ล้านบาท - สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
Download
Report
Transcript ล้านบาท - สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
การสั มมนาเชิงปฏิบัติการเรื่อง
“กองทุน FTA: ทางรอด ทางเลือก สิ นค้ าปาล์ มนา้ มัน”
แนวทางการช่ วยเหลือของกองทุนปรับโครงสร้ างการผลิตภาคเกษตรฯ
โดย
นางราตรี พูนพิริยะทรัพย์
ผู้อานวยการส่ วนบริหารกองทุนภาคการเกษตร
สานักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร
28 เมษายน 2554
ณ โรงแรมมาริไทร์ ปาร์ ค แอนด์ สปา รีสอร์ ท จังหวัดกระบี่
แนวทางการช่วยเหลือของกองทุนปรับโครงสร้างการผลิต
ภาคเกษตรเพื่อเพิม่ ขีดความสามารถการแข่งขันของประเทศ
AFTA เป็ นโอกาสหรืออุปสรรคกับสิ นค้ าเกษตรไทย
ภาคเกษตรได้ หรื อเสี ย
2
การค้าสิ นค้าเกษตรระหว่างไทยกับสมาชิกอาเซียนอื่น 9 ประเทศ
2553
(ล้านบาท)
2551-2553
เฉลีย่ 3 ปี (ล้านบาท)
ไทยส่ งออก
167,853
148,290
ไทยนาเข้า
47,549
44,371
ดุลการค้า
120,304
103,919
มูลค่าการค้า
215,402
192,661
ที่มา:กรมศุลกากร
หมายเหตุ:สิ นค้าเกษตรตอนที่ 1-24
(สิ นค้าส่ งออกสาคัญของไทย คือ ข้าว น้ าตาล)
3
ส่ งออก: สิ นค้าสาคัญที่ไทยส่งออกไปอาเซียน 9 ประเทศ
กลุ่มสิ นค้า 5 ลาดับแรก
2551-2553
เฉลี่ย 3 ปี (ล้านบาท)
พิกดั 17: น้ าตาลและขนมที่ทาจาก
น้ าตาล
31,794
พิกดั 10: ข้าว/ธัญพืช
30,439
พิกดั 21: ซอส/น้ าปลา/เครื่ องแกง/ซุป
15,454
พิกดั 22: เครื่ องดื่ม สุ รา
12,751
พิกดั 19: ผลิตภัณฑ์จากแป้ ง/ธัญพืช
9,836
ไทยส่ งออกไป
ฟิ ลิปปิ นส์ อินโดนีเซีย มาเลเซีย
สิ งคโปร์ เวียดนาม ลาว กัมพูชา
ฟิ ลิปปิ นส์ อินโดนีเซีย มาเลเซีย
สิ งคโปร์ บรู ไน
ฟิ ลิปปิ นส์ มาเลเซีย เวียดนาม ลาว
กัมพูชา
สิ งคโปร์ พม่า ลาว กัมพูชา
มาเลเซี ย เวียดนาม ลาว พม่า
กัมพูชา
ที่มา:กรมศุลกากร
4
นาเข้า: สิ นค้าสาคัญที่ไทยนาเข้าไปอาเซียน 9 ประเทศ
กลุ่มสิ นค้า 5 ลาดับแรก
พิกดั 3: ปลาและสัตว์น้ า
2551-2553
ไทยนาเข้า
เฉลี่ย 3 ปี (ล้านบาท)
11,795
อินโดนีเซี ย เวียดนาม พม่า
พิกดั 19: ผลิตภัณฑ์จากแป้ ง/ธัญพืช
(บะหมี่ พาสต้า บิสกิต)
6,592
มาเลเซีย สิ งคโปร์
พิกดั 24: ยาสูบ
2,852
ฟิ ลิปปิ นส์
พิกดั 15: น้ ามันพืช/ไขมัน
3,535
มาเลเซีย
พิกดั 21: ซอส/น้ าปลา/เครื่ องแกง/ซุป
2,901
มาเลเซีย มาเลเซีย
ที่มา:กรมศุลกากร
5
พันธกรณี ไทยภายใต้ AFTA
6
พันธกรณีไทย
ต้องลดภาษีทุกรายการสิ นค้าเหลือ 0% ในปี 2553 ได้แก่ ชา กาแฟสาเร็ จรู ป
พริ กไทย ลา ไยแห้ง กระเทียม หอมหัวใหญ่ เมล็ดพันธุ์หอมหัวใหญ่ ปาล์มน้ ามัน
น้ ามันถัว่ เหลือง เมล็ดถัว่ เหลือง มะพร้าวผล น้ ามันมะพร้าว น้ านมดิบ/นมพร้อมดื่ม
นมผงขาดมันเนย ไหมดิบ ข้าว กากถัว่ เหลือง น้ าตาล และใบยาสู บ ยกเว้นเมล็ดกาแฟ
มันฝรั่งไม้ตดั ดอก เนื้อมะพร้าวแห้ง เหลือ 5%
ต้องยกเลิกโควตาทุกสิ นค้าให้หมดไปในปี 2553
การดาเนินการสาหรับสิ นค้ าเกษตรโควตา 23 รายการ
ก.คลัง ได้ออกประกาศลดภาษี เหลือ 0-5% ในปี 2553 แล้ว
พณ. เป็ นผูร้ ับผิดชอบออกประกาศการยกเลิกมาตรการโควตา
ซึ่ งขณะนี้ยกเลิก ครบ 23 สิ นค้า แล้ว
7
ผลที่คาดว่าจะได้รับจากการเปิ ดเสรี สินค้าเกษตร(ภาพรวม)
ผลดี
- ไทยส่ งออกสิ นค้าเกษตรได้มากขึ้น เนื่องจากภาษีที่ลดลง และอาเซียนเป็ นตลาด
ใหญ่มีประชากร 580 ล้านคนซึ่งสาคัญสาหรับไทย
(สิ นค้าส่ งออกสาคัญ เช่น ข้าว น้ าตาล นมและผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์มนั สาปะหลัง
ไก่แปรรู ป อาหารแปรรู ป สิ่ งปรุ งรสอาหาร เป็ นต้น)
- สิ นค้าวัตถุดิบนาเข้าราคาถูก ทาให้ลดต้นทุนการผลิตเพื่อส่ งออก
(เช่น ปลาและสัตว์น้ า)
- เกษตรกร/ผูป้ ระกอบการเกิดการปรับตัวทางการผลิต ทาให้สามารถแข่งขันได้
8
ผลที่คาดว่าจะได้รับจากการเปิ ดเสรี สินค้าเกษตร(ภาพรวม)(ต่อ)
ผลเสี ย
- เกษตรกรบางส่ วนอาจได้รับผลกระทบด้านราคาสิ นค้าตกต่าเมื่อมีการนาเข้า
สิ นค้าราคาถูกจากอาเซียน 9 ประเทศ
- อุตสาหกรรมเกษตรที่มีประสิ ทธิภาพการผลิตต่าอาจแข่งขันกับต่างประเทศ
ไม่ได้
9
ผลจากอาเซียนลดภาษีเป็ น 0% ต่อ GDP ไทย ปี 2558
ศูนย์ ศึกษาการค้ าระหว่ างประเทศ ม.หอการค้ าไทย(14 ก.ค. 52) ทาการศึกษา
สิ นค้ า 12 กลุ่ม (เกษตร อุสาหกรรม) พบว่ า
ผลจากอาเซียนลดภาษี 0%ทาให้ GDP ไทยปี 2558 เพิ่มขึ้น 1.75% คิดเป็ น
มูลค่า 203,951 ล้านบาท หรื อ 0.25% ต่อปี (จากปี 2551)
ไทยจะเกินดุล สาขาเกษตรแปรรู ป มากขึ้น 12.5% และจะเกินดุน สาขาเกษตร
และปศุสตั ว์ มากขึ้น 16.5%
ไทยมีทิศทางส่ งออกสิ นค้าประมงเพิ่มขึ้น
10
แนวทางรองรับการเปิ ดเสรี สินค้าเกษตร 23 รายการ
ขั้นที่ 1 บริ การการนาเข้า ณ ด่านศุลกากร
ขั้นที่ 2 เยียวยาเกษตรกรที่ได้รับผลกระทบ
(เพื่อปรับโครงสร้างการผลิตเพื่อให้สามารถแข่งขันได้โดยใช้เงินสนับสนุน
จากกองทุน FTA กษ.)
11
ตัวอย่างแนวทางรองรับการเปิ ดตลาดเสรี สินค้าเกษตรที่อาจจะ
ได้รับผลกระทบ (ด้านการบริ หารการนาเข้า)
เมล็ดกาแฟ
-ให้ อคส.นาเข้าช่วง
พ.ค.-ส.ค. เพื่อแปร
รู ปเท่านั้น
- ผูน
้ าเข้าต้องรับซื้ อ
ผลผลิตในประเทศ
ด้วย
-เข้มงวด SPS
-ปลอด GMOs
ชา
นมผงขาดมันเนย
- เข้มงวด SPS
-กาหนดด่านนาเข้า
- เข้มงวด ROO
-ใบรับรองมาตรฐาน
- กาหนดเงื่อนไขอื่น GMP ภาชนะบรรจุ
เช่นข้อกาหนดบรรจุ ภัณฑ์
ภัณฑ์
-ใบรับรอง
โรงงานผลิต
-ขึ้นทะเบียนอาหาร
และติดฉลากสิ นค้า
ข้าว
ข้าวโพด
-กาหนดคุณสมบัติผู ้
- ใช้ SPS
นาเข้า
-พิจารณาชนิ ดข้าว
นาเข้า (เช่น ปลาย
ข้าวเพื่อแปรรู ป)
-กาหนดด่านและ
เวลานาเข้า
-ปลอด GMOs
- กาหนดช่วงเวลา
นาเข้า
- กาหนดด่านนาเข้า
- ใบรับรองสารพิษ
ตกค้าง
-ปฏิบต
ั ิตาม พรบ.
อาหารสัตว์
12
กองท ุนปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตร
เพื่อเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันของประเทศ
13
กองท ุนปรับโครงสร้างการผลิต
ภาคเกษตรเพื่อเพิ่มขีดความสามารถ
การแข่งขันของประเทศ
วิสยั ทัศน์
สร้างขีดความ
สามารถในการ
แข่งขันให้กบั
สินค้าเกษตร
วัตถ ุประสงค์
- เพื่อปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตร
ปฏิร ูปผลิตผลทางการเกษตร
เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
และพัฒนาค ุณภาพสินค้าเกษตร
- เพื่อแปรรูปสร้างมูลค่าเพิ่ม
สินค้าเกษตร
- เพื่อช่วยเหลือให้เกษตรกร
ปรับเปลีย่ นจากการผลิตสินค้า
ที่ไม่มีศกั ยภาพสูส่ ินค้าที่มีศกั ยภาพ
ตัง้ ขึ้นตามมติคณะรัฐมนตรี
เมื่อ 20 กรกฎาคม 2547
การสนับสน ุน
- สนับสน ุนปัจจัยการผลิต
และเทคโนโลยี
- สนับสน ุนงานวิจยั และพัฒนา
- ให้ความร ้ ู ฝึกอบรม
และด ูงาน
- ให้การสนับสน ุนด้าน
โครงสร้างพื้นฐานการเกษตร
- ปรับเปลี่ยนอาชีพ
14
องค์กรที่รบั ผิดชอบ
คณะกรรมการบริหารกองท ุนปรับ
- พิจารณาอน ุมัติโครงการที่เกษตรกร
โครงสร้างการผลิตภาคเกษตรเพื่อ อานาจหน้าที่
หน่วยงานของรัฐหรือภาคเอกชนเสนอขอรับ
เพิ่มขีดความสามารถการแข่งขัน
การสนับสน ุน
ของประเทศ
- กาหนดหลักเกณฑ์และวิธีใช้เงินกองท ุน ติดตาม
ผลการดาเนินงานของโครงการที่ได้รบั อน ุมัติ
- ปฏิบตั ิหน้าที่อื่นตามที่คณะรัฐมนตรีมอบหมาย
คณะอน ุกรรมการกลัน่ กรองโครง
- กาหนดมาตรการหรือกรอบโครงการ พิจารณา
การเสนอขอรับเงินสนับสน ุนกองท ุน อานาจหน้าที่
กลัน่ กรองความเหมาะสมของโครงการ
ปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตร
- ปฏิบตั ิหน้าที่อื่นตามที่คณะกรรมการบริหาร
กองท ุนฯมอบหมาย
คณะอน ุกรรมการประชาสัมพันธ์
โครงสร้างการผลิตภาคเกษตรเพื่อ อานาจหน้าที่
เพิ่มขีดความสามารถการแข่งขัน
ของประเทศ
- กาหนดแนวทางการประชาสัมพันธ์กองท ุนปรับ
โครงสร้างการผลิตภาคเกษตร
- ให้ความเห็นชอบการจัดทาแผนประชาสัมพันธ์
โครงการต่างๆ
- เสนอแนะการเลือกใช้สื่อต่างๆอย่างครบวงจร
เพื่อกระจายข่าวสาร
15
ขั้นตอนการกากับดูแลการใช้ เงินกองทุนปรับโครงสร้ างการผลิตภาคเกษตร
แก้ ไข
ปรับปรุ ง
1
2
เกษตรกร
หน่ วยงานของ
รัฐ ภาคเอกชน
จัดทาโครงการตาม
หั ว ข้ อ เ ค้ า โ ค ร ง
ข้อเสนอโครงการ
ไม่ เห็นชอบ
7
เสนอคณะกรรมการ
บริ หารกองทุ น ปรั บ
โครงสร้างฯ เพื่ออนุ มตั ิ
โครงการ
ไม่ ผ่าน
เสนอ
ผ่ าน
แก้ไข
เห็นชอบ
ส า นั ก ง า น เ ศ ร ษ ฐ กิ จ
การเกษตร จัดสรรเงิ น เป็ น
รายปี ตามแผนปฏิบตั ิงาน/
แผนการใช้เงิน
เสนอ
หน่ วยงานที่รับผิดชอบ
ผ่ าน
ต า ม ส า ย ง า น เ ป็ น
หน่ วยงานผูร้ ั บผิดชอบ
โครงการ
6
ค ณ ะ อ นุ ก ร ร ม ก า ร
เห็นชอบ กลัน่ กรองฯ พิจารณาความ
เป็ นไปได้ของโครงการ
8
3
ไม่ ผ่าน
ส านั ก งานเศรษฐกิ จ
การเกษตร รวบรวม
ตรวจสอบวิ เ คราะห์
ความเป็ นไปได้ ข อง
โครงการ
5
สานักงานเศรษฐกิจการเกษตรเชิญหน่วยงาน
ผ่าน ที่ เ กี่ ยวข้ อ งภายในส านั ก งานเศรษฐกิ จ
การเกษตรและกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
รวมทั้ งผู ้ท รงคุ ณ วุ ฒิ ใ นสาขาที่ เ กี่ ย วข้ อ ง
พิจารณาความเป็ นไปได้ของโครงการ
9
อนุมตั ิ
แก้ไข
4
สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร
ติ ด ต า ม ก า ร ด า เ นิ น ง า น
การใช้จ่ า ยเงิ น และรายงาน
คณะกรรมการบริ หารกองทุน
หลักเกณฑ์ การพิจารณาโครงการ
เป็ นโครงการที่เสนอ โดยเกษตรกร สถาบันเกษตรกร หรือ
องค์ กรเกษตรกรและภาคเอกชน ซึ่งต้ องได้ รับผลกระทบ
โดยตรงหรือโดย อ้ อมจากการเปิ ดเสรีทางการค้ า
หากเป็ นเกษตรกรต้ องเสนอในนามของสถาบันเกษตรกรหรือ
องค์ ก รเกษตรกรที่ ไ ด้ รั บ การยอมรั บ จากส่ วนราชการ สถาบั น
เกษตรกระและภาคเอกชนต้ องเสนอโครงการผ่ านส่ วนราชการหรื อ
หน่ วยงานของรัฐที่รับผิดชอบตามสายงาน
กรณีโครงการ งาน หรือกิจกรรมที่เสนอโดยหน่ วยงานของรัฐ
ต้ องเป็ นโครงการ งานหรือกิจกรรมที่ดาเนินการปรับโครงสร้ าง
การผลิตเพือ่ ลดผลกระทบจากการเปิ ดเสรีทางการค้ าและเป็ น
โครงการที่เกิดจากความต้ องการหรือการมีส่วนร่ วมของเกษตรกร
เป็ นโครงการที่มีศักยภาพทั้งในด้ านการผลิตและการตลาด
หากเป็ นโครงการวิจัยต้ องเป็ นการวิจัยประยุกต์ หรือวิจัยด้ าน
การตลาด ที่ให้ ผลการวิจัยไม่ เกิน 1 ปี
กรณีเป็ นโครงการ หรือกิจกรรม ที่จะไปทดแทนกิจกรรมเดิม
จะต้ องให้ ผลตอบแทนไม่ น้อยกว่ ากิจกรรมเดิม
เป็ นโครงการที่มีแนวทางปรับปรุงประสิ ทธิภาพการผลิต ที่จะ
ช่ วยลดต้ นทุนการผลิตให้ สามารถแข่ งขันได้
17
กรอบและเงื่อนไขการสนับสน ุนเงิน
เงินจ่ายขาด ให้เฉพาะกรณีหรือค่าใช้จ่าย ดังต่อไปนี้
ค่าปัจจัยการผลิตในกรณีทดลอง/สาธิต/นาร่อง
ค่าใช้จ่ายต่างๆ สาหรับงานวิจยั ต้องเป็นการวิจยั ประยุกต์ (Applied Research)
หรือการวิจยั ด้านการตลาด โดยมีผลวิจยั ในระยะเวลาไม่เกิน 1 ปี และต้องไม่เป็นโครงการ
วิจยั ขัน้ พื้นฐาน (Basic Research)
ค่าใช้จ่ายในการถ่ายทอดเทคโนโลยี อาทิ การฝึกอบรม การสัมมนา การศึกษา
ด ูงาน
ค่าใช้จ่ายดาเนินงานหรือค่าบริหารโครงการของหน่ายง
ที่คณะกรรมการบริหารกองท ุนกาหนด หรือตามที่จ่ายจริงแต่ไม่เกิน ร้อยละ 3 ของงบประมาณ
โครงการ
ค่าใช้จ่ายต่างๆ นอกเหนือจากที่ระบ ุข้างต้น ให้อยูใ่ นด ุลยพินิจของคณะกรรมการ
บริหารกองท ุน
18
กรอบและเงื่อนไขการสนับสน ุนเงิน (ต่อ)
เงินหมุนเวียนให้เฉพาะกรณีหรือค่าใช้จ่าย ดังต่อไปนี้
●การช่วยเหลือสาหรับโครงการ ซึ่งได้รบั ผลกระทบจากการเปิ ดเสรีทางการค้า
อันเนื่องมาจากนโยบายของรัฐ
●การช่วยเหลือสาหรับโครงการที่รเิ ริม่ ใหม่ รวมทัง้ กรณีจงู ใจให้เกิดการผลิต
หรือเปลีย่ นแปลงการผลิต
●ค่าใช้จ่ายที่สนับสน ุนได้แก่
-ค่าลงท ุนต่างๆ อาทิ ค่าก่อสร้างโรงเรือน/โรงงาน ค่าเครือ่ งมือ อ ุปกรณ์
-ค่าใช้จ่ายหมุนเวียนในการผลิต
●กรณีกย้ ู ืมจากธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร กองท ุนจะชดเชย
ดอกเบี้ยให้ทงั้ หมด
●วงเงินให้ยืมและกาหนดการชาระคืนให้เป็ นไปตามลักษณะการดาเนินงาน/
ความจาเป็ นของแต่ละโครงการ
เงินยืมคิดดอกเบี้ย ให้เฉพาะโครงการหรือกิจกรรมที่ได้รบั ผลตอบแทนคม้ ุ ค่าการลงท ุน
โดยวงเงินให้ยืม กาหนดการชาระคืน และอัตราดอกเบี้ยให้เป็ นไปตามมติคณะกรรมการ
บริหารกองท ุนฯ
19
หัวข้อและรายละเอียดโครงการขอรับเงินสนับสน ุนจากกองท ุนฯ
ชื่อโครงการ
ชื่อเรือ่ งของโครงการที่เสนอขอรับเงินสนับสนนุ จากกองท ุนฯ
เจ้าของโครงการ หน่วยงานของรัฐ (กระทรวง ทบวง กรม หรือส่วนราชการที่มีฐานะ
เป็ นกรมและรัฐวิสาหกิจ) ภาคเอกชน (สถาบัน องค์กรนิติบ ุคคลที่
ดาเนินการด้านเกษตร)
หลักการและเหต ุผล แสดงถึงเหต ุผลและความจาเป็นที่ตอ้ งจัดทาโครงการเพื่อลด
ผลกระทบจากการเปิดเสรีทางการค้า (FTA AFTA WTO ฯลฯ) ซึ่งต้อง
ชี้แจงให้ชดั เจนว่าเมื่อเปิดเสรีทางการค้าแล้วมีผลทาให้มีการนาเข้า
สินค้านัน้ จากประเทศที่ทาข้อตกลงทางการค้านับตัง้ แต่วนั ลงนาม
เพิ่มขึ้นมากน้อยเพียงไร หากไม่ดาเนินการช่วยเหลือจะมีผลกระทบ
ต่อเกษตรกรอย่างไร
วัตถ ุประสงค์
แสดงถึงจดุ มุง่ หมายของการดาเนินโครงการว่าทาเพื่ออะไร
สามารถแก้ไขปัญหาอะไร
วิธีดาเนินการ
แสดงถึงรายละเอียดของขัน้ ตอนการดาเนินงานในแต่ละกิจกรรม
ของโครงการ (กรณีระยะเวลาดาเนินโครงการเกินกว่า 1 ปี ให้แยก
กิจกรรมเป็นรายปี)
20
หัวข้อและรายละเอียดโครงการขอรับการสนับสน ุนมาจากกองท ุนฯ (ต่อ)
เป้าหมาย/ขอบเขต
การดาเนินงาน
ระยะเวลาโครงการ
ระยะเวลาดาเนินการ
งบประมาณ
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รบั
ระบ ุถึงจานวน/ปริมาณ/กลมุ่ พื้นที่ที่ตอ้ งการดาเนินการ
ในโครงการ
แสดงถึงระยะเวลาที่กองท ุนฯ สนับสน ุนงบประมาณ
แสดงถึงจานวนระยะเวลาในการดาเนินการ เริม่ ต้นตัง้ แต่ปีไหน
สิ้นส ุดปี ไหน (รวมระยะเวลาชาระคืนเงินหมุนเวียน หากมีการ
ขอสนับสน ุนเป็ นเงินหมุนเวียนด้วย)
แสดงถึงรายละเอียดของงบประมาณแต่ละหมวดในแต่ละ
กิจกรรมตามวิธีการดาเนินงาน (กรณีระยะเวลาดาเนิน
โครงการเกินกว่า 1 ปี ให้แยกงบประมาณเป็นรายปี ) และ
แจกแจงงบประมาณเป็นงบเงินจ่ายขาดและงบเงินหมุนเวียน/
เงินยืมและต้องระบ ุเงื่อนไขและแผนการคืนเงินให้ชดั เจน
แสดงถึงผลของการดาเนินโครงการเมื่อเสร็จสิ้นแล้ว ช่วย
ลดผลกระทบจากการเปิดเสรีทางการค้าอย่างไรบ้าง ใคร
เป็ นผูไ้ ด้รบั และลดผลกระทบได้ในปริมาณมากน้อยเพียงใด
สมควรแสดงเป็ นตัวเลขเชิงปริมาณ
21
ผลการดาเนินงานที่ผา่ นมา (ปี 2549-2553)
ดาเนินการช่ วยเหลือเกษตรกรผู้ผลิตสิ นค้ าที่ได้ รับผลกระทบจาการเปิ ดเสรีการค้ า จานวน 8 สิ นค้ า 11 โครงการ งบประมาณ
รวม 483.03 ล้ านบาท (จ่ ายขาด 332.34 ล้ านบาท หมุนเวียน 150.69 ล้ านบาท ) ได้ แก่ โคเนือ้ โคนม สุ กร ชา ปาล์ มนา้ มัน
กาแฟ และข้ าว รายละเอียด ดังนี้
โครงการ
งบประมาณ
(ล้านบาท)
ผลการดาเนินงานในระดับผลลัพธ์
1. โครงการคัดเลือกพ่อพันธุ์
กาแพงแสนเพื่อใช้ผลิตน้ าเชื้อ
(ธันวาคม 2550- ธันวาคม 2554)
46.26
1. ดาเนินการคัดเลือกแม่พนั ธุ์ลูกผสมบราห์มนั จากเกษตรกรจานวน
8,103 ตัว คิดเป็ นร้อยละ 81.03 ของเป้ าหมาย 10,000 ตัว
2. ดาเนินการผลิตน้ าเชื้อแช่แข็งจากโคพ่อพันธุ์กาแพงแสน ได้ แล้ว
13,415 โด๊ส จากเป้ าหมาย 20,000 โด๊ส หรื อคิดเป็ นร้อยละ 67.08
3. เกษตรกรมีค่าใช้จ่ายในการผสมเทียมลดลง 400 บาท/ครั้ง หรื อร้อย
ละ50 (เดิม 800 บาท เหลือ 400 บาท)
4. เกษตรกรขายโคกาแพงแสน อายุ 2 ปี ได้รายได้สูงกว่าโคพันธุ์
ลูกผสมบราห์มนั เฉลี่ย 12,500 บาท/ตัว (กาแพงแสน 30,000 บาท
ลูกผสมบราห์มนั 17,500 บาท)
5. หลังจากเสร็ จสิ้ นโครงการมีมูลค่าทางเศรษฐกิจเพิม่ ขึ้น 1,395 ล้านบาท
22
ผลการดาเนินงานที่ผา่ นมา (ปี 2549-2553)
โครงการ
งบประมาณ
(ล้านบาท)
ผลการดาเนินงานในระดับผลลัพธ์
2. โครงการจัดตั้งตลาด
กลางโคเนื้อพันธุ์
กาแพงแสน
(ธันวาคม 2550ธันวาคม 2553)
14.77
-ดาเนินการก่อสร้างเสร็ จแล้วเมื่อเดือน ต.ค.52
-จดทะเบียนเพื่อรับรองโคพันธุ์กาแพงแสนแล้ว 122 ตัว
-คัดโคเข้าสู่ ตลาดเพื่อจาหน่ายแล้ว 110 ตัว
-หลังจากเสร็ จสิ้ นโครงการคาดว่าทาให้มีการซื้อขายแลกเปลี่ยนโคไม่ต่ากว่า
ปี ละ 2,400 ตัว คิดเป็ นมูลค่าไม่นอ้ ยกว่า 72 ล้านบาท
3. โครงการฝึ กอบรมเชิง
ปฏิบตั ิการด้านโคเนื้อ
(ธันวาคม 2550 ธันวาคม 2554)
20.24
-ดาเนินการอบรม 4 หลักสู ตรคือ 1.การเลี้ยงโคเนื้อ 2. การผสมเทียม
โค 3. ความปลอดภัยของเนื้อโคและระบบการตรวจสอบย้อนกลับ
และ 4.การเลี้ยงโคเนื้อระยะสั้น
-มีเกษตรกรเข้ารับการฝึ กอบรมแล้ว จานวน 2,517 คน จากเป้ าหมาย 2,456
คน หรื อคิดเป็ นร้อยละ 102.48
-เกษตรกรผูเ้ ข้ารับการอบรมร้อยละ 86.43 ได้นาความรู ้ไปถ่ายทอดต่อ
-เกษตรกรร้อยละ 58.67 นาความรู ้ที่ได้รับจากการอบรมไปปฏิบตั ิใช้
งานจริ ง โดยมีการนาโคไปฉีดวัคซีนเพิ่มขึ้นร้อยละ 3 และมีอตั ราการ
ผสมเทียมติดเฉลี่ย 1 ครั้ง/ตัว (จากเดิม 2 ครั้ง/ตัว)
23
ผลการดาเนินงานที่ผา่ นมา (ปี 2549-2553)
โครงการ
งบประมาณ
(ล้านบาท)
4. โครงการลดต้นทุนและ
ปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการเลี้ยง
โคนมด้วยวิธีปฏิบตั ิได้และเห็น
ผลจริ ง
(มกราคม 2552-มกราคม 2557)
43.76
ผลการดาเนินงานในระดับผลลัพธ์
-ได้ดาเนินการจัดจ้างที่ปรึ กษามาทาหน้าที่เป็ นที่ปรึ กษาสมาชิก
สหกรณ์ผเู้ ลี้ยงโคนมนาร่ อง 20 สหกรณ์ เรื่ องการพัฒนา
ประสิ ทธิภาพ และลดต้นทุนการผลิต การบริ หารจัดการฟาร์ม พบว่า
1. เกษตรกรร้อยละ 98 ได้รับการตรวจเยีย่ มฟาร์มและดูแลสุขภาพ
สัตว์จากทีมที่ปรึ กษา
2. เกษตรกรร้อยละ 74 ได้รับการอบรมจากทีมที่ปรึ กษาและเกษตรกร
ร้อยละ 68 มีการจัดทาบัญชีฟาร์ม จากเดิมซึ่งไม่เคยจัดทา
2. เกษตรกรทั้งหมดมีการนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในฟาร์ม
3. คาดว่าเมื่อสิ้นสุดโครงการ
3.1 เกษตรกรขายน้ านมดิบได้ราคาสูงกว่าท้องตลาดเพราะมีคุณภาพ
น้ านมดิบสูงกว่า เนื่องจากจานวนเซลล์เม็ดเลือดขาวลดลง เหลือไม่
เกิน 300,000 เซลล์/มล. ปริ มาณของแข็งรวมไม่นอ้ ยกว่า 12.5%
และจานวนจุลินทรี ยล์ ดลงเหลือไม่เกิน 300,000 โคโลนี/มล.
3.2 ระยะเวลาการผสมติดลดลงจาก 180 วัน เหลือ 140 วัน
3.3 ช่วงห่างการให้ลูกเหลือไม่เกิน 420 วัน
3.4 สัดส่วนแม่โครี ดนมต่อแม่โคแห้งนม 75:25
3.5 สัดส่วนแม่โคนมต่อฝูงโคนมเท่ากับ 60:40
24
ผลการดาเนินงานที่ผา่ นมา (ปี 2549-2553)
โครงการ
งบประมาณ
(ล้านบาท)
ผลการดาเนินงานในระดับผลลัพธ์
5. โครงการเพิ่มประสิ ทธิภาพ
การผลิต ลดต้นทุนการผลิต
เพิ่มมูลค่าโคนม และผลิตภัณฑ์
นมของสหกรณ์โคนมบ้านบึง
จากัด
(พฤศจิกายน 2551- พฤศจิกายน
2557)
8.27
1. สหกรณ์สามารถรวบรวมน้ านมดิบจากสมาชิกที่เข้าร่ วมโครงการได้
7.36 ตัน/วัน หรื อคิดเป็ นร้อยละ 80 ของเป้ าหมาย 9.2 ตัน/วัน
2. สหกรณ์มีกาไรจากการแปรรู ปน้ านมดิบเป็ นไอศกรี มเฉลี่ย 203,740 บาท
และมีกาไรจากการแปรรู ปเนื้อโคนมเพิ่มขึ้น 1.33 ล้านบาท/ปี
3. เกษตรกรได้รับปันผลจากกาไรในอัตราร้อยละ 5
6. โครงการเพิ่มประสิ ทธิภาพ
การผลิตและเพิ่มมูลค่าสุ กรของ
ชุมนุมสหกรณ์การปศุสัตว์ภาค
ตะวันออก จากัด
(มิถุนายน 2552-มิถุนายน 2555)
29.88
-ดาเนินการก่อสร้างศูนย์ผลิตอาหารสัตว์และจาหน่ายเนื้อสุ กร เสร็ จแล้ว
เมื่อเดือน ก.พ.53
-ดาเนินการฝึ กอบรมการแปรรู ปเนื้อสุ กร และการเพิม่ ประสิ ทธิภาพการ
เลี้ยงสุ กรแก่เกษตรกรแล้ว จานวน 640 ราย
-กิจกรรมอื่นๆ อยูร่ ะหว่างดาเนินการ เนื่องจากโครงการเพิ่งเริ่ มดาเนินการ
ช่วงปลายปี 2552
25
ผลการดาเนินงานที่ผา่ นมา (ปี 2549-2553)
โครงการ
7. โครงการปรับโครงสร้าง
สิ นค้าชา
( กุมภาพันธ์ 2551 กุมภาพันธ์ 2557)
งบประมาณ
(ล้านบาท)
ผลการดาเนินงานในระดับผลลัพธ์
6.82
1. เกษตรกรได้รับการอบรม GAP 178 ราย และได้รับการรับรองแปลง GAP
แล้ว 171 ราย
2. จัดทาศูนย์เรี ยนรู ้การผลิตชาอินทรี ยใ์ นพื้นที่ 20 ไร่
3. หลังมีโครงการ ผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ เพิ่มขึ้น
- ชาอัสสัมมีผลผลิตเฉลี่ยเพิ่มขึ้นจาก 376.84 กก./ไร่ เป็ น 409.61 กก./ไร่
เพิ่มขึ้น 32.77 กก./ไร่
-ชาจีนมีผลผลิตเฉลี่ยเพิ่มขึ้นจาก 466.15 กก./ไร่ เป็ น 492.25 กก./ไร่
เพิ่มขึ้น 26.10 กก./ไร่
4. เกษตรกรมีรายได้จากชาอัสสัมเพิ่มขึ้น 268 บาท/ไร่ และจากชาจีน 634
บาท/ไร่
5. เกษตรกรขายชาอัสสัมได้ราคาเพิม่ ขึ้นจาก 80 บาท/กก. เป็ น 120 บาท/กก.
และชาจีนอู่หลงจาก 400 บ./กก. เป็ น 800 บ./กก.
26
ผลการดาเนินงานที่ผา่ นมา (ปี 2549-2553)
โครงการ
งบประมาณ
(ล้านบาท)
8. โครงการเพิ่ม
ประสิ ทธิภาพการผลิต
ปาล์มน้ ามัน
(ธันวาคม 2550 –
ธันวาคม 2554)
19.85
ผลการดาเนินงานในระดับผลลัพธ์
1. จัดอบรมเกษตรกรผูป้ ลูกปาล์มน้ ามันแล้วจานวน 23,172 ราย ร้อยละ 116 จาก
เป้ าหมาย 20,000 ราย
2. เกษตรกรผูเ้ ข้ารับการอบรม
2.1 เกษตรกรผูเ้ ข้ารับการอบรมที่มีสวนปาล์มอยูแ่ ล้ว ร้อยละ 96 มีการ
นาความรู ้ไปปฏิบตั ิ
2.2 เกษตรกรรายใหม่ที่เข้ารับการอบรม ร้อยละ 63 มีการนาความรู ้ไป
ใช้ในการทาสวนปาล์ม
3. ทาให้ผลผลิตเฉลี่ยปาล์มน้ ามันของเกษตรกรผูเ้ ข้ารับการอบรมเพิ่มขึ้น
จาก 2,430 เป็ น 3,240 กก./ไร่ เพิ่มขึ้น 810 กก./ไร่
4. ต้นทุนการผลิตปาล์มน้ ามันของเกษตรกรผูเ้ ข้ารับการอบรมลดลงจาก
1,715 บาท/ตัน เป็ น 1,340 บาท/ตัน ลดลง 375 บาท/ตัน
5. รายได้สุทธิของเกษตรกรผูเ้ ข้ารับการอบรมเพิ่มขึ้น 3,064 บาท/ไร่ (ราคา
ปาล์มน้ ามันก่อนเริ่ มโครงการ อยูท่ ี่ 3.57 บ./กก. ช่วงที่ทาการสารวจราคา
ปาล์มน้ ามันอยูท่ ี่ 3.65 บ./กก. สารวจ ณ ปี 2552)
27
ผลการดาเนินงานที่ผา่ นมา (ปี 2549-2553)
โครงการ
9. โครงการปรับโครงสร้าง
สิ นค้ากาแฟแบบครบวงจร
( ธันวาคม 2552 –
ธันวาคม 2558)
งบประมาณ
(ล้านบาท)
ผลการดาเนินงานในระดับผลลัพธ์
54.44
1. อยูร่ ะหว่างดาเนินการฝึ กอบรมถ่ายทอดความรู ้การเพิ่มประสิ ทธิภาพการ
ผลิตและลดต้นทุนการผลิตกาแฟ โดยการฟื้ นต้นทาสาว
2. คาดว่าเมื่อสิ้ นสุ ดโครงการ
2.1 ผลผลิตของผูป้ ลูกกาแฟแปลงเดี่ยวเพิม่ จาก 200 กก./ไร่ เป็ นมากกว่า
250 กก./ไร่
2.2 ผลผลิตของผูป้ ลูกกาแฟร่ วมกับพืชชนิดอื่นเพิ่มจาก 143 กก./ไร่ เป็ น
180 กก./ไร่
2.3 ปริ มาณธุรกิจกาแฟของสถาบันเกษตรกรที่เข้าร่ วมโครงการต้อง
เพิ่มขึ้นไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 10 ของปริ มาณธุรกิจก่อนมีโครงการ
28
ผลการดาเนินงานที่ผา่ นมา (ปี 2549-2553)
โครงการ
งบประมาณ
(ล้านบาท)
10. โครงการเพิ่ม
ศักยภาพการผลิตข้าว
และสร้างความเข้มแข็ง
ให้ชาวนาเพื่อรองรับ
ผลกระทบจากการเปิ ด
เสรี การค้าอาเซียน
(AFTA)
( ตุลาคม 2553 ตุลาคม2556)
128.90
ผลการดาเนินงานในระดับผลลัพธ์
-คณะกรรมการบริ หารกองทุนฯ อนุมตั ิโครงการเมื่อวันที่ 3 มิถุนายน 2553
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. ได้ตน้ แบบของการสร้างเครื อข่ายของศูนย์ขา้ วชุมชนหลักและศูนย์ขา้ วชุม
ชมเครื อข่ายเพื่อเตรี ยมความพร้อมรองรับการเปิ ดเสรี การค้าอาเซียน
2. ได้ตน้ แบบการสร้างชาวนาชั้นนา ชาวนารุ่ นใหม่ ยุวชาวนา ฯลฯ
3. มีเมล็ดพันธุ์ขา้ วคุณภาพดีในชุมชนเพิ่มขึ้น ปี ละ 2,750 ตัน กระจายใน
ชุมชนปี ละ 180,000 ไร่
4. เกษตรกร จานวน 1,100 ครัวเรื อน มีรายได้จากการจาหน่ายเมล็ดพันธุ์
เพิ่มขึ้นครัวเรื อนละ 5,000 บาท คิดเป็ นเงิน 5.5 ล้านบาท/ปี และผลผลิต
เพิ่มขึ้นปี ละ 14,400 ตัน (ไร่ ละ 80 กิโลกรัม) คิดเป็ นมูลค่า 140 ล้านบาท
และต้นทุนการผลิตข้าวที่ลดลงประมาณ 20% ทาให้ขา้ วไทยสามารถ
แข่งขันด้านราคากับ ข้าวที่นาเข้าจากประเทศเพื่อนบ้านได้
29
ผลการดาเนินงานที่ผา่ นมา (ปี 2549-2553)
โครงการ
11. โครงการเพิ่ม
ประสิ ทธิภาพการผลิต
และเพิ่มมูลค่าสุ กรของ
สหกรณ์ผเู ้ ลี้ยงสุ กร
อุตรดิตถ์ จากัด
(กุมภาพันธ์ 2554 กุมภาพันธ์ 2561)
งบประมาณ
(ล้านบาท)
7.48
ผลการดาเนินงานในระดับผลลัพธ์
-คณะกรรมการบริ หารกองทุนฯ อนุมตั ิโครงการเมื่อวันที่ 4 ส.ค. 2553
-ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. สมาชิกสหกรณ์ และเกษตรกรผูเ้ ลี้ยงสุ กรได้รับการพัฒนาเพื่อปรับปรุ ง
ประสิ ทธิภาพการผลิตสุ กรให้สูงขึ้น ต้นทุนการผลิตลดลง
มีคุณภาพซากตามความต้องการของตลาด
2. สมาชิกสหกรณ์ผเู ้ ลี้ยงสุ กรมีการเชื่อมโยงการดาเนินธุรกิจระหว่างกัน
3. ผูบ้ ริ โภคมีความเชื่อมัน่ คุณภาพสุ กรของสมาชิกสหกรณ์ และ
เกษตรกรผูเ้ ลี้ยงสุ กร
30
สถานะการเงินกองทุนปรับโครงสร้ างการผลิตภาคเกษตร
รายรับ
ลานบาท
้
ปี 2549
จานวน
ลานบาท
้
ปี 2550
จานวน
ลานบาท
้
ปี 2551
จานวน
ลานบาท
้
ปี 2552
จานวน
ลานบาท
้
ปี 2554
จานวน
รายจาย
่
ลานบาท
้
ปี 2549
ลานบาท
้
กระเทียม
ลานบาท
้
คาใช
หารกองทุนฯ
่
้จายบริ
่
ลานบาท
้
ปี 2550
ลานบาท
้
(โคเนื้อ,ชา,ปาลมน
์ ้ามัน)
ปี 2551
โคนม 2 โครงการ
ลานบาท
้
640
200
100
100
140
100
259.16
0.95
0.45
0.49
52.05
16.0531
แผนปฏิบัตงิ านปี งบประมาณ 2554
1. ผลักดันช่ วยเหลือสถาบันเกษตรกรผู้ผลิตสิ นค้ าที่ได้ รับผลกระทบจาก FTA ต่ อเนื่องจากปี 2553
1.1 ปาล์มน ้ามัน
1.2 ข้ าว
2. จัดทาแผนปรั บปรุ งการให้ บริการของกองทุนฯ โดย
2.1 ลดขันตอนการเสนอขอรั
้
บเงินสนับสนุนจากกองทุนฯ
2.1.1 ทบทวนกระบวนการทางานที่ก่อให้ เกิดความล่าช้ า
2.1.2 จัดหาแหล่งเงินทุนจัดจ้ าง out source ช่วยเขียนโครงการให้ สถาบันเกษตรกร
2.2 ประชาสัมพันธ์เชิงรุกต่อเนื่องจากปี 2553
2.2.1 จัดประชุมเชิงปฏิบตั ิการ/สัมมนาทังส่
้ วนกลาง/ส่วนภูมิภาค
2.2.2 ผ่านสื่อสิ่งพิมพ์/วิทยุ/โทรทัศน์
2.2.3 ผ่าน Web Site
2.3 พัฒนาทักษะความรู้ความสามารถของเจ้ าหน้ าที่กองทุนฯ
32
3. สนับสนุนโครงการทีไ่ ด้ เสนอขอรับการช่ วยเหลือจากกองทุนฯ อีก จานวน 8 โครงการงบประมาณ
624.15 ล้ านบาท ดังนี้
ที่
ชื่อโครงการ
งบประมาณ
สถานภาพปัจจุบัน
1
โครงการส่ งเสริ มการปลูกปาล์มน้ ามันพันธุ์ดีทดแทนสวนเก่าเพื่อรองรับ
ผลกระทบจากการเปิ ดเสรี ทางการค้า FTA
99.99
ผ่านความเห็นชอบจากคณะอนุกรรมการกลัน่ กรองฯ เมื่อวันที่ 21
ธันวาคม 53 อยูร่ ะหว่างการนาเสนอคณะกรรมการบริ หารฯพิจารณา
อนุมตั ิโครงการ
2
โครงการยกระดับการผลิตข้าวสารคุณภาพภายใต้ห่วงโซ่อุปทานเพิ่มขีด
ความสามารถในการแข่งขันและลดผลกระทบจากการเปิ ดการค้าเสรี
อาเซี ยน (AFTA)
350.93
ประชุมพิจารณาความเป็ นไปได้ของโครงการเมื่อวันที่ 7 พ.ค. 53 ขณะนี้
อยูร่ ะหว่างการปรับปรุ งรายละเอียดโครงการ
3
โครงการปรับโครงสร้างการผลิตสิ นค้าปลากะพงขาว
3.70
ประชุมพิจารณาความเป็ นไปได้ของโครงการเมื่อวันที่ 7 พ.ค. 53 ขณะนี้
อยูร่ ะหว่างการปรับปรุ งรายละเอียดโครงการ
4
โครงการเพิ่มประสิ ทธิ ภาพการผลิตส้มของเกษตรกรผูป้ ลูกส้มที่ได้รับ
ผลกระทบจากการเปิ ดเสรี การค้า
7.29
ประชุมพิจารณาความเป็ นไปได้ของโครงการเมื่อวันที่ 7 พ.ค. 53 และเมื่อ
วันที่ 12 ธันวาคม 53 ขณะนี้อยูร่ ะหว่างการปรับปรุ งรายละเอียดโครงการ
5
โครงการเพิ่มประสิ ทธิ ภาพการผลิตและเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์จากเนื้อโค
ขุนมาตรฐานฮาลาล
55.00
ประชุมพิจารณาความเป็ นไปได้เมื่อวันที่ 23 ส.ค.53 ขณะนี้อยูร่ ะหว่าง
ปรับปรุ งรายละเอียดโครงการ
6
โครงการนาร่ องการเลี้ยงโคนมทดแทนในระบบชีวภาพ (วัวหลุม)
6.35
อยูร่ ะหว่างนาเสนอคณะอนุกลัน่ กรองฯ พิจารณาในวันที่ 21 มีนาคม 54
7
โครงการผลิตเมล็ดพันธุ์ขา้ วคุณภาพดีของสหกรณ์เพื่อเพิ่มขีด
ความสามารถการแข่งขันของข้าวไทย
55.89
อยูร่ ะหว่างนาเสนอคณะอนุกลัน่ กรองฯ พิจารณาในวันที่ 21 มีนาคม 54
8
โครงการจัดตั้งโรงฆ่าโคมาตรฐานและการถ่ายทอดเทคโนโลยีดา้ นการ
ผลิตเนื้อโคขุนคุณภาพสูง
45.00
ประชุมพิจารณาความเป็ นไปได้เมื่อวันที่ 24 กพ.53 และเมื่อวันที่ 23
33
ส.ค.53 ขณะนี้อยูร่ ะหว่างปรับปรุ งรายละเอียดโครงการ
34