รัฐธรรมนูญคืออะไร • รัฐ ธรรมนู ญ เป็ นกฎหมายสู ง สุ ด ว่ า ด้ว ยการจัด ระเบี ย บ การปกครองประเทศส าหรั บ ประเทศไทย นั.
Download
Report
Transcript รัฐธรรมนูญคืออะไร • รัฐ ธรรมนู ญ เป็ นกฎหมายสู ง สุ ด ว่ า ด้ว ยการจัด ระเบี ย บ การปกครองประเทศส าหรั บ ประเทศไทย นั.
รัฐธรรมนูญคืออะไร
• รัฐ ธรรมนู ญ เป็ นกฎหมายสู ง สุ ด ว่ า ด้ว ยการจัด ระเบี ย บ
การปกครองประเทศส าหรั บ ประเทศไทย นั บ จาก
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยูห่ วั ได้ทรงพระกรุณา
โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทานรัฐธรรมนู ญแห่ง
ราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช 2475 เป็ นต้นมา
รัฐธรรมนูญคืออะไร (ต่อ)
• ได้มีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขและประกาศใช้รฐั ธรรมนูญและ
ธรรมนู ญการปกครองอีกหลายฉบับ เพื่อให้เหมาะสมและ
สอดคล้องกับสภาวการณ์บา้ นเมืองที่ผนั แปรเปลี่ยนแปลง
ในแต่ละยุคสมัย
• บรรดารัฐ ธรรมนู ญ และธรรมนู ญ การปกครองที่ มี ม าทุ ก
ฉบับ มีสาระสาคัญเหมือนกัน ที่ยึดมั ่นในหลักการปกครอง
ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยท์ รงเป็ นประมุข
• รั ฐ ธ ร ร ม นู ญ ที่ ใ ช้ ใ น ปั จ จุ บั น คื อ รั ฐ ธ ร ร ม นู ญ แ ห่ ง
ราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั ่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๔๙
• รัฐธรรมนู ญฉบับนี้ บัญญัติเรื่องการร่างรัฐธรรมนู ญไว้ใน
มาตรา ๑๙ ถึง มาตรา ๓๔
• กาหนดให้มีสภาร่างรัฐธรรมนู ญเพื่อจัดทาร่างรัฐธรรมนู ญ
ประกอบด้วยสมาชิกทั้งหมด จานวน หนึ่งร้อย คน
• ในการจัดทาร่างรัฐธรรมนูญให้สภาร่างรัฐธรรมนูญแต่งตัง้
คณะกรรมมาธิ ก ารยกร่ า งรั ฐ ธรรมนู ญ ขึ้ นคณะหนึ่ ง
ประกอบด้วย
ผู ้ท รงคุ ณ วุ ฒิ ซึ่ ง เป็ นหรื อ มิ ไ ด้เ ป็ นสมาชิ ก สภาร่ า ง
รัฐธรรมนู ญที่ได้รับการคัดเลือกตามมติของสภาจานวน
ยี่สิบห้าคน และผูท้ รงคุณวุฒิซึ่งเป็ นหรือมิไ ด้เป็ นสมาชิก
สภาร่า งรัฐ ธรรมนู ญ จ านวน สิ บ คน ตามค าแนะน าของ
ประธานคณะมนตรีความมั ่นคงแห่งชาติ
กาหนดกรอบระยะเวลาการจัดทาร่างรัฐธรรมนูญ
๑๓ - ๑๕ มี.ค.๕๐
กรรมาธิ ก ารหารื อ และมี ค วามเห็ น ร่ ว มกั น ใน
ร่างแรกเป็ นครั้งสุดท้าย
๑๖ - ๒๑ มี.ค.๕๐ ฝ่ ายเลขา ฯ จัดทาร่าง รธน.เป็ นรายมาตรา
๒๒ - ๒๓ มี.ค.๕๐ กรรมาธิการอภิปรายรายมาตรา
๒๙ มี.ค.๕๐ กรรมาธิการรับฟั งความคิดเห็นจาก กรรมาธิการ
วิสามัญประสานการมีสว่ นร่วมและประชามติ
๑๙ เม.ย.๕๐ จัดทาร่าง รธน. ร่างแรกเสร็จ
๒๐ - ๒๖ เม.ย.๕๐ จัดพิมพ์รา่ ง รธน.เพื่อเผยแพร่และคาชี้แจง
ความแตกต่างกับ รธน.๔๐
กาหนดกรอบระยะเวลาการจัดทาร่างรัฐธรรมนู ญ
๒๗ เม.ย.- ๒๖ พ.ค.๕๐ คณะกรรมาธิการยกร่างฯจัดให้มีการรับฟั ง
ความคิดเห็นจากองค์กร และประชาชน
รวมทั้งสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ
(รธน.ม.๒๘)
๖ ก.ค.- ๔ ส.ค.๕๐ เมื่อร่างรัฐธรรมนูญผ่านการเห็นชอบแล้วให้
จัดพิมพ์รา่ งรัฐธรรมนูญ เพื่อเผยแพร่ให้
ประชาชนทราบ(ระยะเวลาจัดพิมพ์ ๓๐ วัน)
๕ ส.ค.- ๓ ก.ย.๕๐
เริ่ ม เผยแพร่ ร่ า งรัฐ ธรรมนู ญ จัด ให้มี ก าร
ออกเสียงประชามติภายใน ๓๐ วัน แต่ไ ม่
เร็วกว่า ๑๕ วัน (รธน.ม.๒๙)
๖ ก.ค.- ๑๘ ส.ค.๕๐ เมื่ อรัฐธรรมนู ญผ่านประชามติให้รับแล้ว
คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนู ญจัดทา
ร่ า งพ.ร.บ.ประกอบ รัฐ ธรรมนู ญ ภายใน
๔๕ วัน (รธน.ม.๓๐)
คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนู ญแห่งราชอาณาจักรไทย
ได้กาหนดหลักการในรัฐธรรมนูญไว้ ๑๐ ประการ
๑. ประเทศไทยเป็ นราชอาณาจักรอันหนึ่งอันเดียวจะแบ่งแยกมิได้
๒. ต้อ งใช้ร ะบอบประชาธิ ป ไตย อัน มี พ ระมหากษัต ริ ยท์ รงเป็ น
ประมุข และดารงตาแหน่งจอมทัพไทย
๓. พระมหากษัตริยท์ รงดารงอยู่ในฐานะอันเป็ นที่เคารพสัก การะ
ผูใ้ ดจะละเมิดมิได้ และจะกล่าวหาฟ้องร้องมิได้
๔. ระบบการปกครองให้ใช้ระบบนิตริ ฐั และระบบรัฐสภา
คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนู ญแห่งราชอาณาจักรไทย
ได้กาหนดหลักการในรัฐธรรมนูญไว้ ๑๐ ประการ
๕. อานาจอธิปไตยให้เป็ นปวงชนชาวไทย
๖. พระมหากษัตริยท์ รงใช้อานาจทางรัฐสภา คณะรัฐมนตรี และ ศาล
๗. รัฐ ธรรมนู ญ ให้ถื อ เป็ นกฎหมายสู ง สุ ด ของประเทศ กฎหมายใด
จะขัดหรือแย้งมิได้
๘. ในกรณี ที่ ไ ม่ มี ข้ อ ก าหนดไว้ ใ นรั ฐ ธรรมนู ญให้ ใ ช้ ป ระเพณี
การปกครองในระบอบประชาธิ ป ไตย อั น มี พ ระมหากษั ต ริ ย ์
ทรงเป็ นประมุข
คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนู ญแห่งราชอาณาจักรไทย
ได้กาหนดหลักการในรัฐธรรมนูญไว้ ๑๐ ประการ
๙. ให้ถื อ ว่ า การปกครองประเทศต้อ งยึ ด ถื อ หลัก สิ ท ธิ ม นุ ษ ยชน
คื อ ศัก ดิ์ ศ รี ค วามเป็ นมนุ ษ ย์ สิ ท ธิ ห น้า ที่ เสรี ภ าพ และ
ความเสมอภาค
๑๐. ให้ถื อ ว่ า ผู ้พิ พ ากษา และตุ ล าการ มี อิ ส ระในการพิ จ ารณา
พิ พ ากษาอรรถคดี โดยเที่ ย งธรรมตามรั ฐ ธรรมนู ญ และ
กฎหมาย
คณะกรรมาธิการยกร่ าง รธน.
คณะอนุกรรมาธิการยกร่าง กรอบที่ ๑ ว่าด้วยสิทธิเสรีภาพ การ
มีสว่ นร่วมของประชาชนและการกระจายอานาจ
(นาย
ชูชยั ศุภวงศ์ เป็ นประธาน ฯ)
กรอบการพิจารณา
๑. สิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทย
๒.หน้าที่ของปวงชนชาวไทย
๓. แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ
๔. การกระจายอานาจ
คณะอนุ ก รรมาธิ ก ารยกร่า ง กรอบที่ ๒ ว่ า ด้ว ยสถาบัน การเมื อ ง
(นายจรัญ ภักดิธนากุล เป็ นประธาน ฯ)
กรอบการพิจารณา
๑. รัฐสภา
๒. คณะรัฐมนตรี
๓. ความสัมพันธ์ระหว่างข้าราชการกับนักการเมือง
๔. คุณธรรมและจริยธรรมของข้าราชการและ
นักการเมือง
คณะอนุ ก รรมาธิ ก ารยกร่า ง กรอบที่ ๓ ว่ า ด้ว ยองค์ก รตรวจสอบ
อิสระและศาล (นายวิชา มหาคุณ เป็ นประธาน ฯ)
กรอบการพิจารณา
๑. ศาล
๒. การตรวจสอบการใช้อานาจรัฐ
๓. การตรวจเงินแผ่นดิน
๔. ผูต้ รวจการแผ่นดินของรัฐสภา
คณะอนุกรรมาธิการติดตามผลและประสานงาน
การรับฟั งความคิดเห็นและการมีสว่ นร่วมของประชาชน
(นายไพโรจน์ พรหมสาส์น เป็ นประธาน ฯ)
กรอบการพิจารณา
๑. ติด ตามและประสานงานการรับ ฟั ง ความคิ ด เห็ น และการ
มี ส่ ว นร่ ว มของประชาชนกั บ คณะกรรมาธิ ก ารและคณะอนุ กรรมาธิการทุกคณะ
๒. รายงานสรุ ป ผลการติ ด ตามประสานงานและรับ ฟั ง ความ
คิดเห็นและการมีสว่ นร่วมของประชาชน
๓. ดาเนินการอื่น ๆ
ความคืบหน้าการร่าง รธน ๕๐ ของคณะกรรมาธิการยกร่าง ฯ
ประชุมเมื่อ ๑๐ มี.ค.๕๐ ณ จ.ประจวบคีรีขนั ธ์
สรุปผลการสัมมนาในประเด็นกรอบที่ ๓ สรุปได้ดงั นี้
๑. นา โครงสร้าง รธน. ๔๐ มากาหนดเป็ นกรอบกว้างๆเนื้อหาส่วนใหญ่ยงั คง
หลักการเดิมแต่จดั กลุ่มหมวดหมู่ ใหม่ เ พื่อให้ประชาชนเข้าใจง่ายขึ้ นและเพิ่ม
หลักการใหม่ ตามที่คณะกรรมาธิ การยกร่างฯเสนอ โดยประกอบด้วย
๑๕
หมวด และบทเฉพาะกาล
๒. เพิ่มหมวดใหม่ใน รธน. ได้แก่
หมวด ๗ การมีสว่ นร่วมทางการเมืองโดยตรงของประชาชน
หมวด ๘ การเงิน การคลัง และการงบประมาณ
หมวด ๑๑ องค์กรตามรัฐธรรมนูญ
หมวด ๑๓ จริยธรรมนักการเมืองและเจ้าหน้าที่ของรัฐ
ความคืบหน้าร่าง รธน ๕๐ ของคณะกรรมาธิการยกร่าง ฯ
๓. เพิ่ ม เรื่ อ ง คณะกรรมการอั ย การ ไว้ใ นหมวดองค์ก รตาม
รัฐธรรมนู ญ และเพิ่มเรื่อง ชุมชน แนวนโยบาย เศรษฐกิจพอเพี ยง
การส่งเสริมวิ ทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมที่ ประชุ มเห็ น
ชอบให้รอการพิจารณาเพื่อทบทวนอีกครั้ง
ประเด็นทีย่ งั ไม่ ยตุ ิ
๑. ศาสนาพุทธกาหนดให้เป็ นศาสนาประจาชาติหรือไม่
๒. องค์ประกอบทางการเมือง
- ที่มาของนายกรัฐมนตรี
- วาระการดารงตาแหน่งของนายกรัฐมนตรี
- วาระ, จานวน และประเภทของสมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎร
- การกาหนดเขตเลือกตัง้
- คุณวุฒิของ ส.ส., ส.ว.และที่มาตลอดจนอานาจของส.ว.
๓. พรรคการเมือง
- การจัดตัง้ พรรค การถอดถอน
- การบริจาคเงินให้พรรค
- อานาจของพรรค การย้ายพรรค
- การกาหนดให้นายกรัฐมนตรีรกั ษาการ ในกรณียุบพรรค
หรือหมดสมัย
- การยุบพรรคการเมือง ฯลฯ
เมื่อร่างรัฐธรรมนูญเสร็จ
• ประชาชนมี ป ระชามติ เ ห็ น ชอบให้น าร่ า งรัฐ ธรรมนู ญ
ฉบั บ ใหม่ ม าใช้บั ง คั บ แล้ว ให้ป ระธานสภานิ ติ บั ญ ญั ติ
แห่งชาตินาร่างรัฐธรรมนูญขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวาย
และเมื่อทรงลงพระปรมาภิไธยแล้วให้ประกาศใน ราช
กิจจานุเบกษาและใช้บงั คับได้
ถ้าร่างรัฐธรรมนูญไม่เสร็จ
ในกรณีที่สภาร่างรัฐธรรมนูญจัดทาร่างรัฐธรรมนูญ
ไม่แล้วเสร็จภายในกาหนดหรือสภาร่างไม่ให้ความเห็นชอบ
ร่างรัฐธรรมนูญหรือในการออกเสียงประชามติไม่เห็นชอบใน
ร่างรัฐธรรมนูญ
• ให้สภาร่างรัฐธรรมนู ญฯสิ้นสุดลงและให้คณะมนตรีความ
มั ่นคงแห่งชาติ ประชุมร่วมกับคณะรัฐมนตรีเพื่อ พิจารณา
รัฐธรรมนูญฯที่ได้เคยประกาศใช้บงั คับแล้วฉบับใด ฉบับ
หนึ่ งมาปรับปรุ งให้แล้วเสร็จภายในสามสิบวันนับ แต่วัน
ออกเสียงประชามติไม่เห็นชอบ