Evolutionary Theory Charles Darwin

Download Report

Transcript Evolutionary Theory Charles Darwin

EVOLUTIONARY
THEORY
CHARLES DARWIN
อารีลกั ษณ์ พูลทรัพย์
ชาลส์ ดาร์วิน
ค.ศ. 1854 เมื่ออายุ 45 ปี
ขณะนัน้ กาลังทางานเพือ่
ตีพมิ พ์ On the
Origin of Species
Charles Darwin
A classic
image of
Darwin in
1880
เส้นทางการเดินเรือ HMS Beagle ของดาร์วิน
ภาพการ์ตูนล้อ
ใน Hornet
magazine
แสดงภาพ
Darwin ที่
ร่างกายคล้ายลิง
มีเคราหนาในปี
1866.
ภาพโครงร่าง
ของ ”ต้นไม้
วิวัฒนาการ” ซึ่ง
Darwin เขียน
ใน Notebook
on
Transmutatio
n of Species
(1837)
ต้นไม้
วิวัฒนาการ
Evolutiona
ry tree
ฟอสซิลยุคใหม่
แสดงให้เห็นปลา
มีครีบสั้น กึ่งขา
เป็นตัวอย่างที่
น่าสนใจของ
กระบวนการ
เปลี่ยนแปลง
รูปแบบ แสดง
หลักฐานอัน
น่าเชื่อถือของ
วิวัฒนาการ
รอยเท้าไดโนซอร์
ซากกระดูกค้างคาวยุคโบราณ
Moral Sense
ข้าพเจ้าเห็นด้วยกับคิดนักเขียนที่
ยืนยันว่า ในบรรดาสิ่งที่เป็นความ
แตกต่างระหว่างสัตว์ชั้นต่่ากับมนุษย์
ส่านึกแห่งคุณธรรม (moral sense)
หรือมโนธรรมส่านึก (conscience)
เป็นสิ่งที่ส่าคัญที่สุด ..........
Charles Darwin,
The Descent of Man
โครงสร้างการ
วิวัฒนาการในทฤษฎี
ว่าด้วยการ
เปลี่ยนแปลง (theory
of change) แบบแผน
ของกระบวนการ
วิวัฒนาการจะค่อยๆ
เปลี่ยนจากแบบแผน
เดิมที่สะสมกันมาอย่าง
ต่อเนื่อง
(accumulated
design)
โครงสร้างการ
วิวัฒนาการในทฤษฎี
ว่าด้วยต้นก่าเนิด
(origin) แบบแผนของ
กระบวนการ
วิวัฒนาการจะคงที่ไม่
มีแบบแผนการสะสม
ต่อเนื่องของการ
เปลี่ยนแปลง
(no accumulated
pool design)
ขั้นตอนวิวัฒนาการที่
ค้างคาวมีขาและปีก แต่วิ่ง
และบินไม่ได้ ท่าให้เป็น
อุปสรรคต่อการด่ารงชีพ
ของค้างคาว
Mysteries in the
Process of the
Spontaneous
Generation of Life
เกิดประจุไฟและฟ้าผ่า
กับสภาพบรรยากาศ
สารเคมีตามธรรมชาติ
ดั้งเดิม
ความเร้นลับน่าสงสัย
ของกระบวนการ
วิวัฒนาการมาสู่
สิ่งมีชีวิตที่เป็นไปเอง
อย่างไร้จุดหมาย
The naturalistic story:
เริม่ ต้นของจักรวาล -> เริม่ ต้นของโลก -> ยุคก่อนชีวภาพ (นา้ ซุปที่หลาลากหลาลาย)
แบคทีเรีย <- เซลแรก <- ดีเอ็นเอและโปรตีน <- อาร์เอ็นเอ สัตว์เซลเดียว
> ปลา -> สัตว์ครึง่ บกครึง่ นา้ -> สัตว์เลื้อยคลาน -> สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
<- โฮมินิด <- สัตว์ประเภทลิงที่คล้ายมนุษย์ <- ลิง <- ไพรเมท
•ทฤษฎีวิวัฒนาการในทัศนะของดาร์วิน
•ข้อสมมุติฐานใน theory of evolution ในปี 1859 ใน
หนังสือ The Origin of Species ดังนี้
•สิ่งมีชีวิตทั้งหมดมีความเกี่ยวดองกันโดยมีบรรพบุรุษ
ร่วมกันหรือที่เรียกว่า “common ancestry” จากนั้นจึง
แยกสาขาออกอย่างเชื่องช้า กลายเป็นสายพันธุ์ที่
แตกต่างกันออกไป
•สิ่งมีชีวิตทั้งหมดเกิดขึ้นมาโดยกระบวนการผ่าเหล่าและ
การคัดสรรตามธรรมชาติ และอยู่รอดได้เพราะ
กระบวนการโดยบังเอิญของธรรมชาติ (random chance
processes of nature)
•การแปรผันจะเป็นไปอย่างต่อเนื่อง และส่งผ่านเป็นทอดๆ
และยิ่งฉีกออกจากต้นแบบมากขึ้นเรื่อยๆ
ภาพจาก : ชัชพล เกียรติขจรธาดา “เรือ่ งเล่าจากร่างกาย”
 เกิดการผันแปร(ผ่าเหล่า)อย่างบังเอิญ
(Random
mutations) หรือการแปรผันแบบvariationในประชากร
สิ่งมีชีวิต และสิ่งมีชีวิตเหล่านี้จะแข่งขันกันเพื่อความอยู่
รอดและการสืบทอดเผ่าพันธุ์
 สรรพสิ่งในธรรมชาติก่าลังท่าสงครามกัน ระหว่าง
สิ่งมีชีวิตด้วยกัน และระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสภาพแวดล้อม
 การคัดสรรโดยธรรมชาติน่าไปสู่การกลายพันธุ์ที่แตกต่าง
จากต้นแบบมากขึ้นเรื่อยๆ มีโครงสร้างที่ซับซ้อน และ
สูงขึ้นเรื่อยๆ
 สิ่งที่ดีที่สุดสามารถอยู่รอดและสืบทอดเผ่าพันธุ์ และสร้าง
ทายาทที่ดีที่สุดของตนขึ้นมา นี่คือสิ่งที่เรียกว่า การคัด
สรรโดยธรรมชาติ "natural selection."
•ตลอดเวลาที่ผ่านมา ถ้าสิ่งมีชีวิตบางตัวอยู่รอดได้และมีลูก
มากกว่าชนิดอื่น สายพันธุ์ของตนก็จะวิวัฒน์ “evolve”
•การคัดสรรโดยธรรมชาติเพื่อการอยู่รอดและการคัดสรร
โดยเพศสัมพันธ์เพื่อการสืบทอดเผ่าพันธุ์
•การคัดสรรเป็นกระบวนการที่ไร้เป้าประสงค์แต่มี
ประสิทธิภาพสูง ไม่มีอคติ ไม่มองอนาคต แต่มีผลลัพธ์
•มาตรฐานเดียวในการประเมินผลคือความอยู่รอดและการ
สืบทอดเผ่าพันธุ์
•เงื่อนไขที่ท่าให้เกิดการคัดสรรตามธรรมชาติ
1.กรรมพันธุ์จะถ่ายทอดอย่างต่อเนื่องข้ามหลายๆ รุ่น
2.การเปลี่ยนแปลงจะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ในหมู่ลูกหลาน
3.อัตราการเจริญเติบโตที่มีอยู่อย่างถาวรตามธรรมชาติ จะ
ท่าให้ไม่สามารถเลี้ยงดูและดูแลได้หมด
 การแปรผันจะเกิดขึ้นอย่างเชื่องช้า
จากความแปรผัน
อย่างหลากหลายในระดับเล็กระดับน้อยในส่วนต่างๆ
ของสายพันธุ์
 มีการส่งผ่านรุ่นต่อรุ่นสู่ลูกหลานและจะมีการแปรผัน
เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ
 เกิดมีการผ่าเหล่าของพันธุ์ขนาดใหญ่ (great
phenotypic variation) ภายในหมู่สมาชิกประชากรของ
สายพันธุ์
 การกลายพันธุ์นี้ส่วนมากจะสืบทอดต่อไปยังรุ่นต่อไปได้
(heritable)
 ความอยู่รอดและการผลิตลูกหลานรุ่นต่อไปมักจะขึ้นอยู่
กับคุณลักษณะพิเศษที่สืบทอดได้ (heritable traits) ของ
สายพันธุ์
 คุณลักษณะพิเศษที่สืบทอดได้
(Heritable traits)
เพิ่มโอกาสความเป็นไปได้ที่ปัจเจกจะมีชีวิตอยู่
รอดและ/หรือสืบทอดเผ่าพันธุ์ อันนี้มักจะ
กลายเป็นลักษณะร่วมของประชากรในเผ่าพันธุ์
แต่ละเผ่าพันธุ์ คุณลักษณะพิเศษใดทีล
่ ดโอกาส
ความเป็นไปได้ที่ปัจเจกบุคคลจะอยู่รอดและสืบ
เผ่าพันธุ์ ก็จะไม่กลายเป็นลักษณะร่วมของ
ประชากรหรือมีลักษณะเด่นน้อยลง
 เมื่อผ่านกระบวนการไปหลายชั่วอายุ การ
เลือกสรรตามธรรมชาติจะน่าไปสู่การค่อยๆ
เปลี่ยนคุณลักษณะของประชากร และที่มาของ
สายพันธุ์ใหม่ (new species)
• สายพันธุ์ทุกชนิดมีศักยภาพสูงในการสร้างการเจริญ
พันธุ์ (fertility) แต่ทรัพยากรมีจ่ากัด (food, nesting
spots etc.) ตามทฤษฎีของ Thomas Robert Malthus
ประชากรจะเพิ่มในอัตราเรขาคณิตแต่อาหารจะเพิ่มใน
อัตราเลขคณิต
• จะมีตัวควบคุมสัดส่วนของประชากร เช่น โรคระบาด
สงคราม การงดมีเพศสัมพันธ์ด้วยเหตุต่างๆ สภาวการณ์
ขาดแคลนอาหารและความอดอยาก ความเครียด
• เมื่อมีสมาชิกใหม่ในสายพันธุ์มากกว่าที่ทรัพยากรจะ
สนับสนุนได้ เกิดสภาวการณ์แข่งขันเพื่อความอยู่รอด
และการสืบเผ่าพันธุ์ แต่การแข่งขันกันนี้ไม่จ่าเป็นต้ออง
มีการต่อสู้ (Competition does not necessarily
mean fighting.)
กฎของการแปรผัน (กฎของเมนเดล)
 เกรกอร์ เมนเดล (Gregor Mendel)
 ลักษณะเฉพาะบางอย่างเป็นลักษณะเด่น (Dominant) บางลักษณะ
เป็นลักษณะด้อย (Recessive) ลักษณะเด่นจะข่มลักษณะด้อย แต่
จะมีลักษณะด้อยแฝงอยู่ในยีน (Gene) อัตราส่วนของลักษณะเด่น
และลักษณะด้อยที่แสดงในรุ่นลูกจะเป็น 3 : 1 และลักษณะด้อยจะ
ปรากฏในชั้นหลาน
 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมเป็นกระบวนการที่เกิดจากหน่วยย่อยที่
ไม่สามารถแบ่งแยกได้ และมีเพียง 2 หน่วยเท่านั้นในแต่ละกรณี
โดยเป็นการสะสมองค์ประกอบเล็กๆ น้อยๆ ที่ล่องลอยอยู่ในกระแส
เลือดจนกลายเป็นกลุ่ม พ่อและแม่จะส่งพันธุกรรมให้ลูกคนละครึ่ง
 ฟีโนไทป์(Phenotype) การรับชุดยีนหรือพันธุกรรมจากพ่อแม่แล้ว
แสดงให้เห็น
 จีโนไทป์(Genotype) การรับชุดยีนหรือพันธุกรรมจากพ่อแม่แล้ว
ซ่อนไว้

 ออกัสต์
ไวสแมนน์ (August Weismann)
 ลักษณะเฉพาะที่ถ่ายทอดได้จะส่งผ่านไปสู่อีกรุ่นหนึ่ง
โดยผ่านสารในระดับโมเลกุลที่อยู่ในนิวเคลียสของ
เซลส์
 ลักษณะที่เกิดขึ้นใหม่หรือได้มาเองไม่สามารถส่งต่อได้
สายเซลส์สืบพันธุ์(germ plasm เซลส์ในสายที่ต่อมาจะ
ผลิตเซลส์สืบพันธุ์แท้คือไข่และอสุจิ) จะแยกอยู่ต่างหาก
จากเซลส์ทั่วไปของร่างกาย เซลส์สืบพันธุ์จึงไม่
สามารถแปรเปลี่ยนตามสภาพแวดล้อม เซลสืทั่วไป
เท่านั้นที่แปรเปลี่ยนตามสภาพแวดล้อม
 กิ่งก้านของโครโมโซมบังเอิญมาทับเส้นทางกันระหว่าง
ที่เซลส์ก่าลังแบ่งตัวสร้างเซลส์สืบพันธุ์จะท่าให้เกิดการ
ผสมผสานรวมตัวของโครโมโซม เกิดการพัวพัน
เชื่อมต่อ แยกกัน ของสายโครโมโซมที่น่าไปสู่การเกิด
ลักษณะต่างๆ ทางกายภาพ
 ทุกครั้งที่มีการขยายพันธุ์ทางเพศ เกิดการพัวพัน
เชื่อมต่อ แยกกันของสายโครโมโซมก็จะยิ่งท่าให้เกิด
ลักษณะที่หลากหลายมากขึ้นเรื่อยๆ
Apes
Anthropoid
Human-like
สัตว์ประเภทที่คล้ายมนุษย์
 Apes
มิใช่ลิง มนุษย์เราอยูใ
่ นวงศ์ญาติเดียวกันกับสัตว์ที่
คล้ายมนุษย์ทเี่ รียกว่า anthropoid (หรือ human-like)
apes, ซึ่งถูกเรียกอีกแบบว่าลิงพันธุ์ใหญ่หรือ "great"
apes ไม่มส
ี ต
ั ว์อน
ื่ ที่ใกล้เคียงมนุษย์กว่านี้อก
ี แล้ว
 ในแง่ของ DNA เรามีสว
่ นคล้ายกับชิมแปนซีและลิง
bonobos อยู่ 98.4 %
 นี่คือ diagram ของ primate evolutionary tree พิจารณา
จากการเปรียบเทียบ DNA comparisons มนุษย์ (Homo
sapiens sapiens) ถูกแยกประเภทเป็น Hominoid ส่วน
สัตว์ลงิ แบบอืน
่ ในสายวงศ์นี้คอ
ื ลิงใหญ่อก
ี สีป
่ ระเภท:
chimpanzee (Pan troglodytes), bonobo (Pan
paniscus), gorilla (Gorilla gorilla), and orangutan
(Pongo pygmaeus).
 Hominoid
family ยังรวมไปถึงลิงเล็ก "lesser" apes
ประเภทอืน
่ ๆ: ชะนีหรือ gibbons และ siamangs สัตว์
ประเภทลิง (primates) ตัวอื่นไม่มใ
ี ครถูกเรียกว่า apes: มัน
คือลิงธรรมดาทีเ่ รียกว่า monkeys และ prosimians แต่
Hominoids ได้แยกสายพันธุ์ออกจาก primates (Old
World monkeys, New World monkeys, และ prosimians)
มาประมาณ 23 ล้านปีมาแล้ว
 การค้นพบล่าสุดจากวิชาทีศ
่ ึกษาซากสิง่ มีชว
ี ต
ิ ในยุคหินหรือ
บรรพชีวน
ิ วิทยา(Paleontology) ชี้ให้เห็นว่า hominids ใน
ยุคแรกๆ ดูคล้ายกับมนุษย์มาก และยืนยันความน่าเชือ
่ ถือของ
การเปรียบเทียบ Homo sapiens กับลิงอืน
่ ๆเช่นพวก
anthropoid apes (ลิงใหญ่) การแยกสายพันธุม
์ นุษย์ออกจาก
ลิงประมาณกันว่าเพิง่ เกิดขึน
้ เมือ
่ 6 ล้านปีที่ผา่ นมาเท่านัน
้
ชะนี หรือ gibbon เป็นลิงประเภทลิงเล็ก "lesser" apes
siamangs เป็นลิงประเภทลิงเล็ก "lesser" apes
GREAT or
ANTHROPOID APES
วิวัฒนาการของไพรเมตย้อนหลังไปได้ถึงประมาณ 60 ล้านปีก่อน
ไพรเมตมีบรรพบุรุษร่วมกันกับสัตว์จ่าพวกค้างคาว ซึ่งอาจมีชีวิต
อยู่ช่วงประมาณยุค Cretaceous (ยุคสุดท้ายของไดโนเสาร์)
 ไพรเมต (เก่าแก่ที่สุดเท่าที่ทราบกัน) มาจากบริเวณอเมริกาเหนือ
แพร่กระจายผ่าน ยุโรป เอเชีย และแอฟริกา ในยุค Paleocene
และ Eocene
 เมื่ออากาศเปลี่ยนแปลงเป็นหนาวเย็นในต้นยุค Oligocene
(ประมาณ 40 ล้านปีก่อน) ไพรเมตสูญพันธ์ไปเป็นจ่านวนมาก
เหลืออยู่เพียงบริเวณแอฟริกาและเอเชียใต้
 บรรพบุรุษยุคแรกๆของโฮมินิด (ลิงใหญ่และมนุษย์) ออกจาก
แอฟริกาเข้าสู่ยุโรปและเอเชีย เมื่อประมาณ 17 ล้านปีก่อน ซึ่ง
ต่อมาวิวัฒนาการไปเป็น บรรพบุรุษของลิงใหญ่ ลิงกอริลลา และลิง
ชิมแปนซี และก็มีสายพันธ์หนึ่ง วิวัฒนาการกลายเป็นบรรพบุรุษ
ของมนุษย์เมื่อประมาณ 6 ล้านปีก่อน
 บรรพบุรุษของมนุษย์ วิวัฒนาการแยกจากลิงกอริลลาเมื่อประมาณ
8 ล้านปีก่อน และแยกจากลิง

 นักศึกษาบรรพชีวินวิทยา(paleontologists)
มักจะให้
ความสนใจกับช่วงระยะเวลา 3-4 ล้านปีที่ผ่านมาซึ่งสัตว์
ประเภทมนุษย์เริ่มยืนสองขา (bipedality) มีสมองใหญ่
ขึ้น และมีความก้าวหน้าทางวัฒนธรรม แนวทางศึกษา
แบบ living links พยายามย้อนเวลากลับไปเพื่อให้รวมไป
ถึงวิวัฒนาการของสัตว์ทุกชนิดที่เป็น Hominoids
 Australopithecus Afarensis อายุ 3.5-2.8 ล้านปี เป็น
สายพันธุ์ hominid จากชนเผ่า Kada Hadar ใน Middle
Awash ประเทศ Ethiopia มีความสูงประมาณ 41 นิ้ว
หนัก 60 ปอนด์ และมีกะโหลกศีรษะขนาด 410 cc ขนาด
สมองประมาณ 450 cc Afarensis เป็นช่วงต่อระหว่าง
ยุคลิงใหญ่ apes และสัตว์ประเภทมนุษย์ และมีลักษณะ
ทั้งลิงและมนุษย์อยู่ในตัวเดียวกัน

Australopithecus afarensis
เมื่อ 8 ล้านปีก่อน แอฟริกาทั้งทวีปถูกปกคลุมด้วยป่าฝนที่รกทึบ แต่
การก่าเนิดของเทือกเขาหิมาลัยท่าให้ทิศทางของลมมรสุมต่างๆ
เปลี่ยนไป ส่งผลให้ฝนที่ตกในแอฟริกาลดลง ทวีปแอฟริกาจึง
กลายสภาพเป็นป่าโปร่งแทนที่จะเป็นป่าฝนที่รกทึบ (แต่ก็ยังมีป่า
ฝนอยู่บ้างเป็นแห่งๆ)
 การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศน่ามาสุ่การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิ
ประเทศ ลิงที่อยู่ในป่าจึงต้องปรับตัวให้อยู่บนพื้นดินได้ด้วย การ
ปรับตัวเป็นไปอย่างค่อยเป็นค่อยไป จนในที่สุด 3,900,000 ปีก่อน
ลิงกลุ่มนั้นได้วิวัฒนาการมาเป็นสปีชีส์ Australopithecus
afarensis ซึ่งสามารถใช้ชีวิตได้ทั้งบนต้นไม้และบนพื้นดิน
สามารถเดินสองขาและเดินสี่ขาได้ ต่างจากลิงในอดีตที่ไม่สามารถ
เดินสองขาได้
 การเดินสองขานั้น มีประสิทธิภาพในการใช้พลังงานในร่างกาย
มากกว่าการเดินสี่ขา สามารถประหยัดพลังงานในร่างกายเพื่อท่า
กิจกรรมอื่นได้ดีขึ้น เช่น การปกป้องอาณาเขต หรือ การสืบพันธุ์

1 ล้านปีถัดมา เมื่อ 2,900,000 ปีก่อน afarensis เริ่มมี
วิวัฒนาการ และพัฒนาเป็นสิ่งมีชีวิตสปีชีส์ใหม่ คือ
Paranthropus boisei ซึ่งมีพละก่าลังเพิ่มขึ้น เข้ามาแทนที่
 เวลาผ่านไป 400,000 ปี ในช่วง 2,500,000 ปีก่อน โลกเกิด
ภาวะเย็นตัวลง เกิดน้่าแข็งยักษ์สะสมที่ขั้วโลก ท่าให้น้่าที่เป็น
ของเหลวลดจ่านวนลง แผ่นดินทั่วโลกจึงแล้งขึ้นเล็กน้อย
รวมทั้งแอฟริกาด้วย แอฟริกาในช่วงนี้กลายเป็นทวีปที่มีความ
หลากหลายทางภูมิศาสตร์ ตั้งแต่ป่าฝนรกๆ ป่าโปร่ง ทุ่งหญ้า
หรือทะเลทราย
 สภาพแวดล้อมที่แตกต่าง ท่าให้สิ่งมีชีวิตในแอฟริกาเกิดการ
ปรับตัวที่แตกต่าง กลายเป็นมนุษย์วานรหลายสปีชีส์ อยู่รวมกัน
ในบริเวณต่างๆ ของแอฟริกา แต่ทว่า สปีชีส์หนึ่งในนั้น ไม่ใช่
มนุษย์วานร แต่เป็นมนุษย์


Homo habilis
สปีชีส์แรกที่นับได้ว่าเป็นมนุษย์ ปรากฏขึ้นในแอฟริกาเมื่อ
2,200,000 ปีก่อน ชื่อว่าสปีชีส์ Homo habilis (Homo เป็นภาษา
ละติน แปลว่า มนุษย์) พวกเขาวิวัฒนาการให้เป็นสปีชีส์ที่มีความ
คล่องตัวทุกกรณี และมีสมองที่ฉลาดกว่าสปีชีส์อื่นๆ เป็นสปีชีส์แรก
ที่คิดค้นการท่าอาวุธเครื่องมือต่างๆ จากหิน แต่ยังไม่มีการสื่อสาร
ด้วยการพูด แต่ไม่มีพละก่าลังเท่า Paranthropus boisei
 ทักษะของฮาบิลิส ท่าให้พวกเขาอยู่รอดได้ในหลายสภาพ
ภูมิศาสตร์ เพราะรู้จักการปรับตัวและการใช้สมอง
 ค้นพบซากดึกด่าบรรพ์ของฮาบิลิสที่บริเวณภาคตะวันออกของ
แอฟริกา มีอายุประมาณ 2-4 ล้านปี มีขนาดสมองประมาณ 600
ลูกบาศก์เซนติเมตร และมีฟันที่แสดงให้เห็นว่ากินเนื้อสัตว์ เป็น
อาหารด้วย จึงจัดเป็นผู้บริโภคทั้งพืชและสัตว์

 ตัวอย่างที่พบคือซากดึกด่าบรรพ์ในทวีปแอฟริกา
บริเวณหุบเขา โอดูวาย (Oduvai) เมื่อน่ามาตรวจสอบ
อายุปรากฏว่ามีอายุประมาณ 1,750,000 ปี เป็นมนุษย์
ที่มีลักษณะคล้ายคลึงกับพวกลิงใหญ่โบราณ และยังมี
ขนปกคลุมร่างกายคล้ายคลึงกับลิง
 Homo
ergaster และ Homo Heidelbergensis
ปรากฏขึ้นบนโลกเมื่อ 1,900,000 ปีก่อน และเป็นเผ่า
แรกที่สือสารด้วยการพูดได้ เป็นคู่แข่งทางวิวัฒนาการ
ของฮาบิลิสที่ได้เปรียบฮาบิลิส เพราะเออร์กัสเตอร์ มี
สมองที่ฉลาดกว่า ปี มีขนาดสมองประมาณ 800
ลูกบาศก์เซนติเมตรและมีการพูดเป็นการสื่อสาร
จนกระทั่งฮาบิลิสได้สูญพันธุ์ไปเมื่อ 1,600,000 ปีก่อน
 Homo
erectus
 เออร์กัสเตอร์
สูญพันธุ์ไปเมื่อ 1,400,000 ปีก่อน โดยมี
Homo erectus ก้าวแทนที่ มีวิวัฒนาการมาจาก habilis
โดยตรง ก้าวเข้ามาต่อสู้ในโลกแห่งความจริงแทนฮาบิลิส
มีความเจริญใกล้เคียงมนุษย์ปัจจุบัน หลังจากอีเร็คตัส
ก่าเนิดขึ้นมาได้ 200,000 ปี บอยเซอิก็สูญพันธุ์ไป
 โฮโมอีเร็คตัส (Homo Erectus) เป็นมนุษย์ที่มีใบหน้าตั้ง
ตรงเหมือนมนุษย์ยุคใหม่แล้ว มีขากรรไกรและฟันที่
แข็งแรง โดยขากรรไกรจะเริ่มหดสั้นกว่า Homo habilis
ส่วนของกะโหลกซึ่งกว้างที่สุดอยู่ที่ระดับรูหู มีขนาดสมอง
ประมาณ1,000 ลูกบาศก์เซนติเมตร เชื่อกันว่ามนุษย์
ชนิดนี้ไม่มีขนแบบลิงแล้ว และมีการกระจายตั้งแต่
แอฟริกาจน ถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จีน และยุโรป
 มนุษย์ยุคนี้เริ่มรู้จักการใช้ไฟ
และประดิษฐ์ เครื่องมือ
ต่างๆ จากก้อนหินได้ดีขึ้น นักวิทยาศาสตร์จึงจัดให้
เป็นมนุษย์แรกเริ่ม (Early man) ที่รู้จักกันดีก็คือ
มนุษย์ชวา (Java ape man) มนุษย์ล่าปาง
(Lampang Man) และมนุษย์ปักกิ่ง(Peking man)
ส่าหรับมนุษย์ปักกิ่งนั้นถูกค้นพบซากอยู่ที่ถ้่า จูกูเทียน
(Zhoukoudian) ทางตอนเหนือของประเทศจีน ท่าให้
ทราบว่ามนุษย์ยุคนี้รู้จักการใช้ไฟ มีการล่าสัตว์โดย
ใช้ขวานหิน และในบางครั้งมนุษย์ปักกิ่งเป็นพวกที่กิน
เนื้อมนุษย์พวกเดียวกันอีกด้วย
 Homo
sapiens
 อีเร็คตัสมีชีวิตอยู่นาน
1,240,000 ปี ก่อนจะสูญพันธุ์ไป
เมื่อ 250,000 ปีก่อน เพราะได้วิวัฒนาการโดยตรงมาเป็น
Homo sapiens ซึ่งก็คือมนุษย์ปัจจุบัน
 โฮโมเซเปียนส์ มีอายุเมื่อ 250,000 ปีมาแล้ว มีการ
พัฒนาทางร่างกาย ใกล้เคียงมนุษย์ปัจจุบัน ปี มีขนาด
สมองประมาณ 1,200 ลูกบาศก์เซนติเมตรสามารถยืนตัว
ตรงได้ ยังชีพด้วยการล่าสัตว์เป็นอาหาร โดยใช้อาวุธที่
ได้รับการพัฒนาให้ก้าวหน้าขึ้น
 มนุษย์ที่อาศัยในโลกปัจจุบันนี้จัดอยู่ในสปีชีส์ โฮโมเซ
เปียนส์ เซเปียนส์ แบ่งออกเป็นหลายเผ่าพันธุ์ ได้แก่ เผ่า
นิกรอยด์ เผ่ามองโกลอยด์ เผ่าคอเคซอยด์ เผ่าออสเตร
ลอยด์ ซึ่งสามารถผสมพันธุ์ข้ามเผ่าได้ และให้ลูกหลานที่
ไม่เป็นหมัน
มนุษย์ไฮเดนเบอร์ก
มนุษย์เนบราสก้า
มนุษย์นีเอนเดอทาล
มนุษย์นิวกินี
มนุษย์เพลดาว
มนุษย์ปักกิง่
มนุษย์โครมันยอง
มนุษย์ยุคหหลาม่
 มนุษย์นีแอนเดอธัล
(Homo neanderthalensis) หรือ
มนุษย์นีแอนเดอร์ทัล เป็นมนุษย์ที่พบว่ามีชีวิตอยู่ในช่วงที
น้่าส่วนใหญ่ของโลกกลายเป็นน้่าแข็งโดย ซากดึกด่า
บรรพ์ที่พบมีอายุประมาณ 1 แสน ถึง 1 ล้านปี มีขนาด
สมองประมาณ 1,200 ลูกบาศก์เซนติเมตร ส่วนของ
กะโหลกซึ่งกว้างที่สุดอยู่ที่ระดับเหนือรูหู มีขากรรไกร
ล่างสั้นลักษณะหน้าผากเป็นสันนูนและลาดกว่ามนุษย์ใน
ปัจจุบันสามารถยืนโดยล่าตัวตั้งตรงรู้จักการใช้ไฟ การ
ล่าสัตว์ รูจักประดิษฐ์เครื่องมือต่างๆโดยใช้หินคนที่ตาย
แล้วจะถูกน่าไปฝังพร้อมกับช่อดอกไม้ อาหาร และอาวุธ
มนุษย์พวกนี้รู้จักการหาที่อยู่อาศัยทั้งในถ้่า หุบเขา หรือที่
ราบ พบกระจายในบริเวณต่างๆ กว้างขวางมากตั้งแต่
ยุโรปตะวันออกกลาง แอฟริกา ไปจนถึงประเทศจีน
 มนุษย์โครมายอง
(Cro - Magnon man) มีรูปร่างลักษณะ
คล้ายกับมนุษย์ปัจจุบัน กล่าวคือ มีกะโหลกศีรษะโค้งมน มาก
ขึ้น ขากรรไกรหดสั้นลงกว่ามนุษย์นีแอนด์เดอร์ทล
ั มาก และ
แก้มนูนเด่นชัดขึ้น แม้ว่ามนุษย์ ชนิดนี้จะมีใบหน้าเล็กแต่ก็มี
สมองขนาดใหญ่ประมาณ 1,200-1,300 ลูกบาศก์เซนติเมตร
ซึ่งมีความเฉลียวฉลาดสามารถประดิษฐ์เครื่องมือเครื่องใช้
ต่างๆส่าหรับด่ารงชีพและรูจ
้ ักการเขียนภาพต่างๆด้วยจาก
การศึกษาพบว่ามนุษย์โครมายอง มีชีวิตอยู่ใน ช่วงประมาณ
50,000 ปีมาแล้ว
 การขุดค้นพบโครงกระดูกและศิลปวัตถุภายในถ้า
่ โคร- มายอง
ประเทศฝรั่งเศส ท่าให้ได้รับการตั้งชื่อโครงกระดูกดังกล่าวว่า
มนุษย์โคร – มายอง ตามสถานที่ขุดพบ ที่กล่าวว่ามนุษย์ โคร
– มายอง มีความเป็นไปได้ทเี่ ป็นต้นตระกูลของมนุษย์ปัจจุบัน
เนื่องมาจากโครงกระดูกดังกล่าวมีรูปร่างลักษณะสูงใหญ่
ประกอบด้วยสัดส่วนและปริมาตรของมันสมองใกล้เคียงกับ
มนุษย์สมัยปัจจุบน
ั มีความสูงเฉลี่ยอยูใ
่ นระหว่าง 5 ฟุตครึ่งถึง
6 ฟุต กระโหลกศีรษะยาวใบหน้าค่อนข้างสัน
้ รู้จักวิธีการฝัง
ศพ จัดพิธีกรรม รู้จักการวาดภาพ การเพาะปลูก เลี้ยงสัตว์
มนุษยชาติ
EVOLUTION OF PSYCHOLOGICAL
MECHANISMS
วิวฒ
ั นาการของกลไกทางจิตวิทยา
 กลไกทางจิตวิทยาสามารถที่จะวิวฒ
ั น์ไปในทิศทางที่
คล้ายกับการปรับตัวอันซับซ้อนในกลไกทางร่างกาย
กลไกทางจิตวิทยาเป็นกระบวนการทางจิต-ประสาท
แบบพิเศษ (specialized neuropsychological
processes) ซึ่งถูกออกแบบขึน
้ มาโดยกระบวนการ
เลือกสรรตามธรรมชาติ เพื่อแก้ไขปัญหาบางอย่างที่เกิด
ซ้่าๆในการอยูร่ อดและการสืบทอดเผ่าพันธุแ
์ ละเกิดขึ้น
ในช่วงประวัตศ
ิ าสตร์วว
ิ ฒ
ั นาการของสายพันธุ์หนึง่ ๆ
ตัวอย่างเช่นสุนข
ั ป่า (และหมาป่าพันธุอ
์ น
ื่ ๆ) มีกลไก
พิเศษที่ออกแบบมาให้มค
ี วามรูส
้ ก
ึ ไวต่อกลิน
่ และ
สามารถติดตามเหยื่อได้อย่างคล่องแคล่ว
 ในตัวของสุนข
ั ป่า
กลไกทางจิตแบบนักล่าจะท่าให้มัน
ให้ความสนใจกับร่องรอย (โดยเฉพาะกลิน
่ ) ใน
สภาพแวดล้อมที่บง่ ชีใ
้ ห้เห็นทิศทางการเคลือ
่ นไหวของ
เหยื่อ สุนัขป่ายังมีกลไกทางจิตชุดหนึง่ ที่ชว
่ ยให้มน
ั
ควบคุมพฤติกรรมทางสังคมที่เกีย
่ วกับการใช้อา่ นาจ
ครอบง่าในความสัมพันธ์และร่วมมือกันเพื่อการล่า
 กลไกทางจิตเพื่อให้เกิดพฤติกรรมทางสังคมเหล่านี้ มี
ความส่าคัญต่อความอยูร่ อดและสืบเผ่าพันธุข
์ องสุนข
ั ป่า
มากพอๆกับกลไกส่าหรับตามกลิ่นของเหยื่อ
 มนุษย์กค
็ ล้ายกับสุนัขป่า มีชุดของกลไกทางจิตเพื่อท่า
ให้เกิดพฤติกรรมทางสังคมที่ซบ
ั ซ้อน ในระหว่าง
เส้นทางวิวฒ
ั นาการ บรรพบุรษ
ุ ของเราได้พบกับการท้า
ทายของสภาพแวดล้อม ที่ต้องอาศัยพฤติกรรมทางสังคม
เพื่อแก้ปญ
ั หา
ความแปรผัน
“Variants” ใน
ความสามารถทางจิตที่แก้ปญ
ั หาได้ดก
ี ว่า
ในสภาพแวดล้อมอันท้าทายท่าให้เกิด
ความได้เปรียบที่เหนือกว่าความแปรผัน
อื่นๆที่ด้อยกว่าในการแก้ปญ
ั หา
ความแปรผันเหล่านีท
้ ่าให้เกิดการ
เลือกสรรตามธรรมชาติถ้ามันสืบทอดต่อ
ให้คนรุ่นหลังได้ ในทุกวันนีเ้ รารับรู้ว่า
มนุษย์มก
ี ลไกทางจิตซึ่งอยู่ใน “อาณา
บริเวณ” ต่างๆของความคิดและพฤติกรรม
อาณาบริเวณเหล่านีค
้ อ
ื
ความแปรผันของคุณสมบัติที่สบ
ื ทอด
ต่อไปสู่คนรุ่นหลังได้ท่าให้เกิดความ
ได้เปรียบในการเลือกสรรตาม
ธรรมชาติในห้วงเวลาอันยาวนาน จน
กลายเป็นคุณลักษณะที่ติดตรึงอยูใ
่ น
กลุ่มประชากร
ภาษา
(Language)
พฤติกรรมการหาคู่ (Mating behavior)
พฤติกรรมการเป็นพ่อแม่เลีย
้ งดูเด็ก
(Parenting behavior)
การท่าความดีตอบแทนผู้อน
ื่ (Reciprocal
altruism) และการแลกเปลีย
่ นทางสังคม
(social exchange)
การประเมินความเสี่ยงในชีวต
ิ (Risk
assessment)
การเล่นพรรคเล่นพวกหรือเครือญาติ
(Nepotism)