กลุ่ม 1 - ฝ่ายบริการการศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

Download Report

Transcript กลุ่ม 1 - ฝ่ายบริการการศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

การศึกษาเพือ
่ ความเป็นพลเมือง
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์กิตติภมู ิ มีประดิษฐ์
ผูอ้ านวยการสานักวิชาศึกษาทัวไป
่
มหาวิทยาลัยศรีปทุม
ประธานคณะอนุกรรมการดาเนินกิจกรรมการสร้างรายวิชาและ
การจัดการเรียนการสอนในหมวดวิชาศึกษาทัวไปเพื
่
่อพัฒนานิสิตนักศึกษา
สภาพปัญหา : การเปลีย
่ นแปลงและการพัฒนาการเมืองไทย
ยังไม่สามารถก่อให้เกิดความเข้มแข็งของวัฒนธรรม
ประชาธิปไตยได้อย่างแท้จริง
เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าวจึงต้องจัดให้มีแผนพัฒนาการเมืองขึน้
เพื่อให้เป็ นเครื่องมือในการเสริมสร้างการเมืองไทยให้เป็ นปัจจัย
เกือ้ หนุนอันสาคัญต่อการพัฒนาประเทศและสังคมไทยให้ยงยื
ั ่ นและ
สันติสขุ กลไกสาคัญที่จะขับเคลื่อนและมีผลต่อการพัฒนาการ
เมืองไทยมากที่สดุ ซึ่งก็คือการให้ความสาคัญอย่างยิ่งกับการ
เสริมสร้างธรรมาภิบาล ( Good Governance ) หรือระบบบริหาร
กิจการบ้านเมืองที่ดี ให้เกิดขึน้ ในการบริหารจัดการประเทศและ
ระบบการเมืองไทยอย่างแท้จริง
การพัฒนาทางการเมือง
(1)
(2)
(3)
(4)
(5)
คือผลที่เกิดขึน้ จากการกระทาระหว่างองค์ประกอบทางการเมือง ซึ่ง
การกระทานี้ ก่อให้เกิดผลเป็ นการเปลี่ยนแปลงจากสิ่งเดิม ๆ ไปสู่สิ่ง
ใหม่ ๆ และสิ่งใหม่ที่เกิดขึน้ นี้ ต้องดีกว่าเดิม ในการพัฒนาการเมือง
นัน้ ต้องพิจารณาถึงองค์ประกอบที่มีความสาคัญต่อกระบวนการทาง
การเมือง ซึ่งต้องกระทาร่วมกัน ได้แก่
ประชาชนและกลุ่มของประชาชน
สังคมการเมือง
หลักการหรือระเบียบ(รัฐธรรมนูญ)
กลไกหรือเครื่องมือของรัฐ และ
สังคมเศรษฐกิจหมายถึงระบบเศรษฐกิจการตลาดแบบเสรี
การพัฒนาทางการเมืองจึงจาเป็นต้องให้ความสาคัญ
เบื้องต้นต่อประชาชนที่จะทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางการ
เมืองขึ้นมา
ความเปลี่ยนแปลงที่สาคัญคือ ความเปลี่ยนแปลงใน
วัฒนธรรมทางการเมือง (political culture)
วัฒนธรรมทางการเมืองหมายถึง การกระทาร่วมกัน
ของประชาชนที่เห็นเป็นพฤติกรรมร่วมกันอย่างชัดเจน
พืน้ ฐานสาคัญที่จะทาให้การพัฒนาการเมืองไทยบรรลุ
เป้ าหมายก็คือ
การที่ประชาชนในชาติมีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักและมี
จิตสานึ กเป็ นประชาธิปไตย ยึดถือหลักประชาธิปไตยเป็ นกรอบใน
การดาเนินชีวิต หรือมีวิถีชีวิตตามวิถีประชาธิปไตย
การไปสู่จดุ หมายดังกล่าวนี้ นัน้ ไม่ใช่เรื่องง่าย เป็ นเรื่องจาเป็ นที่ทุก
ฝ่ ายจะต้องให้ความสนใจและหันมาร่วมกันดาเนินกระบวนการ
เรียนรู้ให้เกิดขึน้ ในสังคมให้การศึกษาทางการเมือง และประชาชน
การให้การศึกษาและการพัฒนาทักษะการสร้างวัฒนธรรมทัง้
ทางตรงและทางอ้อมแก่ประชาชน (civic education) แล้ว
จะนาไปสูก
่ ารพัฒนาในมิติอน
ื่ ๆ เพื่อการพัฒนาการเมือง
ต่อไป
การศึกษาเพื่อความเป็ นพลเมือง
(Civic Education)
สร้างสานึ กพลเมือง โดยการเพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับประชาธิปไตย
และรัฐธรรมนูญให้แก่ประชาชนทัวไป
่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งปลูกฝังจิตสานึ ก
ให้กบั เยาวชนในฐานะคนรุ่นใหม่ เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ตลอดจน
ทัศนคติและพฤติกรรมอันดีในการเป็ นประชาชนพลเมืองของประเทศ
การศึกษาเพื่อความเป็ นพลเมือง
(Civic Education)
เพื่อปลูกฝังให้ผเู้ รียนเป็นพลเมืองดีทั้งปัจจุบน
ั และอนาคต
เป็ นโครงการทีน่ าหลักสู ตรการสร้ างสานึกพลเมือง
สาหรับเยาวชน
ประยุกต์ ใช้ กบั หลักสู ตรวิชาศึกษาทัว่ ไป
เสริมสร้ างให้ นักศึกษาได้ เรียนรู้ ถงึ การเข้ ามามีส่วนร่ วมกับ
ท้ องถิ่น
สร้ างจิตสานึกสาธารณะและการเป็ นพลเมืองทีด่ ี
ในระบอบประชาธิปไตยอย่ างบูรณาการ
มีเทคนิคและวิธีการเรียนรู้ ทสี่ นุกสนาน
ลงมือปฏิบัตแิ ละเรียนรู้ พร้ อมกับการพัฒนาตนเอง
ตามวิถีประชาธิปไตยได้ อย่ างดี
มีข้นั ตอนสาคัญ 6 ขั้นตอน คือ
1. การระบุปัญหานโยบายสาธารณะในชุมชน
2. การเลือกปัญหาเพื่อศึกษาในชัน้ เรียน
3. การรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับปัญหาที่จะศึกษาในชัน้ เรียน
4. การพัฒนาแฟ้ มผลงาน
5. การนาเสนอแฟ้ มผลงาน
6. ผลสะท้อนจากประสบการณ์ เรียนรู้
แนวความคิดเรื่องการพัฒนาการเมือง คือหนังสือของ Lucian Pye ชื่อ
Aspects of Political Development แนวความคิดต่าง ๆ เกี่ยวกับการพัฒนา
การเมือง 10 แนวความคิด โดยการสังเคราะห์และออกมาในรูปของ
Development Syndrome หรือพหุภาพแห่งการพัฒนา










รากฐานของการพัฒนาเศรษฐกิจ
การเมืองในสังคมอุตสาหกรรม
ความจาเริญทางการเมือง
ระบบการเกิดรัฐชาติ
การพัฒนาการบริหารและกฎหมาย
การระดมพลและการมีส่วนร่วมทางการเมือง
การสร้างประชาธิปไตย
เสถียรภาพการเมืองและการเปลี่ยนแปลงอย่างมีระเบียบ
การระดมพลและอานาจ
แง่หนึ่ งของการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
Samuel Huntington
การพัฒนาการเมือง หมายถึง การที่จะสร้างสถาบันทางการเมืองที่
มีลกั ษณะยืดหยุ่น (adaptability) ซับซ้อน (complexity) และเป็ น
อิสระพอสมควร และมีความเป็ นกลุ่มเป็ นก้อน
ความทันสมัยทางการเมืองคือการตื่นตัวและมีส่วนร่วมทางการ
เมือง
ซึ่งถ้าอัตราการพัฒนาการเมืองเกิดขึน้ ไม่ทนั อัตราความทันสมัย
ทางการเมือง ก็จะนาไปสู่ “ความผุพงั ทางการเมือง (Political
Decay)”
Good Governance (ธรรมาภิบาล)
หมายถึง การบริหารจัดการบ้านเมือง สังคม องค์กร
สถาบัน หรือธุรกิจ ด้วยความซื่อสัตย์สจ
ุ ริต
(Honesty) ความเปิดเผย โปร่งใส (Transparency)
ความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้ (Accountability)
ความชอบธรรม ยุติธรรม(Fairness) ความมีคุณภาพ
ประสิทธิภาพ (Quality and Efficiency) และการมี
มาตรฐาน คุณธรรม จริยธรรม เป็นการทั่วไป
(General Ethical and Morale Standard)
หลักธรรมาภิบาล UNDP
ั ัศน์
วิสยท
เชงิ
ยุทธศาสต
ร์
ภาระร ับ
ผิดชอบ
การมี
สว่ นร่วม
นิตธ
ิ รรม
การบริหาร
กิจการ
บ้านเมืองที่
ดี
ิ ธิภา
ประสท
พ
ิ ธิผล
ประสท
ความ
โปร่งใส
การตอบ
สนอง
ความ
เสมอภาค
การ
มุง
่ เน้น
ฉ ันทา
มติ
1.
การมีสว่ นร่วม
(Participation)
ิ ธิม
ี งในการตัดสน
ิ ใจทัง้ โดยทางตรง
• ชายและหญิงทุกคนควรมีสท
์ เี สย
หรือผ่านทางสถาบันตัวแทนอันชอบธรรมของตน ทัง้ นี้ การมีสว่ นร่วมที่
เปิ ดกว ้างนัน
้ ต ้องตัง้ อยูบ
่ นพืน
้ ฐานของการมีเสรีภาพในการรวมกลุม
่ และ
การแสดงความคิดเห็น รวมถึงการสามารถเข ้ามามีสว่ นร่วมอย่างมี
เหตุผลในเชงิ สร ้างสรรค์
2. นิตธ
ิ รรม (Rule of Law)
• กรอบตัวบทกฎหมายต ้องมีความเป็ นธรรม และไม่มก
ี ารเลือกปฏิบต
ั ิ
ิ ธิมนุษยชน
โดยเฉพาะในสว่ นทีเ่ กีย
่ วข ้องกับเรือ
่ งของสท
3. ความโปร่งใส (Transparency)
• ต ้องอยูบ
่ นพืน
้ ฐานของการไหลเวียนอย่างเสรีของข ้อมูลข่าวสาร
บุคคลทีม
่ ค
ี วามสนใจเกีย
่ วข ้องจะต ้องสามารถเข ้าถึงสถาบัน
กระบวนการ และข ้อมูลข่าวสารได ้โดยตรง ทัง้ นีก
้ ารได ้รับข ้อมูล
ข่าวสารดังกล่าวนัน
้ ต ้องมีความเพียงพอต่อการทาความเข ้าใจและการ
ติดตามประเมินสถานการณ์
14
14
4. การตอบสนอง (Responsiveness)
• สถาบันและกระบวนการดาเนินงานต ้องพยายามดูแลเอาใจ
่้ อ
ี ทุกฝ่ าย
ใสต
่ ผู ้มีสว่ นได ้สว่ นเสย
5. การมุง
่ เน้นฉ ันทามติ (Consensus Oriented)
• มีการประสานความแตกต่างในผลประโยชน์ของฝ่ ายต่างๆ
เพือ
่ หาข ้อยุตริ ว่ มกันอันจะเป็ นประโยชน์ตอ
่ ทุกฝ่ าย ไม่วา่ จะ
เป็ นนโยบายและกระบวนการขัน
้ ตอนใดๆ ให ้มากทีส
่ ด
ุ เท่าที่
จะเป็ นไปได ้
6. ความเสมอภาค (Equity)
• ชายและหญิงทุกคนต ้องมีโอกาสในการปรับปรุงสถานะหรือ
รักษาระดับชวี ต
ิ ความเป็ นอยูข
่ องตน
15
15
ิ ธิภาพและประสท
ิ ธิผล
7. ประสท
(Effectiveness/Efficiency)
ั ฤทธิท
• สถาบันและกระบวนการต ้องสร ้างผลสม
์ ต
ี่ รงต่อความต ้องการ
้ พยากรให ้เกิดประโยชน์สงู สุด
และขณะเดียวกันก็ต ้องใชทรั
8. ภาระร ับผิดชอบ (Accountability)
ิ ใจ ไม่วา่ จะอยูใ่ นภาครัฐ ภาคเอกชน และองค์กรภาค
• ผู ้มีอานาจตัดสน
ประชาสงั คมก็ตาม ต ้องมีภาระรับผิดชอบต่อสาธารณชนทัว่ ไปและผู ้มี
ี ในสถาบันของตน
สว่ นได ้สว่ นเสย
ั ัศน์เชงิ ยุทธศาสตร์ (Strategic Vision)
9. วิสยท
• ผู ้นาและบรรดาสาธารณชนต ้องมีมม
ุ มองทีเ่ ปิ ดกว ้างและเล็งการณ์ไกล
เกีย
่ วกับการบริหารกิจการบ ้านเมืองและการพัฒนามนุษย์ (สงั คม)
รวมถึงมีจต
ิ สานึกว่าอะไรคือความต ้องการจาเป็ นต่อการพัฒนาดังกล่าว
ั ซอนของบริ
้
ตลอดจนมีความเข ้าใจในความสลับซบ
บททาง
ประวัตศ
ิ าสตร์ วัฒนธรรม และสงั คม ซงึ่ เป็ นสงิ่ ทีอ
่ ยูใ่ นแต่ละประเด็นนัน
้
16
16
แนวทางการพัฒนาวัฒนธรรมประชาธิปไตย
และวัฒนธรรมธรรมาภิบาลให้เกิดขึน
้
1. รณรงค์สร้างกระบวนการเรียนรู้ ปลูกฝังจิตสานึ ก ค่านิยม
วัฒนธรรมประชาธิปไตย วัฒนธรรมธรรมาภิบาลแก่เยาวชน และ
ประชาชนทุกกลุ่ม ทุกภาคส่วนในสังคม อย่างต่อเนื่ องจริงจัง
2. พัฒนาภาวะความเป็ นผูน้ าประชาธิปไตยที่มีคณ
ุ ธรรม จริยธรรม
และธรรมาภิบาลในสังคมทุกระดับให้เป็ นแบบอย่างที่ดีใน
สังคมไทย
3. เสริมสร้างการพัฒนาการเมืองให้โปร่งใส สุจริต เพื่อสนับสนุนการ
สร้างวัฒนธรรมประชาธิปไตยและวัฒนธรรมธรรมาภิบาล เช่น
ร่วมจัดทาแผนพัฒนาการเมืองแบบมีส่วนร่วมและกาหนด
มาตรฐานคุณธรรม จริยธรรมของนักการเมือง
4. เสริมสร้างความเข้มแข็งและประสิทธิภาพของกลไกการ
ตรวจสอบภาคประชาชน
5. สนับสนุนการสร้างวัฒนธรรมสันติวิธีและจัดให้มีกลไกที่ส่งเสริม
การแก้ไขปัญหาความขัดแย้งอย่างสันติวิธี
6. ส่งเสริมให้ประชาชนทุกระดับมีโอกาสเข้าถึงกระบวนการ
ยุติธรรมอย่างเท่าเทียมในทุกขัน้ ตอน
7. เร่งรัดการก่อตัง้ องค์การภาคสังคมตามรัฐธรรมนูญ เพื่อให้เป็ น
องค์การแกนที่เป็ นอิสระเข้ามาถ่วงดุลการใช้อานาจของระบบ
ราชการ
การจัดกระบวนการเรียนรู้ทางการเมือง
1. ด้านการอบรมบ่มนิสยั ให้เกิดความรับผิดชอบทางสังคม
คุณธรรม และจริยธรรม
2. ด้านการสร้างกระบวนการมีส่วนร่วม
3. ด้านการมีความรู้ข้อมูลข่าวสารทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคมที่
เกี่ยวกับสถาบันการเมือง
การจัดกระบวนการเรียนรูว
้ ถ
ิ ป
ี ระชาธิปไตย
สู่ประชาชนและนักศึกษา
1.
ที่ผา่ นมาการเรียนรู้วิถีประชาธิปไตยในสังคมไทยเป็ นไปในลักษณะการให้
การเรียนรู้เชิง cognitive domain เป็ นหลัก ในส่วนของประสบการณ์ ตรง
หรือด้าน experience domain เป็ นเพียงประสบการณ์ที่มีการจัด
กระบวนการเรียนรู้ไว้โดยมีรปู แบบที่ตายตัว สังคมไทยยังไม่เปิดโอกาสให้
ประชาชนส่วนใหญ่เรียนรู้วิถีชีวิตประชาธิปไตยอย่างเพียงพอทัง้ ๆ ที่สงั คม
เปิดมากขึน้ ประชาชนจึงยังมีความขัดแย้งและคับข้องใจระหว่างความรับรู้
ทางการเมืองในมิติของการพัฒนาการเมืองสู่วิถีประชาธิปไตย กับ
ประสบการณ์ จริงในระบบการเมืองที่เป็ นอยู่ มีความเห็นที่สอดคล้องกันว่า
วิถีประชาธิปไตยเป็ นพืน้ ฐานสาคัญที่จะส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ทาง
การเมือง และการพัฒนาการเมืองไทยอย่างยังยื
่ นในอนาคตและการกากับ
ดูแลจากรัฐ
2. แนวทางในการจัดกระบวนการเรียนรู้วิถีประชาธิปไตยสู่
ประชาชน เริ่มจากระดับพืน้ ฐานคือ ครอบครัว การเรียนรู้ทาง
การเมืองของประชาชนควรจะเรียนรู้จากเหตุการณ์จริง และ
ประสบการณ์ตรง นัน่ คือ การมีช่องทางที่เปิดให้ประชาชนเข้ามี
ส่วนร่วมในกระบวนการทางการเมืองอย่างกว้างขวาง ซึ่งการจัด
กระบวนการเรียนรู้วิถีประชาธิปไตยสู่ประชาชนคือ การมีข้อมูล
ข่าวสารที่พอเพียง และช่องทางที่ประชาชนจะเข้าถึงข้อมูล
ข่าวสารที่สะดวก หลายช่องทาง ควรจะต้องมีองค์ความเรื่องรู้วิถี
ประชาธิปไตย ที่ส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ความตระหนักที่
เท่าทันกับกติกากฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบหรือประเด็นทาง
การเมือง เพื่อการประเมินและตัดสินใจโดยอิสระ ปราศจากการ
ครอบงา ซึ่งโดยพืน้ ฐานทางวัฒนธรรมสังคมพุทธมีปรัชญา
กระบวนเรียนรู้เหตุ/ผลเป็ นพืน้ ฐานอยู่แล้ว