16 - สำนัก ส่งเสริม และ พัฒนา การเกษตร เขต ที่ 1 จังหวัด ชัยนาท
Download
Report
Transcript 16 - สำนัก ส่งเสริม และ พัฒนา การเกษตร เขต ที่ 1 จังหวัด ชัยนาท
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
และผลกระทบต่อสินค้าเกษตรไทย
1
ประชาคมอาเซียนกับภาคเกษตร
ประชาคมอาเซียน
(ASEAN Community)
ประชาคม
การเมือง
ความมันคง
่
(APSC)
ประชาคม
เศรษฐกิจ
(AEC)
ประชาคม
สังคม
วัฒนธรรม
(ASCC)
การขจัดความยากจน ตลาดและฐานการผลิตเดียว ความมันคงด้
่
านอาหาร
ความร่วมมือด้านอาหาร เกษตร และป่ าไม้
2
ความสาคัญของอาเซียนต่อไทย
• เป็ นกลไกสร้างความไว้เนื้ อเชื่อใจ รักษาสันติภาพและ
เสถียรภาพในภูมิภาค เอื้ ออานวยต่อการพัฒนาทางเศรษฐกิจ
ของไทย
• เป็ นคู่คา้ สินค้าเกษตร (รวมยางพารา) อันดับหนึง่ ของไทย มี
มูลค่าการส่งออก 265,674 ล้านบาท หรือ 19 % ของมูลค่า
ส่งออกสินค้าเกษตรทั้งหมดของไทย (ปี พ.ศ. 2554)
3
ตลาดส่ งออกสิ นค้าเกษตรสาคัญของไทย ปี 2554
สัดส่วน (%)
ตลาดส่งออกของไทย
ล้ านบาท
สหภาพยุโรป (27)
150,111
11
สหรัฐฯ
155,317
11
ญี่ปุ่น
194,669
14
อาเซียน (9)
265,674
19
อื่นๆ
618,824
45
รวม
1,384,595
100
หมายเหตุ: สินค้ าเกษตรหมายถึง สินค้ าในพิกดั ศุลกากรตอนที่ 01-24 และยางพารา พิกดั 4001
ที่มา: กรมศุลกากร
เป้าหมายของ AEC : ปี 2558
จะเกิดอะไรขึน้ ใน AEC 2558
สินค้ า
บริการ
การลงทุน
แรงงานฝี มือ
เงินทุน
ความร่ วมมือ
ภาษีนาเข้ าเป็ นศูนย์/อุปสรรคนาเข้ าลดลง
ทาธุรกิจบริ การระหว่างประเทศสมาชิกในอาเซียนได้ เสรี ยิ่งขึ ้น
การลงทุนในอาเซียนมีอปุ สรรคน้ อยลง
การเคลื่อนย้ ายแรงงานฝี มือเป็ นไปอย่างเสรี ยิ่งขึ ้น (เปิ ดแล้ ว 7 สาขา)
(ความตกลงอาเซียนไม่คลุมถึงแรงงานไม่มีฝีมือรวมถึงแรงงานเกษตร)
การเคลื่อนย้ ายเงินทุนเสรี ยิ่งขึ ้น
ความมัน่ คงด้ านอาหาร เกษตร ป่ าไม้ และ ASEAN Connectivity ฯลฯ
ทีม่ า: กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ
AEC: การเป็ นตลาดและฐานผลิตเดียวกัน
ปรับประสานระบบการกักกันและวิธีการตรวจสอบการสุ่มตัวอย่าง และ
จัดทามาตรการด้านสุขอนามัยและสุขอนามัยพืชสาหรับผลิตภัณฑ์เกษตร
อาหาร และป่ าไม้ ที่มีความสาคัญและมีศกั ยภาพทางการค้า ภายในปี 2553
จัดตัง้ ASEAN Committee on Sanitary and Phytosanitary Measure
ปรับประสานระดับปริมาณสารพิษตกค้างสูงสุดในอาหารที่ยอมรับให้มีได้
ของ ยาฆ่าแมลงในผลิตภัณฑ์ที่มีการค้าอย่างแพร่หลาย ให้สอดคล้อง
กับแนวทางหรือมาตรฐานสากล ภายในปี 2553
กาหนดค่าสารพิษตกค้างสูงสุด (MRLs) ไปแล้วทัง้ สิ้น 826 ค่า
7
Positioning ของภาคเกษตร
8
การค้าสินค้าเกษตรระหว่างไทยกับตลาดโลก
ที่มา : กรมศุลกากร
หมายเหตุ : สินค้าเกษตรพิกดั ศุลกากรที่ 1-24
9
การค้าสินค้าเกษตรไทยกับอาเซียน ปี 2554
การนาเข้ า
- สินค้าเกษตรและผลิตภัณฑ์ทีม่ ี
มูลค่าการนาเข้าสูงสุด 5
อันดับแรก ได้แก่
• ปลาทะเล
• โอเลอินหรือสเตียรินของเนื้ อใน
เมล็ดปาล์ม และน้ ามันปาล์มดิบ
• อาหารปรุงแต่งใช้เลี้ ยงทารก
ที่ทาจากนมและผลิตภัณฑ์
• กาแฟสาเร็จรูป
• รังนก
- สินค้าเกษตรและผลิตภัณฑ์ทีม่ ี
การขยายสัดส่วนปริมาณและมูลค่า
การนาเข้ามากขึ้ น5 อันดับแรก
เมือ่ เทียบกับปี 2553 ได้แก่
• เนื้ อสัตว์แช่แข็ง (โค กระบือ สุกร แกะ)
• ไม้ตดั ดอก
• มะพร้าว ผลสด/แห้ง
• น้ ามันปาล์มดิบ* (ม.ค.-มี.ค. 54)
• สัตว์มีชีวิต (โค กระบือ)
ผลกระทบ AEC ต่อภาคเกษตร
และการเตรียมการสู่ AEC
11
ผลประโยชน์จากการเป็ น AEC
ไทยส่งออกสินค้าเกษตรได้มากขึ้ น เนือ่ งจากภาษีทีล่ ดลง และอาเซียน
เป็ นตลาดใหญ่ทีม่ ีประชากรเกือบ 600 ล้านคนซึ่งสาคัญสาหรับไทย
(สินค้าส่งออกสาคัญ เช่น ข้าว น้ าตาล นมและผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์
มันสาปะหลัง ไก่แปรรูป อาหารแปรรูป สิง่ ปรุงรสอาหาร เป็ นต้น)
สินค้าวัตถุดิบนาเข้าราคาถูก ทาให้ลดต้นทุนการผลิตเพือ่ ส่งออก
(เช่น ปลา และสัตว์น้ า)
เสริมสร้างโอกาสในการลงทุน เช่น ขยายกิจการ ย้ายฐานการผลิต
เกิดการพัฒนาและสร้างนวัตกรรมในสินค้าและบริการ
มีการพัฒนาและเพิม่ คุณภาพบุคลากร/แรงงาน ลดช่องว่างการพัฒนา
ทางเศรษฐกิจ เพิม่ อานาจการซื้ อ
12
ประเด็นคุกคามจากการเป็ น AEC
เกษตรกรบางสาขาอาจได้รบั ผลกระทบด้านราคาสินค้าตกตา่
เมือ่ มีการนาเข้าสินค้าราคาถูกจากอาเซียน 9 ประเทศ
อุตสาหกรรมเกษตรทีม่ ีประสิทธิภาพการผลิตตา่ อาจแข่งขันไม่ได้
มาตรการด้านสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช (SPS) และความปลอดภัย
ด้านอาหาร จะถูกหยิบยกมาเป็ นเงือ่ นไขในการค้ามากขึ้ น
นักลงทุนอาเซียนเข้ามาลงทุนในประเทศไทยมากขึ้ น ผูป้ ระกอบการ
ต้องเผชิญกับการแข่งขันทีส่ ูงขึ้ น
แรงงานมีฝีมือของไทยอาจเคลือ่ นย้ายออกไปตลาดต่างประเทศ
ทีม่ ีค่าตอบแทนสูงกว่า
13
10 ประเด็นข้าวไทยสูเ้ วียดนามไม่ได้ในอาเซียน
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
10.
เวียดนามมีผลผลิตต่อไร่สงู
เวียดนามมีตน้ ทุนผลิตข้าวต่ากว่า และได้กาไรสูงกว่าไทย
รัฐบาลเวียดนามให้ชาวนาทาตามนโยบาย 3 ลด 3 เพิม่
ไทยสูญเสียตลาดข้าวในอาเซียนให้กบั เวียดนาม
ราคาส่งออกข้าวเวียดนามถูกกว่าไทย
การทาตลาดข้าวเวียดนามแบบทีมเดียวและรุกตลาดข้าวคุณภาพ
เวียดนามร่วมมือกับประเทศเพือ่ นบ้านในการผลิตข้าว
มาตรการลดต้นทุนการผลิตให้กบั ชาวนาเวียดนาม
นโยบาย 30% เพือ่ ชาวนา
รัฐบาลเวียดนามมีการจัดตัง้ ตลาดค้าข้าวและคลังสินค้าในต่างประเทศ
ที่มา: ฮัทธ์ พิเศาลวานิช และคณะ ศูนย์ศึกษาการค้าระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
เปรี ยบเทียบข้าวเวียดนามกับไทย
ข้าว
เวียดนาม
ไทย
ผลผลิต (กก/ไร่)
862
488
4,979
5,800
9,622
7,333
(ปี 2553/54)
ต้นทุน (บาท/ไร่)
(ปี 2551)
รายรับ (บาท/ไร่)
(ปี 2551)
ที่มา: ฮัทธ์ พิเศาลวานิช และคณะ ศูนย์ศึกษาการค้าระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
ผลกระทบทางลบ
มาตรการทีม่ ิใช่ภาษีหลายรูปแบบถูกใช้มากขึ้ น
• การขออนุ ญาตนาเข้า (Import License)
• การกาหนดใช้ลงั พลาสติกของมาเลเซียเป็ นภาชนะบรรจุปลานาเข้า
• การกาหนดให้หน่วยงานเฉพาะของรัฐเป็ นผูน้ าเข้า เช่น มาเลเซียกาหนดให้
Bernas เป็ นผูน้ าเข้าข้าวแต่เพียงผูเ้ ดียว
• การขออนุ ญาตจากหน่วยงานทีด่ ูแลก่อนการนาเข้า
• กาหนดด่าน/ท่าเรือในการนาเข้าสินค้า เช่น อินโดนีเซีย
• การบังคับใช้มาตรการสุขอนามัยและสุขอนามัยพืชทีเ่ ข้มงวด
การเตรียมความพร้ อมเข้ าสู่ AEC
เกษตรกร
ผลิตของดี มีคุณภาพ ได้มาตรฐาน
และราคาถูก
ลดต้นทุนการผลิต (จึงจะสามารถ
แข่งขันได้)
ปรับโครงสร้างการผลิตโดยขอใช้
เงินกองทุน FTA ของ กษ. ถ้าได้รบั
ผลกระทบจากการเปิดเสรี
ผูป้ ระกอบการ
• สร้างความแตกต่างให้กบั สินค้า และ เน้นคุณภาพเป็ นหลัก
• รุกและขยายตลาดสินค้าทีไ่ ทยได้เปรียบ เช่น ข้าว ผลไม้
น้าตาล
• ลดต้นทุนการผลิต อาทิ ใช้วตั ถุดบิ นาเข้าราคาถูกจากสมาชิก
อาเซียน
• ปรับภาพลักษณ์บรรจุภณ
ั ฑ์
• ใช้เทคโนโลยีในการยืดอายุสนิ ค้าเกษตรหลังเก็บเกีย่ ว
• สร้างเครือข่ายพันธมิตรทางธุรกิจ
การเตรียมความพร้ อมเข้ าสู่ AEC
(บทบาทภาครัฐ)
เชิงรับ(เพือ่ การป้องกันผลกระทบจากการนาเข้า)
• การบริหารการนาเข้า เช่น
กาหนดให้เป็ นสินค้าที่ตอ้ งขอหนังสือรับรองนาเข้าและกาหนดคุณสมบัติผูน้ าเข้า
กาหนดมาตรฐานการผลิต เช่น ต้องมีใบรับรองปริมาณสารพิษตกค้าง
กาหนดมาตรการสุขอนามัย(SPS) ที่เข้มงวด เช่นต้องแสดงใบรับรองสุขอนามัย
จากหน่วยงานที่เชื่อถือได้ในประเทศต้นทาง (อย.)
ตรวจเข้มใบรับรองถิน
่ กาเนิดสินค้า (กรมศุลกากร)
กาหนดด่านนาเข้า (ให้นาเข้าเฉพาะด่านอาหารและยาและด่านตรวจพืช)
กาหนดช่วงเวลานาเข้า
• การปราบปรามการลักลอบนาเข้า/ การนาเข้าทีผ
่ ิดกฎหมาย
• ใช้มาตรการปกป้องพิเศษ (เก็บค่าธรรมเนียมปกป้อง)
การเตรียมความพร้อมเข้าสู่ AEC
(บทบาทภาครัฐ)
เชิงรุก (เพือ่ เพิม่ โอกาสส่งออก/มันคงด้
่
านอาหาร)
• สนับสนุ นการรวมกลุ่มเกษตรกร
• ลดต้นทุนการผลิต เพิม่ ประสิทธิภาพ
การผลิต (ระบบน้ า/ระบบชลประทาน
ปุ๋ ย วิจยั และพัฒนาพันธุด์ ี)
• พัฒนาคุณภาพมาตรฐานสินค้าเกษตร
สู่สากล
• สนับสนุ นผูผ้ ลิตรายย่อยเข้าสู่ระบบ
มาตรฐานสินค้าปลอดภัยต่างๆ
อาทิ GAP, GAHP, GHP, GMP,
HACCP เป็ นต้น
• สร้างมูลค่าเพิม่ และผลิตสินค้า
ที่หลากหลายเพือ่ เพิม่ ศักยภาพ
การแข่งขันในตลาดโลก
• ถ่ายทอดความรูแ้ ละเทคโนโลยี
ที่เหมาะสมให้กบั เกษตรกร
• เร่งปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตร
โดยใช้เงินกองทุน FTA
• ส่งเสริมการทาเกษตรตามแนวปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียง เพือ่ สร้างภูมิคุม้ กัน
ให้เกษตรกร
แนวทางเพิม่ ความสามารถในการแข่งขัน
(บทบาทภาครัฐ)
•
•
•
•
ท่ามกลางการแข่งขันที่รุนแรงขึ้ น จาเป็ นต้องให้ความสาคัญกับการพัฒนา
คุณภาพและมาตรฐานของสินค้าเกษตรและอาหารเพือ่ เพิม่ ความสามารถใน
การแข่งขัน โดยการ
กาหนดมาตรฐานสินค้าอาเซี ยนเพือ่ ยกระดับคุณภาพสินค้า ควบคู่ไปกับ
การกาหนดมาตรฐานบังคับสาหรับสินค้านาเข้าเพือ่ ป้องกันการนาเข้าสินค้าที่
ด้อยคุณภาพจากต่างประเทศ
เพิม่ ความเข้มงวดการตรวจสอบรับรองและควบคุมด้านมาตรฐานและความ
ปลอดภัยของสินค้านาเข้า และ
เร่งรัดการจัดตั้งระบบเฝ้ าระวัง/เตือนภัยผลิตภัณฑ์ที่ไม่ปลอดภัย
ต่อผูบ้ ริโภค
แนวทางการเตรียมความพร้อมเข้าสู่ AEC ของภาคเกษตร
แนวทางรองรับการเปิ ดเสรีการค้าบริการ การลงทุน และแรงงาน
• กระตุน้ และเร่งรัดให้ผูป้ ระกอบการใช้ประโยชน์จาก AEC โดยเข้าไปลงทุน
ทั้งเรือ่ งการผลิตสินค้าและบริการในประเทศอาเซียน เพือ่ สร้างความ
ได้เปรียบการแข่งขัน ด้านต้นทุนการผลิต แรงงาน วัตถุดิบ หรือ
ต้นทุนโลจิ สติกส์
• เตรียมความพร้อมของบุคลากร/แรงงานมีฝีมือให้มีความรูด้ า้ น
ภาษาอังกฤษและภาษาในอาเซียนอื่นทีจ่ าเป็ น
• ภาครัฐต้องเป็ นผูส้ นับสนุน อานวยความสะดวกด้านการค้าและเน้นการวิจยั
และพัฒนา สร้างความเข้าใจเพือ่ เตรียมความพร้อมและปรับตัวรองรับการ
เปิ ดเสรีเต็มรูปแบบ
21
สรุปแนวทางการเตรียมความพร้อมเข้าสู่ AEC ของภาคเกษตรไทย
ทีม่ า : อภิชาติ พงษ์ศรีหดุลชัย, 2553
ภาครัฐ
เชิง รับ
ให้ขอ้ มูล /
ถ่ายทอด
ความรู ้
เกษตรกร
+
ผูป้ ระกอบการ
เชิง รุก
(1) ป้องกัน
SSG
(2)ปราบปราม
(บริหารการนาเข้า)
(มาตรการระงับการนาเข้า
กรณีนาเข้าที่ผิดปกติ)
(การลักลอบ/ผิดกฎหมาย)
(ปรับโครงสร้างการผลิต
(3)ปรับโครงสร้าง
โดยขอรับการสนับสนุ นจาก
กองทุน FTA กองทุน FTA ของกษ.)
(ประสิทธิภาพการผลิต)
(4) ปรับปรุง
(คุณภาพของผลผลิต)
(5) ไปนอก
(ภาพลักษณ์ของสินค้า)
ลงทุนนอกประเทศ
22
เป็ น Traders (ซื้ อมา(แปรรูป)/ขาย
การปรับตัวเพือ่ เตรียมเข้าสู่ AEC ของภาคราชการ
Structural Change
ปรับโครงสร้าง
Mindset
Change
เปลี่ยนมุมมอง
Learning
เร่งเรียนรู้
23
การวิเคราะห์
ได้ เปรี ยบและพร้ อม
ได้ เปรี ยบแต่ ไม่ พร้ อม
สินค้ า
อ้ อย นา้ ตาล ผักผลไม้ กระป๋อง : สับปะรด ลาไย และทุเรี ยน
ยางพารา
มีศักยภาพในการส่ งออก
มีค่ แู ข่ งขัน
ขาดงานวิจัยและพัฒนา
การแปรรู ป
ข้ าว
มีศักยภาพในการส่ งออก
ผลผลิตต่ อไร่ ต่ากว่ าคู่แข่ ง
การวิเคราะห์
เสียเปรี ยบแต่ พร้ อม
สินค้ า
มันสาปะหลัง มีพันธุ์ดี
มีพนื ้ ที่
ปลูกมาก
มีโรงงาน
แปรรูป
ที่ทนั สมัย
มีต้นทุนสูง
สถานะ
ศักยภาพการแข่ งขัน
1. Star
เป็ นสินค้ าทีไ่ ทยเป็ นประเทศผู้ผลิตและส่ งออกรายใหญ่ ทสี่ ุดในอาเซียน ความต้ องการสินค้ าในตลาด
อาเซียนอยู่ในระดับสูง ซึง่ พิจารณาจากอัตราการขยายตัวในการนาเข้ าสินค้ าของประเทศไทยในอาเซียน
และพิจารณาความสามารถในการแข่ งขัน ซึง่ อยู่ในระดับสูงเมื่อเทียบกับคู่แข่ ง
1.1 สับปะรดกระป๋อง และนา้
สับปะรด
- เป็ นสินค้ าที่มีส่วนแบ่ งการตลาดสูงถึงร้ อยละ 52 และมีแนวโน้ มเพิ่มขึน้
โครงสร้ างการผลิ ต ของไทยมุ่ ง เน้ น การแปรรู ป เป็ นผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ พื่ อ การ
ส่ งออกสู งถึงร้ อยละ 95 และทรั พยากรของไทยยังมีความอุ ดมสมบูรณ์
โดยเฉพาะดิ น ส่ วนปริ มาณน ้า ฝนอยู่ ในระดั บ เหมาะสมต่ อการ
เจริญเติบโตของสับปะรด สาหรับสับปะรดกระป๋องของไทยมีคุณภาพและ
ได้ มาตรฐาน รวมทัง้ มีการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ อย่ างต่ อเนื่อง
สถานะ
ศักยภาพการแข่ งขัน
1.2 มังคุด
- สภาพแวดล้ อมเหมาะสมต่ อการเพาะปลูก คุณภาพได้ มาตรฐานเป็ นที่ยอมรั บมี
การรวมกลุ่มและสร้ างเครื อข่ ายการผลิตจนถึงการส่ งออก มีการวิจัยและพั ฒนา
เพื่อเพิ่มมูลค่ า รวมทัง้ มีโครงสร้ างการผลิตที่ดี
1.3 ลาไย
- สภาพแวดล้ อมเหมาะสมต่ อการเพาะปลูก คุณภาพดีได้ มาตรฐานเป็ นที่ยอมรั บ
ของตลาดอาเซียน และสามารถผลิตนอกฤดูได้ มีการวิจัยและพัฒนาสายพันธุ์
ให้ ได้ ผลผลิตที่มีคุณภาพเป็ นที่ต้องการของตลาด มีการรวมกลุ่มของเกษตรกร
ที่เข้ มแข็ง
1.4 อ้ อยโรงงาน
(นา้ ตาลทราย)
- มีความสามารถในการแข่ งขันเหนื อประเทศอื่นๆ ในอาเซียน ในหลายด้ าน
เช่ น มีเทคโนโลยีการผลิตที่ทันสมัย มีข้อได้ เปรี ยบด้ านโลจิสติกส์ แต่ มีผลผลิตต่ อ
ไร่ ต่า และต้ นทุนที่สูงกว่ าประเทศอื่น รวมทัง้ เกษตรกรรายย่ อยขาดการรวมกลุ่ม
สถานะ
ศักยภาพการแข่ งขัน
2. Opportunity
เ ป็ น สิ น ค้ า ที่ มี อ น า ค ต เ นื่ อ ง จ า ก มี ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ท า ง ก า ร ต ล า ด สู ง แ ล ะ มี ศั ก ย ภ า พ
ในการสร้ างรายได้ แต่ มีขีดความสามารถในการแข่ งขันปานกลาง โดยมีปัญหาที่เกิดจากห่ วงโซ่ มูลค่ าในบางส่ วน สินค้ าที่อยู่ใน
ตาแหน่ งนี้
2.1 มันสาปะหลัง
- มี โ รงงานแปรรู ป ที่ ทั น สมั ย และมาตรฐานการส่ ง ออกที่ ดี
ในขณะที่ต้นทุนยังคงสูงอยู่เมื่อเทียบกับเวียดนาม แต่ มีการ
วิจัยและพัฒนาอย่ างสม่ าเสมอทัง้ ในเรื่ องการพัฒนาสายพันธุ์
ที่ดกี ารป้องกันกาจัดศัตรู พชื และวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว
สถานะ
ศักยภาพการแข่ งขัน
2.2 กาแฟ
สาเร็จรูป
- วั ต ถุ ดิ บ มี คุ ณ ภ า พ มี เ ท ค โ น โ ล ยี ก า ร ผ ลิ ต ที่ ทั น ส มั ย
มี ก า ร วิ จั ย แ ล ะ พั ฒ น า ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ สิ น ค้ า ไ ด้ ม า ต ร ฐ า น
แต่ ต้นทุนการผลิตยังสูงอยู่ และระบบการขนส่ งยังไม่ ดี ความต้ องการบริ โภคในประเทศยัง
ไม่ มากเพราะคนไทยนิยมบริโภคกาแฟนาเข้ าจากต่ างประเทศ
สถานะ
ศักยภาพการแข่ งขัน
3. New Wave
เป็ นสิ นค้ า ที่ตลาดมีความต้ องการสู ง แต่ มีขีดความสามารถในการ
แข่ งขันอยู่ในระดับต่าในทุกๆ ด้ านของห่ วงโซ่ มูลค่ า ต้ องมีการพัฒนา
หรือปรั บตัวให้ สามารถแข่ งขันได้ ดขี ้นึ
3.1 สับปะรดสด
- มีเพี ยงความอุ ด มสมบูร ณ์ ข องทรั พยากรธรรมชาติท่ ีค่อ ยข้ างดี
ในขณะที่ต้ น ทุ น สู ง การผลิ ต ต่ อ ไร่ ต่ า การวิ จัย และพัฒนามี น้ อ ย
โครงสร้ างการผลิตส่ วนใหญ่ เพื่อการแปรรู ป มีเพียงร้ อยละ 3 เพื่อ
การบริโภคผลสด
สถานะ
3.2 มะม่ วง
ศักยภาพการแข่ งขัน
- ไทยมีส่วนแบ่ งในตลาดอาเซียน ร้ อยละ 80 - 920 มีสภาพแวดล้ อมเหมาะสมต่ อการ
เพาะปลูก เป็ นที่ยอมรั บของตลาด การผลิตและการส่ งออกได้ มาตรฐาน GAP และ GMP
ต้ นทุนการผลิ ตสู ง แต่ ระบบการชลประทานและเทคโนโลยีการผลิต ไม่ ดี การวิ จัยและ
พัฒนามีน้อย
สถานะ
ศักยภาพการแข่ งขัน
4. Falling Star
เป็ นสิ น ค้ า ที่มี ค วามต้ อ งการทางการตลาดต่า แต่ มี ค วามสามารถ
ในการแข่ งขัน อยู่ในเกณฑ์ ดีทุกส่ วนของห่ วงโซ่ มูลค่ า จึงต้ องพัฒนาและ
เพิ่มช่ องทางการตลาดเพื่อปรั บตัวให้ อยู่รอด หรือปรั บเปลี่ยนการผลิต
4.1 ยางพารา
- คุ ณ ภาพมาตรฐานสิ น ค้ า ดี ส่ ว นแบ่ ง ตลาดในอาเซี ย นยั ง ดี อ ยู่
ภาครั ฐ ยัง ให้ การสนั บสนุ น การผลิ ต วิ จัย และพัฒนา เกษตรกรมี
ความชานาญในการเพาะปลูก แต่ ต้นทุนยังสูง การสร้ างมูลค่ าเพิ่ม
น้ อย ส่ วนใหญ่ ส่งออกในรูปแบบสินค้ าขัน้ ปฐม
สถานะ
ศักยภาพการแข่ งขัน
4.2 ทุเรี ยน
- ผลผลิ ต ได้ ม าตรฐานที่ ดี มี ก ารวิ จั ย และพั ฒ นา
เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของผลผลิต แต่ ต้นทุ นการ
ผลิ ต สู ง และระบบชลประทานที่ ไ ม่ ดี ส่ ง ออกได้
น้ อยเพราะความต้ องการในอาเซียนอยู่ในระดับต่า
สถานะ
ศักยภาพการแข่ งขัน
5. Question Mark
เป็ นสินค้ าที่มีความต้ องการทางการตลาดต่า แม้ จะมีความสามารถ
ในการแข่ งขัน อยู่ในเกณฑ์ ปานกลาง เพราะมีปัญหาที่เกิดจากองห่ วงโซ่
มูลค่ าบางส่ วน จาเป็ นต้ องปรั บให้ อยู่รอด หรือปรั บเปลี่ยนการผลิต
5.1 ข้ าว
- โครงสร้ างการผลิตและมาตรฐานการผลิตสินค้ าที่ดี สภาพภูมิประเทศ
เหมาะสมที่จะปลูกข้ าว รวมถึง ภาพลักษณ์ ของสินค้ าที่ดีมีการวิจัยและ
พัฒนาอย่ างต่ อเนื่อง รวมถึงไทยยังเป็ นแหล่ งส่ งออกข้ าวรายใหญ่ ของโลก
ซึ่งมีค่ ูแข่ งสาคัญ คือ เวียดนาม แต่ ต้นทุนการผลิตสูง ผลผลิตต่ อไร่ ต่า
สถานะ
ศักยภาพการแข่ งขัน
5.2 ข้ าวโพด
เลีย้ งสัตว์ (Grain)
- มีการวิจัยและพัฒนาอย่ างต่ อเนื่อง รวมถึงมีเทคโนโลยีก ารผลิต
และมาตาฐานสิ น ค้ าดี เป็ นที่ยอมรั บของตลาด ภาครั ฐ ยังให้ การ
สนั บสนุ น แต่ ผลผลิ ต ต่ อไร่ ต่ า ต้ น ทุ น สู ง ความอุ ด มสมบูร ณ์ ข อง
ทรัพยากรยังสู่เพื่อบ้ านเช่ น ลาว ไม่ ได้
5.3 ข้ าวโพด
เลีย้ งสัตว์ (Seed)
- ภ า พ ลั ก ษ ณ์ แ ล ะ ร ะ บ บ โ ล จิ ส ติ ก ส์ ข อ ง สิ น ค้ า ยั ง ดี อ ยู่
แ ต่ ก า ร วิ จั ย แ ล ะ พั ฒ น า แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยี ก า ร ผ ลิ ต
อยู่ระดับปานกลาง ผลผลิตต่ อไร่ ต่า ต้ นทุนสูง โครงสร้ างการผลิตยังมีปัญหา
การเกษตรไทย
ภายใต้ ประชาคม
อาเซียน
38