สถานประกอบการสร้างเสริมสุขภาพ - โครงการพัฒนาสถานประกอบการสรา้ง

Download Report

Transcript สถานประกอบการสร้างเสริมสุขภาพ - โครงการพัฒนาสถานประกอบการสรา้ง

สมาคมพัฒนาคุณภาพสิ่ งแวดล้อม
รวมพลัง สร้างเสริมส ุขภาพในสถานประกอบการ
10-12 มีนาคม2554
ศูนย์รวมตะวัน อ.เมือง จ.กาญจนบุรี
การสร้างเสริมสุขภาพในสถานประกอบการ
เป็นการดูแลสุขภาพและคุณภาพชีวิตของ
พนักงานในสถานประกอบการ ด้วยการ
ดาเนินการด้านต่างๆ เพื่อควบคุมปัจจัยหรือ
พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ อาทิ การสูบบุหรี่ การ
ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การเล่นการพนัน การ
ป้องกันอุบัติเหตุจากการเดินทาง ฯลฯ
นอกเหนือจากการดาเนินงานด้านอาชีวอนามัยและ
ความปลอดภัยในการทางาน
http://www.adeq.or.th
ปัจจัยที่มีอท
ิ ธิพลต่อสุขภาพของคนทางาน
ปัจจัยทางด้านพันธุกรรม
สิ่งแวดล้อม (ทั้งในเชิงกายภาพ ชีวภาพ
และสังคม)
พฤติกรรมการดาเนินชีวิต
พฤติกรรมการดาเนินชีวิตมี
อิทธิพลต่อสุขภาพของเรา
มากที่สุด
http://www.adeq.or.th
ตัวอย่างพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ
•การสูบบุหรี่
•การดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์
•การเล่นการพนัน
•พฤติกรรมการเดินทางที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ
•ฯลฯ
การสร้างเสริมสุขภาพด้วยการควบคุมปัจจัย
และพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ เป็น
กระบวนการ ไม่ใช่เป็นกิจกรรมที่เกิดขึ้น
เฉพาะกิจ หรือเกิดขึ้นเป็นครั้งคราว
ดังนั้นจาเป็นต้องทาอย่างเป็นระบบ เป็นขั้น
เป็นตอน และต่อเนื่อง...
การสร้างเสริมสุขภาพในสถานประกอบการ
สามารถส่งผลทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงระดับต่างๆ
1. คนทางานเกิดความตระหนักในเรือ
่ งสุขภาพ
มากขึ้น
2. คนทางานมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
3. มีการปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการมี
สุขภาพดี
http://www.adeq.or.th
ปัจจัยทีเ่ อือ
้ ต่อความสาเร็จ
• เจ้าของ/ผูบ
้ ริหาร (เห็นความสาคัญ)
• คณะทางาน หรือผู้รบ
ั ผิดชอบงานเรือ
่ งนี้โดยตรง (เห็น
ความสาคัญ มีทักษะ ความรูแ
้ ละกระบวนการเรียนรู้)
• พนักงาน (เห็นความสาคัญ)
• การดาเนินงาน : เป็นระบบ เน้นสร้างการมีส่วนร่วม
และต้องต่อเนือ
่ ง
• มีนโยบาย เป้าหมายและตัวชี้วัด ที่ชัดเจน
• มีแผนปฏิบัติการ
• มีกิจกรรมที่หลากหลาย สามารถควบคุมปัจจัยและ
พฤติกรรมเสี่ยง (บุหรี่ แอลกอฮอล์ การพนัน อุบัติเหตุ ฯลฯ)
ครบทุกด้าน  มีทิศทางที่สอดคล้องกัน เสริมแรงซึ่งกันและ
กัน
ปัจจัยทีไ
่ ม่เอื้อ
• ต่างคนต่างทา ผลักดันเฉพาะในส่วนที่ตัวเองรับผิดชอบ
ไม่บูรณาการงานอย่างจริงจัง
• เจ้าของ/ผูบ
้ ริหาร คณะทางาน พนักงานให้ความสาคัญ
กับการสร้างเสริมสุขภาพน้อย
• ทางานตามลาพัง ไม่มีภาคีเครือข่าย
http://www.adeq.or.th
กระบวนการสร้างเสริมสุขภาพอย่างเป็นระบบ
ในสถานประกอบการ
http://www.adeq.or.th
สถานประกอบการสร้างเสริมสุขภาพ ???
(ควบคุมการสูบบุหรี่ เหล้า การพนัน ลดอุบัตเิ หตุ)
เป็นสถานประกอบการที่มีการดาเนินงานด้านการสร้างเสริม
สุขภาพด้วยการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพต่างๆ อย่างเป็น
รูปธรรมและต่อเนื่อง







มีนโยบายสร้างเสริมสุขภาพ เช่น นโยบายไม่รบ
ั ผู้สูบบุหรี่เข้าเป็น
พนักงาน หรือมีเงื่อนไขไม่สูบบุหรี่ในทีท
่ างาน
มีคณะทางานสร้างเสริมสุขภาพ
มีพื้นที่ดาเนินงานทัง้ หมด เป็นเขตปลอดบุหรี่ (เหล้า การพนัน) และ
ห้ามจาหน่ายบุหรี่ (เหล้า การพนัน)
จากัดการสูบบุหรี่ให้อยู่ในพื้นที่เฉพาะ  เขตสูบบุหรี่
มีการให้ความรูเ้ กี่ยวกับพิษภัยของและแนวทางในการเลิกบุหรี่ เหล้า
การพนัน รวมทั้งส่งเสริมการเดินทางทีเ่ หมาะสม
มีพื้นที่หรือเครือ
่ งมือในการส่งเสริมการเลิกบุหรี่ เหล้า เช่น คลินิกเลิก
บุหรี่-เหล้า มีสนามกีฬา หรือพื้นที่ออกกาลังกาย
มีจานวนพนักงานทีต
่ ิดบุหรี่-ติดเหล้าลดลง
จากนีขัไ้ ปต้
องทาอะไรบ้
าง ???
้นตอนการพั
ฒนาสถานประกอบการสร้
างเสริมสุขภาพ
1.
2.
3.
4.
จัดตั้งคณะทางานและสร้างทีมงาน
กาหนดนโยบาย
เสริมสร้าง/พัฒนาศักยภาพของคณะทางาน
สารวจข้อมูลเกี่ยวกับสถานการณ์และพฤติกรรม
การสูบบุหรี่ ดื่ม เหล้า เล่นการพนัน การเดินทาง
ของพนักงาน
5. จัดทาแผนปฏิบัติการสถานประกอบการสร้างเสริม
สุขภาพดาเนินการตามแผนปฏิบัติการ
6. ประเมินผล
พัฒนาแผนฯ เป็นข้อเสนอ
โครงการเพื่อขอรับงบฯ
สนับสนุน
1. กาหนดนโยบายสถานประกอบการ
สร้างเสริมสุขภาพ
• เป็นนโยบายที่เป็นลายลักษณ์อักษร
• มีวิธีการจัดทาที่ให้ความสาคัญกับการมีส่วน
ร่วมของพนักงาน
• ผู้บริหารลงนาม
• ประกาศหรือประชาสัมพันธ์ให้ทราบอย่าง
ทั่วถึง
http://www.adeq.or.th
สาระของนโยบาย
• สั้นและกระทัดรัด ใช้ภาษาที่งา่ ยต่อการเข้าใจ
• แสดงให้เห็นถึงความตัง้ ใจและจุดมุง่ มั่นในการสร้าง
เสริมสุขภาพ
• กาหนดจุดมุ่งหมาย (และสรุปให้เห็นว่าจะมุ่งสู่
จุดมุ่งหมายอย่างไร)
•แสดงความต้องการที่จะทาให้เกิดการปรับปรุง
เปลี่ยนแปลง
• อธิบายที่มาหรือเหตุผลที่จะต้องมีนโยบาย
• มีรายชือ
่ คณะทางาน
• ฯลฯ
2. จัดตั้งคณะทางานและสร้างทีมงาน
คณะทางาน มีบทบาทสาคัญที่จะทาให้การ
ดาเนินงานด้านการสร้างเสริมสุขภาพของสถาน
ประกอบการเกิดขึ้นอย่างเป็นระบบ เป็นขั้นเป็นตอน
และมีความต่อเนื่อง โดยการจัดตั้งคณะทางาน
สามารถทาได้โดยการ
• แต่งตั้ง
• ให้แต่ละฝ่าย/แผนกคัดเลือกส่งตัวแทน
• เปิดรับสมัคร
อย่า
ลืม!
ประกาศรายชือ
่ คณะทางาน/
บทบาทและหน้าที่ ให้บุคลากรใน
หน่วยงานรับทราบทัว
่ กัน
คุณสมบัติของผูท
้ ี่จะเข้ามาเป็นคณะทางาน



มาด้วยความเต็มใจและเห็นความสาคัญและความจาเป็น
ในการควบคุมปัจจัยและพฤติกรรมเสี่ยงในที่ทางาน
มีความสามารถทางจิตวิทยา ทักษะการสื่อสารและมนุษย์
สัมพันธ์ (เนื่องจากการควบคุมพฤติกรรมเสีย
่ งต้องอาศัย
ความร่วมมือจากทุกฝ่าย คณะทางานจะต้องสามารถ
ประสานและสร้างการมีสว
่ นร่วมของทุกคนและทุกฝ่ายใน
องค์กรให้เกิดขึ้นให้ได้
เป็นแกนนาจากฝ่ายต่างๆ
จานวนคณะทางานขึน
้ อยูก
่ บ
ั จานวนพนักงานหรือฝ่าย
บทบาทคณะทางาน
จัดทานโยบายเสนอผู้บริหาร
 กาหนดเป้าหมาย
 จัดทาแผนปฏิบัตก
ิ ารสร้างเสริมสุขภาพของ
หน่วยงาน
 ประสานงาน ดาเนินงานให้บรรลุเป้าหมายที่
กาหนด
 ประเมินผลการดาเนินงานเทียบกับตัวชีว
้ ด
ั
 และรายงานผล

3. พัฒนาศักยภาพของคณะทางาน/ทีมงาน
 เข้าร่วมกิจกรรมค่ายฝึกอบรม “กระบวนการพัฒนา
สถานประกอบการสร้างเสริมสุขภาพ” ที่ศูนย์รวม
ตะวัน สมาคมพัฒนาคุณภาพสิ่งแวดล้อม
 เข้าร่วมกิจกรรมสัมมนาด้านการสร้างเสริมสุขภาพ
ในสถานประกอบการ
ศึกษาจากคู่มือการดาเนินงาน
 ขอคาปรึกษาเกี่ยวกับการทาแผนปฏิบัติการสถาน
ประกอบการสร้างเสริมสุขภาพ และข้อเสนอ
โครงการฯเพื่อของบประมาณสนับสนุน
4. สารวจสถานการณ์และพฤติกรรมเสีย
่ งต่อสุขภาพ
ของพนักงานในสถานประกอบการ
เพื่อประเมินระดับความรุนแรงของปัญหาและเป็นการหา
แนวทางโดยผลจากการสารวจจะทาให้สถาน
ประกอบการรูถ
้ งึ
•สถานการณ์เกี่ยวกับพฤติกรรมเสีย
่ งต่อสุขภาพของพนักงาน เช่น
การสูบบุหรี่ : จานวนคนทีส
่ บ
ู เพศ ระดับการศึกษาความถีข
่ องการ
สูบ ความต้องการเลิกบุหรี่ ฯลฯ
• ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของพนักงานต่อการควบคุมปัจจัย
เสี่ยงต่างๆ
• แนวทางในการดาเนินงาน ที่เน้นการมีสว
่ นร่วม และลดความ
ขัดแย้ง
http://www.adeq.or.th
แนวทางการสารวจข้อมูลสุขภาพ
• กาหนดขอบเขตและขั้นตอนการเก็บข้อมูล
• จัดทาแบบสอบถามสารวจพฤติกรรมและทัศนคติความคิดเห็น
เกี่ยวกับการสูบบุหรี่/ดื่มเหล้า/เล่นการพนัน/การเดินทางของ
พนักงาน (สามารถ Down Load จาก Website โครงการฯ
www.healthyenterprise.org
• ทาการสารวจข้อมูล ให้มีความกระจายตัวของกลุ่มตัวอย่าง
• วิเคราะห์ข้อมูล: หาแนวทางในการจัดการ กาหนดเป้าหมาย
• นามาใช้เป็นแนวทางในการจัดทาแผนปฏิบัติการฯ
อย่าลืม!
ประชาสัมพันธ์ข้อมูลทีไ
่ ด้จาก
การสารวจให้ทก
ุ คนทราบด้วย
แบบสารวจ จานวน 4 ชุด ดังนี้
 แบบสารวจพฤติกรรมและสถานการณ์การสูบบุหรี่ในสถานประกอบการ
 แบบสารวจพฤติกรรมและสถานการณ์การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของพนักงาน
 แบบสารวจพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดอุบต
ั ิเหตุจากการเดินทางของพนักงาน
 แบบสารวจพฤติกรรมการและสถานการณ์การเล่นพนันของพนักงาน
Download ที่ http://www.healthyehterprise.org
5. จัดทาแผนปฏิบัตก
ิ ารสร้างเสริมสุขภาพ
(แผนฯควบคุมการสูบบุหรี่ เหล้า การพนัน และลดอุบต
ั เิ หตุ)
6. ดาเนินการตามแผนปฏิบัติการ
• ประชาสั มพันธ์ การดาเนินการ
• รายงานความก้าวหน้ าเป็ นระยะๆ
• ทากิจกรรมตามที่กาหนดไว้ ในแผนปฏิบัติการ
• จัดสภาพแวดล้อม เช่ น กาหนดเขตปลอดบุหรี่/เขตสู บบุหรี่
• ให้ ความรู้แก่พนักงาน เพือ่ สร้ างความตระหนัก
• จัดกิจกรรมต่ างๆ เพือ่ สนับสนุนการเลิกพฤติกรรมเสี่ ยง
7. ประเมินผลการดาเนินงานตามตัวชีว
้ ด
ั
และปรับปรุงแก้ไข





ตรวจสอบการดาเนินงาน
จัดประชุมคณะทางาน เพื่อติดตามความก้าวหน้า
จัดแสดงความก้าวหน้าของการดาเนินงานด้วย
กราฟ ตารางรูปภาพหรือวิธก
ี ารอืน
่ ๆ
ปรับปรุงแนวทางการดาเนินงาน
รักษามาตรฐาน


ทาการสารวจ เพื่อตรวจสอบการดาเนินงานอย่าง
ต่อเนื่อง
ขอคาแนะนาจากหน่วยงานอืน
่ ๆ ที่ดาเนินงานด้าน
การสร้างเสริมสุขภาพ
Time Line การปฏิบตั ิงานของสถานประกอบการ
สพส. จัดกิจกรรม
สนับสนุนการปฏิบตั ิการ
สร้างเสริ มสุขภาพของ
สถานประกอบการ
สถานประกอบการ
ส่งข้อเสนอโครงการ
สพส. แจ้งผลการ
พิจารณาโครงการ
คณะทางานเข้ารับ
การอบรม
สถานประกอบการ
ส่งรายงานการ
ดาเนินงาน
เดือน1 เดือน2 เดือน3 เดือน4 เดือน5 เดือน6 เดือน7 เดือน8 เดือน9 เดือน10
มีค.
เมย.
พค.
คณะทางานสารวจสถานการณ์
และพฤติกรรมเสีย่ งในสถาน
ประกอบการ
- ประกาศเจตนารมณ์
- จัดตัง้ คณะทางาน
มิย.
กค.
คณะกรรมการพิจารณาให้
การสนับสนุน
- คณะทางานจัดประชุมทาแผนปฏิบตั กิ ารฯและจัดทา
ข้อเสนอโครงการเพือ่ ขอรับการสนับสนุนงบประมาณจาก
สสส.
- ขอความเห็นชอบจากผูบ้ ริหาร
สค.
กย.
ตค.
สถานประกอบการ
ดาเนินงานตามข้อเสนอ
โครงการและแผนปฏิบตั กิ าร
พย.
ธค.
คณะทางานสารวจประเมินการ
เปลีย่ นแปลง ตามตัวชีว้ ดั
สถานประกอบการสร้างเสริมสุขภาพระดับพื้นฐาน
(HPE Standard)
มีการสร้างเสริมสุขภาพด้วยการควบคุมปัจจัยเสี่ยง
อย่างน้อย 1 ประเด็น โดยต้องมีการควบคุมการสูบบุหรี่
ในที่ทางาน เป็นประเด็นหลัก และอาจทาการควบคุม
ปัจจัยเสี่ยงด้านอื่นๆ (ได้แก่ เหล้า การพนัน และ
อุบัติเหตุ อย่างใดอย่างหนึ่ง) พร้อมกันไปด้วย
http://www.adeq.or.th
การดาเนินงานของ HPE Standard
มีการสร้างเสริมสุขภาพของพนักงานด้วยการดาเนินการ ดังนี้
• มีนโยบายด้านการสร้างเสริมสุขภาพเป็นลายลักษณ์อักษร
• มีคณะทางานด้านการสร้างเสริมสุขภาพ
• ไม่มีการจาหน่ายสินค้าที่เป็นบ่อนทาลายสุขภาพทุกชนิด
• มีการจัดสภาพแวดล้อมเพื่อควบคุมปัจจัยและพฤติกรรมเสี่ยง
ต่อสุขภาพ
• และ/หรือมีการจัดทากิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ อย่างหนึ่ง
อย่างใด ดังต่อไปนี้
• จัดระบบสื่อสารให้ความรูเ้ กี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพ หรือสร้าง
ความตระหนักให้เกิดขึ้นแก่พนักงาน
• มีระบบสนับสนุนพนักงานให้ลด ละเลิก ห่างไกลจากปัจจัยเสีย
่ ง
โครงการให้ การสนับสนุนทางเทคนิคและสื่ อรณรงค์
การดาเนินงานของ HPE Standard
(กรณีเลือกทาเรือ
่ งบุหรีเ่ รือ
่ งเดียว)
มีการสร้างเสริมสุขภาพของพนักงานด้วยการดาเนินการ ดังนี้
• มีนโยบายควบคุมการสูบบุหรี่ในที่ทางาน เป็นลายลักษณ์
อักษร
• มีคณะทางานสร้างเสริมสุขภาพ
• ไม่มีการจาหน่ายบุหรี่ในสถานประกอบการ
• มีการจัดสภาพแวดล้อมให้ปลอดบุหรี่ตามกฎหมาย
• หรือมีการจัดทากิจกรรมควบคุมการสูบบุหรี่ อย่างหนึ่งอย่าง
ใด ดังต่อไปนี้
• มีระบบสื่อสารให้ความรูแ
้ ก่พนักงาน
• มีระบบสนับสนุนพนักงานให้ลด ละเลิก บุหรี่
สถานประกอบการสร้างเสริมสุขภาพระดับก้าวหน้า
(HPE Premium)
มีการสร้างเสริมสุขภาพด้วยการควบคุมปัจจัยเสี่ยงอย่าง
น้อย 2 ประเด็น โดยต้องมีการควบคุมการสูบบุหรี่ในที่
ทางาน เป็นประเด็นหลัก และมีการควบคุมปัจจัยเสี่ยง
ด้านอื่นๆ (ได้แก่ เหล้า การพนัน และอุบัติเหตุ อย่างใด
อย่างหนึ่ง) พร้อมกันไปด้วย
การดาเนินงานของ HPE Premium
มีการสร้างเสริมสุขภาพของพนักงานด้วยการดาเนินการ ดังนี้
• มีนโยบายด้านการสร้างเสริมสุขภาพเป็นลายลักษณ์อักษร
• มีคณะทางานด้านการสร้างเสริมสุขภาพ
• มีแผนปฏิบัติการสร้างเสริมสุขภาพของหน่วยงาน โดยมี
กิจกรรมดังต่อไปนี้
• มีการจัดสภาพแวดล้อมเพือ
่ ควบคุมปัจจัยและพฤติกรรมเสีย
่ งฯ
• มีระบบสื่อสารให้ความรูเ้ กี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพ
• มีระบบสนับสนุนพนักงานให้ลด ละเลิก ห่างไกลจากปัจจัยเสีย
่ ง
• มีการดาเนินงานตามแผนปฏิบัติการ
• มีการประเมินผล
•ไม่มีการจาหน่ายสินค้าที่เป็นบ่อนทาลายสุขภาพทุกชนิด
ดาเนินการอย่ างเป็ นระบบ โดยโครงการสนับสนุนทางด้ านเทคนิคและสื่ อ
สามารถเขียนข้ อเสนอโครงการของบฯ สนับสนุน
การสนับสนุนจากโครงการ
1. จัดค่ ายฝึ กอบรม “กระบวนการขับเคลือ่ นสถานประกอบการปลอดบุหรี่”
ให้ คณะทางานของสถานประกอบการ จานวน 5 รุ่น รวม 250 คน
สร้างความตระหนัก
รูจ้ กั วิธีการและเครือ่ งมือในการขับเคลือ่ นสถานประกอบการปลอดบุหรี่
2. จัดกิจกรรมสัมมนาในประเด็นที่เป็ นประโยชน์
3. จัดกิจกรรมรณรงค์ สัญจรในสถานประกอบการที่มีการดาเนินงานอย่างเป็ นระบบ
จัดกิจกรรมรณรงค์สญั จร จานวน 10 ครั้ง
4. สนับสนุนสื่ อรณรงค์ ภาวะปลอดบุหรี่ในสถานประกอบการ ทีส่ ื่ อความหมาย
โดยตรงถึงพนักงานในสถานประกอบการ
โปสเตอร์เกีย
่ วกับการสร้างเสริมสุขภาพ
Health Promotion Conner
Health Promotion
Enterprise Banner
5. เจ้ าหน้ าทีโ่ ครงการให้ คาปรึกษาอย่ างใกล้ชิด
5. มีพเี่ ลีย้ งให้ คาปรึกษาด้ านการดาเนินงาน
โครงการสถานศึกษาดีเด่นด้านพลังงาน