้นสุ ด
ลงตาม ม. ๑๙ (๖)
 เมือ่ ผวจ.ในฐานะผู้ควบคุมดูแลเทศบาลได้ รับหนังสื อร้ องเรียนจากราษฎรให้
ตรวจสอบ ผวจ.มีหน้ าที่ต้องดาเนินการสอบสวนและวินิจััยตาม ม. ๑๙
วรรคสอง และ ม. ๗๑ และ รมว.มท. มีหน้ าทีใ่ นการวินิจััยอุทธรณ์ ตาม ม.
๔๕ วรรค ๒,๓ วิปฏิบัติ ตรวจสอบแล้ วพบว่ า ผู้ฟ้องคดีมสี ่ วนได้ เสี ยฯ จึงมี
คาวินิจััยให้ พ้นจากสมาชิกภาพฯ ตาม ม. ๑๙(๖) จึงเป็ นไปโดยชอบฯ
 ทีศ่ าลปกครองชั้นต้ นพิพากษายกฟ้องนั้น ชอบแล้ว
ประเด็นปัญหาการมีส่วนได้ เสี ย
 การมีส่วนได้ เสี ย
 มีส่วนได้ เสี ยก่ อนวันที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๔๖
 มีส่วนได้ เสี ยตั้งแต่ วนั ที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๔๖ เป็ นต้ นมา
 หากการมีส่วนได้ เสี ยเกิดก่ อน ๒๒ ธันวาคม ๒๕๔๖ ต่ อมา
ลาออก และมีการร้ องเรียนว่ า มีส่วนได้ เสี ยในภายหลัง ๒๒
ธันวาคม ๒๕๔๖ ยังต้ องวินิจััย ว่ า “เป็ นผู้มสี ่ วนได้ เสี ย” อีก
หรือไม่
คาพิพากษาศาลปกครองสู งสุ ด คดีหมายเลขแดงที่ อ.๔๖/๒๕๔๖
ผู้ฟ้องคดีร้องต่ อ ผวจ. ว่ า คทม. มีส่วนได้ เสี ย ดังนี้ ให้ สอบสวนและวินิจััย
■ นทม. ขายครุ ภัณฑ์ ยานพาหนะ รถจักรยานยนต์ และรับจ้ างตรวจสภารถให้ เทศบาล
■ เทศมนตรี ส. รับจ้ างพิมพ์จดหมายข่ าวของเทศบาล
■ เทศมนตรี ช. ขายวัสดุไฟฟ้า และคอมพิวเตอร์
■ เทศมนตรี ว. ขายวัสดุยานพาหนะ
■ รองประธานสภาฯ ขายอาหาร เครื่องดืม่ และวัสดุพธิ ีสงฆ์
ผวจ. พิจารณา ๒ ปี เศษ หารือ ปค. หารือ สคก. ก็ยงั ไม่ วนิ ิจััย ผู้ฟ้องคดีจึงนา
คดีมาฟ้องต่ อศาลปกครอง
ศาลปกครองชั้นต้ นมีคาพิพากษาว่ า ผวจ. ละเลยต่ อหน้ าทีห่ รือปฏิบัติหน้ าที่
ล่าช้ าเกินสมควร ให้ สอบสวนและวินิจััยให้ แล้วเสร็จภายใน ๒๐ วัน
คาสั่ งศาลปกครองสู งสุ ดที่ ๔๗/๒๕๔๗
ผู้ฟ้องคดีร้องต่ อ ผวจ. ว่ า คทม. และ สท. มีส่วนได้ เสี ยกับเทศบาล ผวจ.
ไม่ พจิ ารณาภายในเวลาอันสมควร ผู้ฟ้องคดีจึงนาคดีมาฟ้องต่ อศาลปกครอง
ศาลปกครองชั้นต้ นมีคาพิพากษาว่ า ผวจ. ละเลยต่ อหน้ าที่ ให้ ผวจ. สอบสวนและวินิจััย
สิ้นสุ ดสมาชิกภาพหรือไม่ ให้ แล้ วเสร็จภายใน ๓๐ วัน ยังไม่ ทนั ที่ ผวจ. จะวินิจััย คทม.
และ สท. ได้ ลาออกจากตาแหน่ งทั้งหมด ผวจ. จึงยุตกิ ารสอบสวน
 ผู้ฟ้องคดีจึงร้ องขอต่ อศาล ขอให้ สั่งให้ ผวจ. สอบสวนและวินิจััย เพราะหากวินิจััยว่ า
พ้นจากตาแหน่ งเพราะมีส่วนได้ เสี ยจะทาให้ เสี ยสิ ทธิสมัครฯ ๕ ปี
ศาลปกครองสู งสุ ดสุ ดวินิจััยว่ า แม้ ลาออกภายหลังศาลปกครองชั้นต้ นมี
คาพิพากษาก็ตาม แต่ กม็ ผี ลให้ สมาชิกภาพสิ้นสุ ดลง ทาให้ เหตุแห่ งการบังคับคดีสิ้นสุ ดลง
เช่ นกัน
เหตุผลทีว่ ่ า หากไม่ วนิ ิจััยจะทาให้ สมัครรับเลือกตั้งได้ อกี และจะเป็ นช่ องทางในการทุจริต
เห็นว่ า แม้ จะมีการปฏิบัตติ ามคาพิพากษาของศาลปกครองชั้นต้ น ก็ไม่ เป็ นเหตุต้องห้ ามมิ
ให้ ใช้ สิทธิสมัครรับเลือกตั้งในคราวต่ อไป เรื่องจะเป็ นช่ องทางทุจริตหรือไม่ เป็ นเรื่องใน
อนาคต หากกระทาเช่ นนั้น คดีกไ็ ม่ อยู่ในอานาจของศาลปกครอง จึงให้ ยกคาร้ อง
คาสั่ งศาลปกครองสู งสุ ดที่ ๔๗/๒๕๔๗
แนวคาวินิจััยสรุปได้ ว่า
 หากมีส่วนได้ เสี ยก่ อน ๒๒ ธันวาคม ๒๕๔๖ และพ้ นตาแหน่ งไปก่ อน
มีคาวินิจััย ไม่ ว่าด้ วยหมดวาระหรือลาออกก็ตาม ก็ไม่ ต้องสอบสวน
และมีคาวินิจััยอีก .................. พ.ร.บ. ับับแก้ ไขฯ ไม่ มีผลใช้ บังคับ
ย้ อนหลังไปถึงการกระทาที่เกิดขึน้ ก่ อนกฎหมายใช้ บังคับ
 ข้ อสั งเกต.- หากมีส่วนได้ เสี ยตั้งแต่ วน
ั ที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๔๖
เป็ นต้ นมา แม้ ต่อมาจะพ้นจากตาแหน่ ง ไม่ ว่าด้ วยหมดวาระหรือ
ลาออกก็ตามก็จะต้ องดาเนินการสอบสวนและวินิจััย โดยถือว่ าพ้น
จากตาแหน่ งย้ อนหลังไปถึงวันที่มีส่วนได้ เสี ย เว้ นแต่ เป็ นเหตุทเี่ กิดขึน้
เกินกว่ า ๕ ปี
ผวจ. วินิจััยให้ พ้นเนื่องจากบวชเป็ นภิกษุ
สมาชิกสภา อบจ. ลาบวช ผวจ. สั่ งให้ พ้นจากตาแหน่ งเนื่องจากมีลักษณะ
ต้ องห้ าม
 การนาระเบียบว่ าด้ วยการลาของข้ าราชการฯมาใช้ บังคับโดยอนุโลม คือ การ
ลาดังกล่าวต้ องไม่ ขัดกับกฎหมายหรือระเบียบว่ าด้ วยการลาของสมาชิ กสภา
ท้ องถิ่น ไม่ เช่ นนั้นจะทาให้ ระเบียบอืน่ ทีม่ ีผลใช้ บังคับโดยอนุโลมมายกเว้ น
ระเบียบหรือกฎหมายที่ใช้ บังคับโดยตรง เมื่อกฎหมายกาหนดให้ การ
อุปสมบทเป็ นพระภิกษุเป็ นลักษณะต้ องห้ าม ทาให้ สมาชิกภาพสิ้นสุ ดลง
ระเบียบว่ าด้ วยการลาของข้ าราชการฯดังกล่าวจึงไม่ อาจนามาใช้ บังคับได้
 แม้ จะได้ รับอนุญาตให้ ลาโดยถูกต้ องจากประธานสภา อบจ. ก็ไม่ อาจฟังได้ ว่า
การทีผ่ ู้ฟ้องคดีบวชเป็ นภิกษุแล้ว จะทาให้ ไม่ เป็ นลักษณะต้ องห้ าม คาสั่ งของ
ผวจ. ทีใ่ ห้ พ้นจากตาแหน่ งเพราะบวชเป็ นภิกษุระหว่ างดารงตาแหน่ งสมาชิก
สภา อบจ. ซึ่งเป็ นคาสั่ งทางปกครองจึงชอบด้ วยกฎหมาย

(คาพิพากษาศาลปกครองกลาง คดีหมายเลขแดงที่ ๒๘๘/๒๕๔๕)
การใช้ อานาจกากับดูแล
คดี ทต.วังน้าเย็น

คณะเทศมนตรีไม่ เสนอข้ อบัญญัตงิ บประมาณรายจ่ ายประจาปี
โดยไม่ เหตุอนั สมควร นายอาเภอสอบสวนและเสนอผู้ว่าฯสั่ งให้ พ้น
จากตาแหน่ ง การสอบสวนแจ้ งข้ อกล่ าวหา และให้ โอกาสโต้ แย้ งชี้แจง
แสดงพยานหลักฐานแล้ ว แต่ สละสิ ทธิดงั กล่ าวเสี ยเองจึงดาเนินการ
ตามขั้นตอนทีก่ ฎหมายกาหนดแล้ ว คาสั่ งของผู้ว่าฯ
ที่ให้ นายกเทศมนตรีพ้นจากตาแหน่ งจึงชอบด้ วยกฎหมาย
(คาพิพากษาศาลปกครองกลาง คดีหมายเลขแดงที่ ๘๓๒/๒๕๔๗)
 ข้ อสั งเกต ประเด็นว่ า ยังไม่ ได้ ใช้ สิทธิโต้ แย้ ง
การพ้นจากตาแหน่ งเนื่องจากสภาท้ องถิ่น
มีมติให้ พ้นจากตาแหน่ ง
มติสภาท้ องถิน่ ฟ้องต่ อศาลปกครองได้ หรือไม่ ?
●ถูกสภามีมติให้ พ้นจากตาแหน่ งฟ้ องศาลปกครองได้ หรือไม่
 การกระทาและความสั มพันธ์ ระหว่ างสภา อบต. และผู้บริหาร
อบต. ต่ างจากการกระทาและความสั มพันธ์ ระหว่ างฝ่ ายนิติ
บัญญัตแิ ละฝ่ ายบริหารตามรัฐธรรมนูญซึ่งเป็ นการใช้ อานาจ
อธิปไตยของรัฐ
 แต่ การใช้ อานาจของสภาท้ องถิน่ กับผู้บริหารท้ องถิน่ เป็ นส่ วน
หนึ่งของการใช้ อานาจทางบริหารโดยมีนายอาเภอและผู้ว่า
ราชการจังหวัดเป็ นผู้ใช้ อานาจกากับดูแล
 ศาลปกครองจึงมีอานาจตรวจสอบความชอบด้ วยกฎหมายของ
การกระทาของ อบต. ได้ ไม่ ว่าเป็ นเรื่องความชอบด้ วยกฎหมาย
ของข้ อบัญญัติท้องถิน่ การใช้ อานาจหน้ าทีห่ รือการกระทาใน
ความสั มพันธ์ ระหว่ างสภา อบต. กับผู้บริหาร อบต.
(คาสั่ งศาลปกครองสู งสุ ด (ป) ที่ ๑๖๑/๒๕๔๖ อบต. ปากช่ อง)
การพ้นจากตาแหน่ งเนื่องจากสภาท้ องถิ่น
มีมติให้ พ้นจากตาแหน่ ง
เทศบาล
ม. ๑๙ (๗)
อบต.
ม. ๔๗ ตรี (๘)
อบจ.
ม. ๑๑ (๗)
• มีความประพฤติในทางทีจ่ ะ
นามาซึ่งความเสื่ อมเสี ย
• ไม่ ได้ กาหนดเรื่องการ
อุทธรณ์ ไว้
• ก่อความไม่ สงบเรียบร้ อยแก่
เทศบาล/อบต./อบจ.
• ไม่ พอใจ อุทธรณ์ ต่อ
นายอาเภอภายใน ๑๕ วัน
• นายอาเภอวินิจััยภายใน
๓๐ วัน
• ถ้ าไม่ ได้ อุทธรณ์
ให้ พ้นเมือ่ ครบระยะเวลา
อุทธรณ์
• กระทาการอันเสื่ อมเสี ยประโยชน์
ของสภาท้ องถิ่น
• สมาชิก ๑/๓ เข้ าชื่อ
มติไม่ น้อยกว่ า ๓/๔
• เทศบาล/อบจ. พ้นเมือ่ สภามีมติ
• ไม่ ได้ กาหนดเรื่องการ
อุทธรณ์ ไว้
ขั้นตอนการยืน่ ญัตติให้ สมาชิกสภา อบต. พ้นจากตาแหน่ ง
1. การยืน่ ญัตติต้องยืน่ เป็ นหนังสื อล่ วงหน้ าก่ อนเวลาประชุมไม่ น้อยกว่ า
๗ วัน
2. สมาชิกลงชื่อไม่ น้อยกว่ า ๑/๓
3. ประธานแจ้ งให้ สมาชิกทีถ่ ูกยืน่ มติเป็ นหนังสื อล่วงหน้ าตามสมควร
ก่ อนวันประชุม เพือ่ เตรียมหลักฐานชี้แจงแก้ ข้อกล่ าวหา แต่ ต้องไม่
น้ อยกว่ า ๔๘ ชม. ก่ อนกาหนดเวลาประชุม
4. หากมีเหตุพ้นวิสัยให้ บันทึกเหตุผลไว้ เป็ นหนังสื อ และนาแจ้ งที่
ประชุมทราบ
5. การอภิปรายต้ องปฏิบัตติ ามข้ อบังคับการประชุม
6. การใช้ ดุลพินิจในการลงมติ
คดี อบต. นาราชควาย (ร้องเรี ยนต่อ นอ.)
• ผวจ. ให้ นอ. ตรวจสอบข้ อเท็จจริง
• สภา อบต. มีมติให้ พ้นสมาชิกภาพเนื่องจากมีพฤติกรรมในทางที่จะ
นามาซึ่งความเสื่ อมเสี ย/ก่ อความไม่ สงบ
• นอ. เห็นว่ า อบต. ดาเนินการตามขั้นตอนที่กฎหมายกาหนด และ
ผู้ฟ้องคดีไม่ ตรวจสอบการทางานของผู้บริหารทางสภา จึงมีเหตุผล
เพียงพอ และ ผวจ.เห็นชอบ และแจ้ งให้ ผู้ฟ้องคดีทราบ
• ผู้ฟ้องคดีขอให้ ผวจ. ทบทวนการพิจารณาอีกครั้ง
• ผวจ. แจ้ งว่ า เป็ นการขอให้ พจิ ารณาในเรื่องเดียวกัน ไม่ อาจพิจารณาได้
อีก หากไม่ พอใจให้ นาคดีไปฟ้องต่ อศาลได้
• ผู้ฟ้องคดีจึงนาคดีมาฟ้องต่ อศาลปกครอง
คาพิพากษาศาลปกครองกลาง คดีหมายเลขแดงที่ /๒๕๔๗
• ประเด็นพิจารณาว่ า สภา อบต. ประชุ มและลงมติให้ ผู้ฟ้องคดีพ้นจากตาแหน่ ง
เป็ นการกระทาที่ชอบด้ วยกฎหมายหรือไม่ ? และการวินิจััยอุทธรณ์ ของ ผวจ.
ให้ ยกอุทธรณ์ ชอบด้ วยกฎหมายหรือไม่ ?
– เห็นว่ า การยืน่ ญัตติมีเงื่อนไข ดังนี้
• การยืน่ ญัตติต้องยืน่ เป็ นหนังสื อล่ วงหน้ าก่ อนเวลาประชุ มไม่ น้อยกว่ า ๗ วัน
• สมาชิกลงชื่อไม่ น้อยกว่ า ๑/๓
• ประธานแจ้ งให้ สมาชิกทีถ่ ูกยืน่ มติเป็ นหนังสื อล่ วงหน้ าตามสมควรก่ อนวันประชุ ม
เพือ่ เตรียมหลักฐานชี้แจงแก้ข้อกล่ าวหา แต่ ต้องไม่ น้อยกว่ า ๔๘ ชม. ก่ อน
กาหนดเวลาประชุ ม
• หากมีเหตุพ้นวิสัยให้ บันทึกเหตุผลไว้ เป็ นหนังสื อ และนาแจ้ งทีป่ ระชุ มทราบ
การประชุ มได้ ดาเนินการตามข้ อบังคับ
• คัดค้ านว่ าไม่ ได้ ส่งหนังสือแจ้ งการยืน่ ญัตติวินิจฉัยคณ
ุ สมบัติ ทาให้ ไม่ มีโอกาส
เตรียมพยานหลักฐานแก้ข้อกล่ าวหา
• การประชุม ประธานให้ ผ้ ฟู ้ องคดีชี้แจงก่ อน
• ข้ อเท็จจริงฟังได้ ว่า ไม่ ได้ ส่งหนังสื อแจ้ งการยืน
่ ญัตติวนิ ิจััยคุณสมบัติ
ทาให้ ไม่ มีโอกาสเตรียมพยานหลักฐานแก้ข้อกล่าวหา จึงไม่ เป็ นไปตาม
ขั้นตอนตามข้ อบังคับ ข้ อ ๔๔ อันเป็ นขั้นตอนทีถ่ ือว่ าเป็ นสาระสาคัญ
และไม่ ให้ สิทธิผู้ฟ้องคดีมีโอกาสโต้ แย้ งข้ อกล่าวหาได้ อย่ างเต็มที่
• ประเด็นดาเนินการอภิปรายโดยไม่ ถูกต้ องตามข้ อบังคับ ตามข้ อ ๕๓ ให้ ผ้ เู สนอ
ญัตติอภิปรายก่ อน และให้ ผ้ คู ดั ค้ านอภิปราย แล้ วอภิปรายสลับกัน
• กรณีนี้ จึงต้ องให้ ผ้ ยู นื่ ญัตติอภิปรายก่ อน แล้ วตามด้ วยผู้คดั ค้ านสลับกันไป
• จึงไม่ อาจถือได้ ว่าเป็ นการประชุมทีช่ อบด้ วยกฎหมาย
การทีส่ ภามีมติให้ ผู้ฟ้องคดีพ้นจากตาแหน่ งเป็ นการใช้ ดุลพินิจชอบหรือไม่
• สมาชิกเป็ นผู้แทนราษฎรในการควบคุมการทางานของฝ่ ายบริหารและเป็ นสมาชิก
สภาด้ วย และมีสิทธิร้องขอ นอ. ผู้กากับดูแลสอบสวนและวินิจััยในกรณีสงสั ยว่ า
สมาชิกสภาขาดคุณสมบัตหิ รือมีลกั ษณะต้ องห้ าม ดังนั้น การร้ องขอให้ นอ.
สอบสวนและวินิจััยเป็ นการปฏิบัติหน้ าที่ภายในกรอบกฎหมายกระทาได้ หาก
กระทาโดยสุ จริต
• พิจารณาเห็นว่ าการร้ องเรียนของผู้ฟ้องคดีต่อ นอ. ไม่ ปรากฏว่ ามีเจตนาไม่ สุจริต
มุ่งก่ อให้ เกิดความเสี ยหายแก่ อบต. จึงฟังได้ ว่า ผู้ฟ้องคดีใช้ สิทธิร้องเรียนต่ อ นอ.
ในฐานะสมาชิกสภา กรณีสงสั ยว่ าผู้บริหารส่ อทุจริต ขอให้ ต้งั คณะกรรมการ
สอบสวน ยังไม่ อาจถือว่ ามีพฤติกรรมเสื่ อมเสี ยฯ การทีส่ ภามีมติให้ พ้นจาก
ตาแหน่ ง จึงเป็ นการใช้ ดุลพินิจโดยไม่ ชอบด้ วยกฎหมาย
• โดยสรุป การทีส่ ภามีมติให้ ผู้ฟ้องคดีพ้นจากตาแหน่ งจึงเป็ นการกระทาที่
ไม่ ชอบด้ วยกฎหมาย เมื่อมติไม่ ชอบ การที่ ผวจ.ยกอุทธรณ์ จึงเป็ นการกระทาที่
ไม่ ชอบด้ วยกฎหมาย จึงให้ เพิกถอนมติสภาและคาวินิจััยของ ผวจ.
• ข้ อสั งเกต.– ส่ งหนังสื อแจ้ งการยืน่ ญัตติ ทาให้ ไม่ มีโอกาสเตรียมพยานหลักฐานแก้ไขข้ อกล่ าวหา
– การอภิปราย ต้ องให้ ผ้ เู สนอญัตติอภิปรายก่ อน
– การใช้ ดุลพินิจโดยชอบด้ วยกฎหมาย
อบต. หนองกระทิง
● ผู้ฟ้องคดีเป็ น ส.อบต. เคยถูกสภา อบต.ลงมติ ๓/๔ ให้ พ้นจากตาแหน่ งมาครั้ง
หนึ่งแล้ว และได้ อุทธรณ์ ต่อ ผวจ. ๆ วินิจััยว่ า การเรียกประชุ มสภาฯ
ไม่ ชอบฯเนื่องจาก นอ. ไม่ ได้ อนุญาตให้ เปิ ดประชุมวิสามัญ ทาให้ การลงมติ
ไม่ ชอบฯ ผู้ฟ้องคดีจึงกลับมาดารงตาแหน่ งใหม่
● ต่ อมาสภาฯขออนุมัติเปิ ดวิสามัญฯ สมาชิกไม่ น้อยกว่ า ๑/๓ เสนอญัตติเพือ่ ลง
มติให้ ผู้ฟ้องคดีพ้นจากตาแหน่ งข้ อหาเดียวกับทีเ่ คยยืน่ ญัตติมาแล้ว (ความ
ประพฤตินามาซึ่งความเสื่ อมเสี ยฯ ชอบร้ องเรียน ทาการวัดขนาดงานก่อสร้ าง
ยามวิกาล ใช้ ถ้อยคาในการประชุ มไม่ เหมาะสม) สภาฯมีมติเกิน ๓/๔ ให้ ผ้ ฟู ้ อง
คดีพ้นจากตาแหน่ ง ผู้ฟ้องคดียนื่ อุทธรณ์ ต่อ ผวจ.ว่ า มติสภาฯไม่ ชอบเพราะ





ยืน่ ข้ อหาซ้าซ้ อน
(คาพิพากษาศาลปกครองกลาง คดีหมายเลขแดงที่ ๑๔๖๕/๒๕๔๖)
สภาลงมติโดยไม่ มีการสอบสวน กล่าวหาเลือ่ นลอย
การขออนุญาตเปิ ดวิสามัญต่ อ นอ. ไม่ ได้ ระบุว่าจะลงมติให้ ผ้ ฟู ้ องคดีพ้นจากตาแหน่ ง
ข้ อกล่าวหาว่ าชอบร้ องเรียนไม่ เป็ นความจริง เป็ นการปฏิบัติหน้ าที่ตามปกติ
ข้ อกล่ าวหาใช้ คาพูดไม่ เหมาะสม ไม่ ปรากฏในญัตติชัดเจน
● ผวจ. แจ้ งผลการวินิจััยตามความเห็นอัยการ
 การวินิจััยครั้งก่อนเป็ นเรื่องอานาจการเรียกประชุ ม แต่ ครั้งนีม้ ีประเด็นว่ า
มติสภาฯชอบหรือไม่ ไม่ ซ้าซ้ อนกัน
 การเรียกประชุ มถูกต้ องตามระเบียบ ข้ อบังคับ จึงเป็ นไปโดยชอบด้ วย
กฎหมาย
● ผู้ฟ้องคดีจงึ นาคดีมาฟ้องต่ อศาลปกครอง
● ประเด็นพิจารณา “มติสภาฯ และคาวินิจััยของ ผวจ. ชอบหรือไม่ ”
 ข้ ออ้างว่ าเป็ นการพิจารณาซ้าเรื่องทีเ่ คยพิจารณามาแล้ว ไม่ อาจรั บฟังได้
เพราะครั้งก่อนยังไม่ ได้ วนิ ิจััยในเนือ้ หาสาระของมติ จึงไม่ ต้องห้ ามตาม
“หลักการห้ ามพิจารณาลงโทษซ้าในการกระทาเดียวกัน”
 ข้ ออ้างทีว่ ่ าขอเปิ ดประชุ มโดยไม่ ได้ ระบุเรื่องการลงมติให้ ผู้ฟ้องคดีพ้นจาก
ตาแหน่ ง เห็นว่ า กฎหมายไม่ ได้ กาหนดว่ าการขอเปิ ดวิสามัญต้ องระบุเรื่ องที่
จะพิจารณาไว้ ด้วย ข้ ออ้ างจึงไม่ อาจรั บฟังได้
 ข้ ออ้างทีว่ ่ า การลงมติไม่ ได้ กระทาโดยเปิ ดเผยให้ มีโอกาสโต้ แย้ ง เห็นว่ าข้ อบังคับฯ
ข้ อ ๖๔ สมาชิกมีสิทธิขออภิปรายจนหมดข้ อสงสัย ห้ ามมิให้ รวบรัดอภิปรายเพือ่ ลงมติ
.. การประชุ มสภาในคดีนี้ มีการแจ้ งข้ อกล่ าวหา ผู้ฟ้องคดีสอบถามถึงพยานหลักฐาน
สมาชิกคนหนึ่งตอบว่ า ไม่ ต้องหาพยานหลักฐานใด ๆ ศาลเห็นว่ ามีรายละเอียดการ
อภิปรายสั้น เสี่ยงต่ อการไม่ เคารพต่ อ “หลักการให้ สิทธิโต้ แย้ง”
ตามข้ อ ๖๔ แต่ เมือ่ ประธานถามว่ า “จะมีผ้ ใู ดอภิปรายต่ อหรือไม่ ” ไม่ ปรากฏมีผ้ ขู อ
อภิปรายอีก เท่ ากับผู้ฟ้องคดีไม่ ใช้ สิทธิโต้ แย้ ง/อภิปรายต่ อ ข้ ออ้ างจึงไม่ อาจรับฟังได้
อย่างแจ้ งชัด
 ข้ ออ้างทีโ่ ต้ แย้ งเนือ้ หาของมติ
๑. การร้ องเรียน – วัดขนาดโครงการยามวิกาลเป็ นความประพฤติที่นาความเสื่ อมเสี ย
ประโยชน์ ของ อบต. หรือไม่ เห็นว่ า รับกันว่ าผู้ฟ้องคดีไม่ ได้ เป็ นผู้ร้องเรียน และการวัด
ขนาดโครงการเป็ นความสนใจ เอาใจใส่ ตรวจสอบการทางาน อบต. ไม่ มีลกั ษณะตาม
ข้ อกล่าวหาฯ
๒. การใช้ ถ้อยคาไม่ เหมาะสมในการประชุ ม เห็นว่ า ข้ อบังคับกาหนดเรื่องการรักษา
ระเบียบการประชุ มไว้ ต่างหากจากหลักเกณฑ์ การพ้ นจากตาแหน่ ง จึงไม่ ถือว่ าเป็ นการ
ก่อความไม่ สงบเรียบร้ อยแก่ อบต.
 การทีส่ ภา อบต. มีมติให้ ผ้ ฟู ้ องคดีพ้นจากตาแหน่ งโดยอาศัยข้ อกล่ าวหาดังกล่ าว
จึงเป็ นมติหรือการกระทาที่ไม่ ชอบด้ วยกฎหมาย
 ทีฟ่ ้ องว่ าการวินิจััยอุทธรณ์ ของ ผวจ. ไม่ ชอบฯ เห็นว่ า ในการพิจารณาวินิจฉัย
อทุ ธรณ์ ต้องพิจารณาทุกข้ อที่ยกขึ้นอทุ ธรณ์ รวมทัง้ ประเด็นอื่น ๆ ตามทีม่ ีการพิพาท
กัน ดังนั้น การที่ ผวจ. วินิจฉัยเพียงบางประเด็น ต้ องถือโดยปริยายว่ า ประเด็นอื่นๆ ที่
ไม่ ได้ ระบุไว้ เป็ นการยืนยันผลการวินิจฉัยสั่ งการหรื อมติฯ กรณีจึงถือว่ าเป็ นการยก
อทุ ธรณ์ และยืนยันตามมติสภาฯ จึงเป็ นการวินิจฉัยอทุ ธรณ์ ทไี่ ม่ ชอบด้ วยกฎหมาย
เช่ นกัน
 พิพากษาให้ เพิกถอนมติสภา อบต. และคาวินิจฉัยของ ผวจ.
● สรุป...
 สภา อบต. / ผวจ. มีอานาจในการพิจารณาวินิจััย
 กระบวนการขั้นตอนถูกต้ อง
 การใช้ ดุลพินิจไม่ เหมาะสม จึงไม่ ชอบด้ วยกฎหมาย
 ผลคือ มติสภา อบต. และวินิจฉัยอทุ ธรณ์ ของ ผวจ. ไม่ ชอบด้ วยกฎหมาย
ข้ อสั งเกต
● การอภิปราย “หลักการให้ สิทธิโต้ แย้ ง”
● การวินิจััยอุทธรณ์ ต้ องวินิจััยทุกข้ อทีอ่ ุทธรณ์ รวมทั้งประเด็นอืน่
ที่พพิ าทกัน การไม่ พจิ ารณาถือว่ ายืนยันตามคาสั่ งเดิม
อบต. เลยวังไสย์
● สภา อบต. ลงมติให้ คณะกรรมการบริหารฯพ้นจากตาแหน่ ง แต่ ระหว่ าง
รักษาการในตาแหน่ งประธานกรรมการบริหารฯ มีการประชุ มวิสามัญและได้
มีการเสนอญัตติทบทวนมติไม่ ไว้ วางใจครั้งก่อน และได้ ลงมติให้
คณะกรรมการบริหารฯพ้นจากตาแหน่ งไม่ น้อยกว่ า ๒/๓ ต่ อมาได้ เปิ ด
ประชุ มวิสามัญเลือกคณะกรรมการบริหารชุ ดใหม่ [ม. ๖๔(๗), ม. ๖๔ ทวิ(๔)]
● ศาลวินิจััยว่ า
1. การประชุ มสภาชอบด้ วยกฎหมายหรือไม่ เห็นว่ า ญัตตินี้ มีความสาคัญต่ อ
สถานภาพการดารงตาแหน่ งฯ รู ปแบบขั้นตอนและระยะเวลาในการเรียกประชุ มจึง
เป็ นสาระสาคัญ ตามข้ อบังคับข้ อ ๔๔ วรรคหนึ่งฯ
1) ยืน่ เป็ นหนังสื อล่ วงหน้ าก่ อนเวลาประชุ มไม่ น้อยกว่ า ๗ วัน
2) มีสมาชิกรับรองไม่ น้อยกว่ า ๑/๓ ของสมาชิกทีอ่ ยู่ในตาแหน่ ง
3) ให้ ประธานสภาฯแจ้ งสมาชิกทีถ่ ูกยืน่ ญัตติเป็ นหนังสื อล่ วงหน้ าตามสมควร ก่ อนวันประชุ ม
เพือ่ เตรียมหลักฐานชี้แจงข้ อกล่ าวหา แต่ ต้องไม่ น้อยกว่ า ๔๘ ชม. ก่ อนเวลาเปิ ดประชุ ม
หากมีเหตุสุดวิสัยไม่ สามารถแจ้ งได้ ให้ บนั ทึกเหตุผลเป็ นหนังสื อ และแจ้ งทีป่ ระชุ มทราบ
(คาพิพากษาศาลปกครองขอนแก่ น คดีหมายเลขแดงที่ ๑๑๓/๒๕๔๗)
ผู้ฟ้องคดีกล่ าวอ้ างว่ า ประธานภาฯเรียกให้ สมาชิกลงชื่อรับรองญัตติก่อนเปิ ด
ประชุ ม ๕-๖ นาที (วันที่ ๑๗) แต่ ประธานสภาฯอ้างว่ าเสนอญัตติโดยมีสมาชิ ก
รับรองตามระเบียบ ตั้งแต่ วนั ที่ ๖ แต่ ไม่ ปรากฏการลงทะเบียนรับหนังสื อตาม
ระเบียบสารบรรณฯ ไม่ มีหลักฐานว่ าประธานสภาฯได้ รับหนังสื อเมือ่ ใด หรื อสั่ งการ
อย่างไร ผิดปกติวิสัยการรับ-ส่ งหนังสือราชการ กรณีจึงเป็ นการยืน่ ญัตติต่อ
ประธานสภาฯล่ วงหน้ าน้ อยกว่ า ๗ วัน ก่ อนเวลาประชุม (วันที่ ๒๐) การเสนอญัตติ
จึงไม่ ชอบด้ วยข้ อ ๔๔ วรรค ๑ และ ๔ ทาให้ การประชุมลงมติซึ่งเป็ นการกระทาทาง
ปกครองไม่ ชอบด้ วยกฎหมาย จึงไม่ ต้องวินิจฉัยว่ า การออกเสียงเพือ่ ลงมติชอบด้ วย
กฎหมายหรือไม่
2. การประชุ มสภาเพือ่ ลงมติทบทวนการลงมติไม่ ไว้ วางใจ มีผลทางกฎหมายอย่ างไร
กรณีไม่ ถือว่ าเป็ นการยืน่ ญัตติขนึ้ ใหม่ ประกอบกับการประชุมไม่ มีการอภิปรายว่ า
คณะกรรมการบริ หารฯกระทาการไม่ ถูกต้ องเหมาะสมอย่ างไร จึงควรลงมติให้ พ้น
จากตาแหน่ ง หากแต่ อภิปรายเพียงว่ า สมควรลงมติใหม่ หรือไม่ การประชุ มลักษณะ
นีจ้ ึงไม่ ถือว่ าเป็ นการประชุ มเพือ่ ลงมติให้ คณะกรรมการบริหารฯพ้ นจากตาแหน่ ง
การประชุมครั้ งหลังจึงไม่ มีผลให้ การกระทาทีไ่ ม่ ชอบด้ วยกฎหมายแล้ ว กลับมีผล
เป็ นการกระทาที่ชอบด้ วยกฎหมายขึ้นอีกไม่
3. พิพากษาให้ เพิกถอนมติสภาฯ
(คาพิพากษาศาลปกครองขอนแก่ น คดีหมายเลขแดงที่ ๑๑๓/๒๕๔๗)
ฟ้องเพิกถอนมติสภาฯ อบต. กันตังใต้
● ฟ้องเพิกถอนมติสภา อบต. ทีใ่ ห้ ผ้ ูฟ้องคดีพ้นจากตาแหน่ ง
ประธานสภาฯ เนื่องจากได้ มีการปิ ดประชุมไปแล้ ว แต่ กลับมีการ
ประชุมต่ ออย่ างลับ ๆ
● อุทธรณ์ ต่อ ผวจ. แล้ ว ผวจ. วินิจััยยืน่ จึงนาคดีมาฟ้ อง ประธาน รอง
ประธานและสมาชิกสภาฯ ทั้งหมด และ ผวจ.
● กรณีเป็ นการดาเนินการตามอานาจหน้ าที่ของสภา อบต. ที่มีมติให้
ผู้ฟ้องคดีพ้นจากตาแหน่ ง มิได้ เป็ นการกระทาโดยสมาชิกสภาในฐานะ
สมาชิกคนใดคนหนึ่งโดยส่ วนตัว จึงไม่ รับคาฟ้องสมาชิกสภา อบต.
ทั้งหมด และเรียกสภา อบต. เข้ ามาเป็ นผู้ถูกฟ้องคดี
(คาสั่ งศาลปกครองสู งสุ ดที่ ๓๐๕/๒๕๔๗)
พฤติการณ์ ในทางที่จะนามาซึ่งความเสี ยหายแก่ อบต. (อบต. เวียงกาหลง)
 ปลัดอาเภอทาบันทึกเสนอ นอ. รายงานผลการสอบสวนข้ อเท็จจริงกรณี
ร้ องเรียนว่ าผู้ฟ้องคดี (ส.อบต.) มีพฤติการณ์ ที่เกีย่ วข้ องกับยาเสพติด และ
เสนอว่ า นอ.พิจารณาการให้ สมาชิกภาพสิ้นสุ ดลง
 นอ. จึงมีหนังสื อแจ้ งประธานสภา อบต. พิจารณาสมาชิกภาพของผู้ฟ้องคดี
ตามมาตรา ๔๗ ตรี วรรคหนึ่ง (๘) เพือ่ ให้ สภา อบต. ประชุ มพิจารณาว่ า ผู้
ฟ้องคดีมีพฤติการณ์ ในทางทีจ่ ะนามาซึ่งความเสี ยหายแก่ อบต. หรือไม่
 การกระทาของปลัดอาเภอ/นอ. เป็ นการปฏิบัติการภายในของฝ่ ายปกครอง
นายก อบต./เลขานุการสภาฯ ได้ นาแบบพิมพ์ลงลายมือชื่อให้ สมาชิกสภาฯ
ลงนาม เพือ่ นาไปยืน่ ญัตติให้ สภาฯ วินิจััยให้ ผู้ฟ้องคดีพ้นจากสมาชิกภาพ
ต่ อมาประธานสภาฯ ได้ บรรจุญตั ติเข้ าวาระการประชุ ม และให้ ปลัดอาเภอกับ
พวกอีก ๓ คน เข้ าร่ วมประชุ มด้ วย การกระทาของนายก อบต. เลขานุการ
สภาฯ ประธานสภาฯ เป็ นการปฏิบัติตามอานาจหน้ าทีต่ ามกฎหมาย ผู้ฟ้อง
คดีจะพ้นหรือไม่ เป็ นดุลพินิจของสภาฯ ตามทีก่ ฎหมายให้ อานาจไว้ การ
กระทาของทั้งห้ ายังไม่ มีผลให้ ผู้ฟ้องคดีเดือดร้ อน
(คาสั่ งศาลปกครองสู งสุ ดที่ ๔๘๗/๒๕๔๗)
การวินิจััยว่ ามีพฤติกรรมเสื่ อมเสี ย
พฤติกรรมเสื่ อมเสี ย
● ลักษณะพฤติกรรมเสื่ อมเสี ย
๑. พฤติกรรมมีผลกระทบต่ อการปฏิบัตหิ น้ าที่การดารงตาแหน่ ง
และฐานะของผู้น้ันหรือไม่
๒.พฤติกรรมนั้น ชุมชนในสั งคมนั้นยอมรับได้ หรือไม่
(คาพิพากษาศาลปกครองกลาง คดีหมายเลขแดงที่ ๓๑๓/๒๕๔๖)
พฤติกรรมเสื่ อมเสี ย

สมาชิกสภา อบต. เรียกเงินจากโรงโม่ หิน ต่ อมาลาออก และได้ รับ
เลือกตั้งเป็ นสมาชิกสภา อบต. อีกครั้ง นายอาเภอสอบสวนและ
วินิจััยว่ าเป็ นผู้มีลกั ษณะต้ องห้ าม และให้ พ้นจากตาแหน่ ง เป็ นคาสั่ ง
ที่ชอบด้ วยกฎหมาย
(คาพิพากษาศาลปกครองกลาง คดีหมายเลขแดงที่ ๓๑๓/๒๕๔๖)
แผนผังแสดงการออกคาสั่ งของนายอาเภอ
การเลือกตั้ง
กระทา
ทุจริต
นาย
อาเภ
อ
นายอาเภอ
สอบ
สวน
สมัยที่ ๑
การเลือกตั้ง
ลาออก
สภา
พิจาร
ณา
พ้นจาก
ตาแหน่
ง
สภา อบต.
(คาพิพากษาศาลปกครองกลาง คดีหมายเลขแดงที่ ๓๑๓/๒๕๔๖)
นายอาเภอสั่ ง
ขาดคุณสมบัติ
นายอาเภอ
สมัยที่ ๒
พฤติกรรมเสื่ อมเสี ย : เล่ นการพนัน
 สมาชิกสภา อบต. เล่ นการพนัน นายอาเภอวินิจััยว่ า มีพฤติกรรม
เสื่ อมเสี ยให้ พ้นจากตาแหน่ ง ศาลปกครองมีคาวินิจััยเป็ น ๒
แนวทาง
1. เล่นการพนันทีก่ ฎหมายไม่ ได้ ห้ามเล่นเด็ดขาด ไม่ ได้ เป็ นเจ้ ามือ/เจ้ าสานัก
หรือมีพฤติกรรมหมกมุ่น หรือเล่นเป็ นอาจิณ ยังไม่ ถึงขนาดทีค่ นใน
ชุ มชนจะยอมรับไม่ ได้ จึงไม่ เป็ นพฤติกรรมในทางเสื่อมเสียทางศีลธรรม
(คาพิพากษาศาลปกครองกลาง คดีหมายเลขแดงที่ ๔๔๕/๒๕๔๖)
2. เล่นการพนันเป็ นความผิดตามกฎหมาย จะถือว่ าเป็ นความประพฤติที่ดี
ไม่ ได้ การทีน่ ายอาเภอวินิจฉัยว่ าเป็ นผ้ มู ีพฤติกรรมเสื่อมเสียทางศีลธรรม
จึงชอบด้ วยกฎหมาย (คาพิพากษาศาลปกครองนครราชสีมา
คดีหมายเลขแดงที่ ๑๘๔/๒๕๔๗)
อบต. กุดค้ าว / อารยะ นางาม
 ศาลปกครองสู งสุ ด วินิจััยว่ า
1. พฤติกรรมเสื่ อมเสี ยทางศีลธรรม ต้ องพิจารณาถึงลักษณะของพฤติกรรม ค่ านิยม
ของสั งคม และข้ อเท็จจริงประกอบเป็ นกรณีไป
2. การเล่นการพนันแม้ เป็ นพฤติกรรมทีไ่ ม่ ดแี ละผิดกฎหมาย แต่ ไม่ ถึงกับเป็ น
พฤติกรรมทีส่ ั งคมไม่ ยอมรับ โดยยังมีการเล่ นการพนันทีถ่ ูกกฎหมายได้ หากได้ รับ
อนุญาต และยังเป็ นประเพณีท้องถิ่น การเล่ นการพนันโดยตัวเองจึงไม่ ใช้ สิ่งชั่ว
ร้ าย หากไม่ ได้ เล่ นอย่ างทุ่มเทหรือเป็ นอาจิณ
3. พฤติกรรมการเล่ นการพนันจึงยังไม่ ถึงขนาดทีจ่ ะถือได้ ว่าเป็ นผู้เสื่ อมเสี ยในทาง
ศีลธรรม
(คาพิพากษาศาลปกครองสู งสุ ด คดีหมายเลขแดงที่ อ.๑๖๓/๒๕๔๗)
4. ปค. เคยตอบข้ อหารือว่ า การจะถือว่ าเสื่ อมเสี ยทางศีลธรรมนั้น ควรเป็ นเรื่องที่
ประชาชนทัว่ ไปยอมรับ และถือเป็ นประเพณีปฏิบัติ เช่ น ชู้ สาว ข่ มขืน
ทาอนาจาร ฯลฯ การเล่นการพนันเป็ นการกาหนดโดยกฎหมายที่ห้าม เว้ นแต่
ได้ รับอนุญาต จึงไม่ อาจถือเป็ นผู้เสื่ อมเสี ยในทางศีลธรรมจนขาดคุณสมบัตใิ นการ
สมัครรับเลือกตั้งเป็ นผู้ใหญ่ บ้าน
5.สมาชิกสภา อบต. มีบทบาทและความสาคัญไม่ ด้อยกว่ าผู้ใหญ่ บ้าน จึงควรต้ องมี
คุณสมบัตแิ ละลักษณะต้ องห้ ามใกล้ เคียงกัน... โดยการเล่นการพนันอันเป็ นเหตุให้
ผู้ใหญ่ บ้านต้ องพ้นจากตาแหน่ งจะต้ องเป็ นกรณีต้องคาพิพากษาถึงทีส่ ุ ดในฐาน
ความผิดเป็ นเจ้ ามือหรือเจ้ าสานัก ลาพังแค่ เป็ นผู้เล่ น ยังไม่ ถือเป็ นเหตุให้ ต้องพ้ น
จากตาแหน่ งผู้ใหญ่ บ้าน
6.ด้ วยเหตุผลดังกล่ าว จึงยังไม่ อาจถือได้ ว่าเป็ นผู้มพี ฤติกรรมในทางเสื่ อมเสี ยทาง
ศีลธรรม การที่ นอ. วินิจััยว่ า ไม่ เป็ นผู้ขาดคุณสมบัตหิ รือมีลกั ษณะต้ องห้ ามการ
เป็ นสมาชิกสภา อบต. จึงเป็ นการใช้ ดุลพินิจโดยชอบแล้ ว

ข้ อสั งเกต. พฤติกรรมการเล่นการพนันยังไม่ ถึงขนาดเป็ นผู้เสื่ อมเสี ยในทางศีลธรรม
 ต้ องคาพิพากษาถึงทีส่ ุ ดในฐานความผิดเป็ นเจ้ ามือหรือเจ้ าสานัก
พฤติกรรมเสื่ อมเสี ย : ถูกข้ อหาข่ มขืน (อบต.แม่ปั๋ง)
 ผู้ฟ้องคดีเป็ นสมาชิกสภา อบต. ถูกกล่าวหาว่ าข่ มขืนกระทาชาเราเด็กอายุ
ไม่ เกิน ๑๓ ปี ต่ อมาทาบันทึกยอมความ
 นอ.สอบสวนและวินิจััยว่ า ผู้ฟ้องคดีเป็ นผู้มพี ฤติกรรมเสื่ อมเสี ยทาง
ศีลธรรม อาศัยอานาจตามมาตรา ๑๒ (๖) ให้ พ้นจากตาแหน่ ง แล้วส่ งคาสั่ ง
ให้ ประธานกรรมการบริหารฯเพือ่ แจ้ งผู้ฟ้องคดี และเตรียมการเลือกตั้ง
ซ่ อม พร้ อมสาเนาส่ ง ผวจ.ทราบ
 ต่ อมา จนท.ของจังหวัดทักท้ วงว่ าอ้างมาตราผิด จึงลบและแก้ไขจากมาตรา
๑๒ (๖) เป็ น ๔๗ ตรี วรรคสอง
 ผู้ฟ้องคดีอุทธรณ์ว่าคาสั่ งของ นอ. ไม่ ชอบ เพราะอ้างมาตราผิด ไม่ ได้ แจ้ ง
คาสั่ งให้ ทราบ และไม่ ได้ แจ้ งสิ ทธิอุทธรณ์
 จนท.ของ นอ. แจ้ งว่ า แก้ไขมาตราแล้ว และไม่ สามารถอุทธรณ์ ได้
(คาพิพากษาศาลปกครองเชียงใหม่ คดีหมายเลขแดงที่ ๑๙/๒๕๔๗)
 ศาลเห็นว่ า การแก้ไขมาตรา เป็ นกรณีแก้ไขคาสั่ งทางปกครองทีม่ ีข้อผิดพลาด
หรือผิดหลงเล็กน้ อยตามมาตรา ๔๓ วิปฏิบัติ จึงเป็ นกระทาทีช่ อบด้ วย
กฎหมาย
 เมื่อ นอ. สอบสวนและวินิจััย และการกระทาของผู้ถูกฟ้องถือได้ ว่ามี
พฤติกรรมเสื่ อมเสี ยทางศีลธรรม ตามมาตรา ๙ (๑๐)ฯ คาวินิจััยของ นอ. ได้
ดาเนินการตามขั้นตอนทีก่ าหนดในกฎหมาย และได้ ใช้ ดุลพินิจภายใน
ขอบเขตทีก่ ฎหมายกาหนดแล้ว
 การแจ้ งถูกต้ องหรือไม่ เห็นว่ า เนื่องจากไม่ ได้ เป็ นการแจ้ งให้ ผู้ฟ้องคดีทราบ
โดยตรง ตามวิปฏิบัติ กาหนดวิธีการแจ้ งคาสั่งทางปกครองตามมาตรา ๖๙-๗๑
การแจ้ งเป็ นหนังสื ออาจส่ งต่ อตัวผู้รับคาสั่ ง หรือต่ อตัวผู้แทนของคู่กรณีกไ็ ด้
หรือการส่ งทาง ปณ. เมื่อ นอ. ส่ งไปให้ ประธานกรรมการบริ หารฯเพือ่ แจ้ งผ้ ู
ฟ้ องคดีทราบ ผ้ ฟู ้ องคดีรับทราบคาสั่งจากประธานกรรมการบริ หารฯ และ
ประธานกรรมการบริ หารฯได้ มีหนังสือแจ้ งคาสั่ง โดยบุตรสะใภ้ ของ
ผ้ ฟู ้ องคดีเป็ นผ้ รู ั บ กรณีถอื ได้ ว่าผ้ ฟู ้ องคดีได้ รับแจ้ งคาสั่งดังกล่ าวแล้ ว
พฤติกรรมเสื่ อมเสี ย : เป็ นผู้มีอทิ ธิพล (ทต. ท่าสะอาด)
 ผู้ฟ้องคดีเป็ น สท. ถูกสภาฯมีมติให้ พ้นจากตาแหน่ งเพราะมีพฤติกรรม
ในทางทีจ่ ะนามาซึ่งความเสื่ อมเสี ยฯ (เป็ นผู้มีอทิ ธิพล เปิ ดบ่ อนการพนัน
เจ้ ามือหวยเถื่อน) จึงนามาฟ้องต่ อ ศป. (ศาลกาหนดมาตรการชั่วคราว)
1. กระบวนการขั้นตอนการบรรจุญตั ติอภิปราย การอภิปราย และลงมติชอบ
หรือไม่ เห็นว่ า เป็ นญัตติมีผู้รับรอง ๓ คน น้ อยกว่ า ๑/๓ (ไม่ นับรวม
ผู้เสนอญัตติ) คาเสนอญัตติจึงไม่ ชอบด้ วย ข้ อ ๕๒ การทีป่ ระธานสภาฯ
บรรจุเข้ าวาระจึงไม่ ชอบด้ วยข้ อ ๓๖ และ ๕๒
2. เมื่อการบรรจุญตั ติไม่ ชอบ การประชุ มก็ไม่ ชอบไปด้ วย
3. ผู้ฟ้องคดี (ผู้ถูกกล่าวหา) ขอให้ พจิ ารณาโดยเปิ ดเผย แต่ ประธานฯให้
อภิปรายและลงมติลบั เป็ นการไม่ ชอบด้ วยข้ อ ๓๐
4. พิพากษาให้ เพิกถอนมติสภาเทศบาล
(คาพิพากษาศาลปกครองขอนแก่ น คดีหมายเลขแดงที่ ๘๕/๒๕๔๗)
พฤติกรรมในทางทุจริตและเสื่ อมเสี ยทางศีลธรรม (อบต. กันตังใต้ )
 ผู้ฟ้องคดีเพิกถอนคาสั่ ง นอ. ทีใ่ ห้ ผู้ฟ้องคดีท้งั สาม (คณะกรรมการบริหาร
อบต.) พ้นจากตาแหน่ งเนื่องจากตรวจรับงานทั้งทีส่ ่ งมอบงานไม่ ครบตาม
สั ญญาจ้ าง เป็ นการปฏิบัติหน้ าที่มิชอบ ทาให้ ทางราชการเสี ยหายสามแสน
บาท และมีคาสั่ งให้ มีการเลือกตั้ง และได้ มีการจัดการเลือกตั้งแทนผู้ฟ้องคดี
ทั้งสามแล้ว จึงฟ้องเพิกถอนคาสั่ ง ระงับการเลือกตั้ง และเรี ยกค่ าเสี ยหาย
 ศาลต้ นเห็นว่ า ยังไม่ ได้ อุทธรณ์ คาสั่ งก่อนฟ้อง จึงไม่ รับคาฟ้อง
 ศาลสู งเห็นว่ า มาตรา ๔๗ ตรี วรรคสอง ให้ คาสั่ งเป็ นทีส่ ุ ด จึงไม่ ต้อง
อุทธรณ์ ก่อนฟ้อง จึงให้ รับคดีไว้ พจิ ารณา และเนื่องจากมีการจัดการ
เลือกตั้งไปแล้ว จึงไม่ อาจสั่ งระงับการเลือกตั้งได้ และมีสิทธิฟ้องกรมการ
ปกครองเรียกค่ าเสี ยหายได้
(คาสั่ งศาลปกครองสู งสุ ดที่ ๔๘๗/๒๕๔๗)
มาตรการบรรเทาทุกข์ ชั่วคราว
วิธีการชั่วคราวก่ อนศาลมีคาพิพากษา
การขอทุเลาการบังคับตาม
 กฎ หรือ
 คาสั่ งทางปกครอง
การบรรเทาทุกข์ ชั่วคราว
 ผู้ฟ้องคดีขอให้ ศาลกาหนดมาตรการหรือวิธีการคุ้มครองอย่ างใดๆ
เพือ่ บรรเทาทุกข์ ชั่วคราวก่ อนการพิพากษา
 คู่กรณีขอให้ ศาลกาหนดวิธีการเพือ่ คุ้มครองประโยชน์ ของผู้ขอใน
ระหว่ างการพิจารณา หรือเพือ่ บังคับตามคาพิพากษา
การทุเลาการบังคับตามกฎ คาสั่ งฯ
• การทุเลาการบังคับตามกฎ คาสั่ งทางปกครอง
• ฟ้องเพิกถอนกฎ คาสั่ งทางปกครอง
• ยืน่ คาขอทุเลา/ชะลอ/ระงับ การบังคับฯชั่วคราวก่อนมีคาพิพากษา
• ข้ อเท็จจริงเป็ นอย่ างไร
• เหตุผลความไม่ ชอบ
• ความเดือดร้ อนหรือเสี ยหาย หรืออาจจะเดือดร้ อนฯ
• หากมีผลบังคับต่ อไปเสี ยหายยากแก่การเยียวยาอย่ างไร
• ศาลเห็นสมควรก็อาจมีคาสั่ งได้ โดยไม่ ต้องมีคาขอ
• กฎ หรือคาสั่ งทางปกครอง
– น่ าจะไม่ ชอบด้ วยกฎหมาย
– เสี ยหายยากเยียวยา
– ไม่ เป็ นอุปสรรคการบริหารฯ
การบรรเทาทุกข์ ชั่วคราว
• ฟ้องกรณีอนื่ (นอกจากเพิกถอนกฎ คาสั่ งฯ)
• ยืน่ คาขอ
● ขอให้ ศาลกาหนดมาตรการ/วิธีการคุ้มครองเพือ่ บรรเทาทุกข์
ชั่วคราวก่ อนพิพากษา
● คุ้มครองประโยชน์ ระหว่ างการพิจารณาคดี/บังคับตาม
คาพิพากษา
● แสดงเหตุผลความจาเป็ น
• มีเหตุผลสมควร ศาลจะมีคาสั่ งหน่ วยงาน/เจ้ าหน้ าที่ให้ ปฏิบัติ
คดีนางแหม่ ม อันนา... (ป)
• หลักเกณฑ์ ในการพิจารณากาหนดมาตรการหรือวิธีการ
คุ้มครองชั่วคราวก่ อนการพิพากษา
 คาฟ้องมีมูลและมีเหตุผลเพียงพอทีจ่ ะนามาตรการฯมาใช้ ได้
• ผู้ถูกฟ้องตั้งใจจะกระทาซ้าหรือกระทาต่ อไปซึ่งการกระทาละเมิด หรือ
ผิดสั ญญา หรือการกระทาทีถ่ ูกฟ้อง หรือ
• จะได้ รับความเดือดร้ อนฯต่ อไปเนื่องจากการกระทาของผู้ถูกฟ้องคดี
 คานึงความรับผิดชอบของหน่ วยงาน/เจ้ าหน้ าที่ของรัฐ และปัญหา
หรืออุปสรรคทีอ่ าจเกิดขึน้ แก่ การบริหารงานของรัฐ
(คาสั่ งศาลปกครองสู งสุ ดที่ ๓๓๓/๒๕๔๖)
คดี ทต. นาข่ า
• สภาเทศบาลมีมติให้ นายกเทศมนตรีสิ้นสุ ดสมาชิกภาพ ๓/๙ เสี ยง
• นายกฯ และ คทม. จึงพ้นจากตาแหน่ งทั้งคณะ สภาจึงมีมติเลือก คทม.
ชุดใหม่ และอยู่ระหว่ างเสนอ ผวจ. แต่ งตั้ง นายกฯนาคดีมาฟ้ องต่ อ
ศาลปกครองขอให้ เพิกถอนมติฯ และมีคาขอให้ ศาลกาหนดมาตรการ
บรรเทาทุกข์ ชั่วคราวก่ อนพิพากษา โดยขอให้ ผวจ. ระงับการแต่ งตั้ง
คทม. ชุดใหม่
• ศาลมีคาสั่ งตามคาขอ โดยให้ ผวจ. ระงับการแต่ งตั้ง คทม. ไว้ ก่อน และ
ยังไม่ ให้ มีการเลือกตั้งซ่ อม “นายกฯ และ คทม. จึงอยู่ในตาแหน่ งเพือ่
ดาเนินกิจการต่ อไป” (ม. ๔๕ ว. ๒)
(คาพิพากษาศาลปกครองขอนแก่ น คดีหมายเลขแดงที่ ๒๘๕/๒๕๔๖)
• ต่ อมาสภาเทศบาลไม่ รับหลักการร่ างเทศบัญญัตงิ บประมาณรายจ่ ายฯ
จะมีผลให้ คทม. ต้ องพ้นจากตาแหน่ งทั้งคณะ (ม.๔๖(๑)) สภาจึงมีมติ
เลือก คทม. ชุดใหม่ อกี ครั้งหนึ่ง จึงประเด็นว่ า คทม. พ้นจากตาแหน่ ง
หรือไม่
• มติสภาเทศบาลที่ทาให้ คทม. พ้นจากตาแหน่ งทั้งคณะมีผลบังคับตาม
กฎหมายจนกว่ าศาลจะมีคาวินิจััยเป็ นอย่ างอืน่ เมื่อศาลมีคาสั่ ง
กาหนดมาตรการเพือ่ บรรเทาทุกข์ ชั่วคราว คาสั่ งมีผลเพียงให้ ผวจ.
ระงับการแต่ งตั้ง คทม. ชุดใหม่ ไว้ ก่อน ทาให้ คทม. ชุดเดิมอยู่ใน
ตาแหน่ งเพือ่ ดาเนินกิจการตาม ม. ๔๕ ว ๒
(คาพิพากษาศาลปกครองขอนแก่ น คดีหมายเลขแดงที่ ๒๘๕/๒๕๔๖)
• การอยู่ในตาแหน่ งเป็ นเพียงชั่วคราวจนกว่ า คทม. ชุดใหม่ เข้ ารับหน้ าที่
เท่ านั้น ซึ่งเป็ นวัตถุประสงค์ ของกฎหมายทีต่ ้ องการให้ จดั ทาบริการ
สาธารณะมีความต่ อเนื่อง ซึ่งไม่ อาจดาเนินงานที่เป็ นนโยบายสาคัญ
เช่ น การเสนอร่ างเทศบัญญัตงิ บประมาณรายจ่ ายประจาปี ได้
• การอยู่ในตาแหน่ งจึงไม่ ใช่ อย่ ใู นสถานภาพของตาแหน่ งแท้ จริ ง
แม้ สภาไม่ รับหลักการฯ ก็ไม่ อาจนามาตรา ๔๕(๔) มาใช้ บังคับกับ
คทม. ทีอ่ ยู่ตามมาตรา ๔๕ ว ๒ ได้ ดังนั้น แม้ สภาฯไม่ รับหลักการฯก็
ไม่ มีผลให้ คทม.พ้นจากตาแหน่ งอีก จึงมีคาพิพากษาให้ เพิกถอนมติ
สภาเทศบาลที่เลือก คทม.
(คาพิพากษาศาลปกครองขอนแก่ น คดีหมายเลขแดงที่ ๒๘๕/๒๕๔๖)