ภาพนิ่ง 1 - สำนักโรคไม่ติดต่อ

Download Report

Transcript ภาพนิ่ง 1 - สำนักโรคไม่ติดต่อ

กรอบแนวคิดการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
กลุ่มปกติ
- FCG < 100
- BP < 120/80
พฤติกรรมสี่ยง
กลุ่มเสี่ยงสูง
Pre-DM/Pre-HT
- ภาวะอ้ วน (BMI  25 กก./ม.2)
- การดื่มสุรา สูบบุหรี่
- การบริโภคอาหารไม่เหมาะสม
- ออกกาลังกาย
พิการ
- FCG 100 - 125
- BP 120/80 – 139/89
ป่ วย
- FCG ,FPG > 126
- BP >140/90
ป่ วยมีภาวะแทรกซ้ อน
- ตา
- ไต
- เท้ า
เป้าหมายการดาเนินงาน
1. ลดป่ วย
ลดเสี่ยง
ปรั บพฤติกรรม 3อ. + 2ส.
หมู่บ้านต้นแบบ (SRM)
2. ควบคุมโรค
(good control)
ลดภาวะแทรกซ้ อน
ลดพิการ
คุณภาพชีวติ ที่ดี
วัตถุประสงค์
1. เพื่อถวายเป็ นพระราชกุศลแด่ พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หวั ในวโรกาส
ทรงเจริญพระชนมายุครบ 84 พรรษา
2. เพื่อตรวจคัดกรองและประเมินความเสี่ยงด้ านสุขภาพของประชาชน
ตลอดจนกระตุ้นให้ เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและดูแลสุขภาพ
ตนเอง
3. เพื่อกาหนดมาตรการเชิงรุ กและบริการที่เหมาะสมแก่ กลุ่มปกติ
กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่ วย และกลุ่มป่ วยที่มีภาวะแทรกซ้ อน ( ลดป่ วย
ลดภาวะแทรกซ้ อน ลดตาย )
4. เพื่อสร้ างกระแสให้ ประชาชนใส่ ใจดูแลสุขภาพตนเองมากขึน้
5. เพื่อให้ มีระบบเฝ้าระวังและป้องกันความเสี่ยง
ตัวชี้วดั ผลสาเร็จของโครงการ
1. ระดับผลผลิต
1. ตัวชีว้ ัดเชิงปริมาณ : ประชากรกลุ่มเสี่ยงสูงต่ อเบาหวาน ป่ วยเป็ น
โรคเบาหวานไม่ เกินร้ อยละ 5 ***
2. ตัวชีว้ ัดเชิงคุณภาพ : อัตราเพิ่มของการเข้ ารับการรักษาตัวใน
โรงพยาบาลด้ วยโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง ลดลงร้ อยละ 3***
3. ตัวชีว้ ัดเชิงเวลา : การจัดกิจกรรมในโครงการสามารถดาเนินการได้
ในระยะเวลาที่กาหนดไม่ น้อยกว่ า ร้ อยละ 90
4. ตัวชีว้ ัดเชิงต้ นทุน : การใช้ จ่ายงบประมาณบรรลุผลได้ ตามกิจกรรม
ที่กาหนด ไม่ น้อยกว่ า ร้ อยละ 95
ตัวชี้วดั ผลสาเร็จของโครงการ (ต่อ)
2. ระดับกิจกรรม
จัดระบบบริการสุขภาพเชิงรุ ก เพื่อป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
ตัวชีว้ ัดเชิงปริมาณ : จานวนหมู่บ้าน / ชุมชนต้ นแบบการปรับเปลี่ยน
พฤติกรรมสุขภาพ การเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรค และการดูแล
ผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง อาเภอละ 1 หมู่บ้าน/ชุมชน ***
: ร้ อยละ 90 ของประชาชนอายุ 35 ปี ขึน้ ไปได้ รับการคัดกรอง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงตามมาตรฐานที่กาหนด ***
: มีศูนย์ บริหารจัดการ ฐานข้ อมูลโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิต
สูง เพื่อการเฝ้าระวัง ติดตาม และประเมินผล
กลยุทธ์ / มาตรการ
1. กลยุทธ์ /มาตรการหลัก
1.1 การพัฒนาระบบบริการ (Individual approach)
ก. การตรวจสุขภาพเชิงรุ ก
ข. การให้ บริการในสถานบริการ
1.2 การพัฒนาศักยภาพชุมชน (Community approach) โดยใช้
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ : SRM ( Strategic Route Map )
กลยุทธ์ / มาตรการ
2. กลยุทธ์ /มาตรการสนับสนุน
2.1
2.2
2.3
2.4
การขับเคลื่อนทางสังคมและสื่อสารสาธารณะ
การพัฒนาศักยภาพบุคลากรและชุมชน และทาคู่มือต่ างๆ
การจัดระบบการติดตามประเมินผล เช่ น NCD Board
การจัดระบบฐานข้ อมูล
การ
Approach
Outlet
รพท./รพศ.
Individual
approach
รพช.
ประชากร
ป่วย +
้ น
ภาวะแทรกซอ
กรมวิชาการ
กรมการแพทย์
ป่วย
รพ.สต.
ี่ ง
กลุม
่ เสย
กรมควบคุมโรค
สอ.
กลุม
่ ปกติ
กรมอนาม ัย
ตรวจคัดกรอง
Community
approach
หมูบ
่ า้ น/
ชุมชน/
SRM องค์กร
กรมสน ับสนุน
บริการสุขภาพ/
กรมอนาม ัย/
กรมควบคุมโรค
1. Approach
กลุ่มประชาชนทั่วไป
1. คัดกรองเบือ้ งต้ นโดย อสม. (6ข้ อ)
2. คัดกรองโดย จนท.สาธารณสุข
กลุ่มปกติ
กลุ่มเสี่ยงสูง
-FCG < 100
-BP < 120/80
-FCG 100 - 125
-BP 120/80 – 139/89
3อ. 2ส.
- ลงทะเบียน
- 3อ. 2ส. เข้ มข้ น
- DPAC
กลุ่มป่ วย
-FPG > 126
-BP >140/90
- ลงทะเบียน
- 3อ. 2ส.
- ปรั บเปลี่ยนพฤติกรรม/DPAC
- รั กษาดู HbA1C
- ค้ นหาภาวะแทรกซ้ อน
- ถ่ ายภาพจอประสาทตา
- microalbuminuria
- ตรวจเท้ า
กลุ่มป่ วยมีภาวะแทรกซ้ อน
- ตา
- ไต
- เท้ า
- ลงทะเบียน
- 3อ. 2ส.
- ปรั บเปลี่ยนพฤติกรรม/DPAC
- รั กษาโรคและ
ภาวะแทรกซ้ อน
หน่ วย
งาน
กลุ่มปกติ
ชุมชน
อสม.
แนะนา 3 อ. 2ส.
กลุ่มเสี่ ยง
กลุ่มป่ วย +
ภาวะแทรกซ้ อน
SRM / ตารางสุ ขภาพเชิงรุก
3 อ. 2 ส.
- ตรวจสุ ขภาพ
- กิจกรรม 3 อ.2ส.
- SRM
คลินิก DPAC
(Diet Physical Activity Clinic)
รพช.
- ตรวจสุ ขภาพ
- กิจกรรม 3 อ.2ส.
- SRM
คลินิก DPAC
3 อ. 2 ส. เข้ มข้ น
รพท/
รพศ.
- ตรวจสุ ขภาพ
- กิจกรรม 3 อ.2ส.
- SRM
คลินิก DPAC
สอ./รพ.
สต.
กลุ่มป่ วย
3 อ. 2 ส. เข้ มข้ น
แนะนาป้องกันภาวะแทรกซ้ อน
- good control
- FCG ( Fasting Capillary
Blood Glucose )
- ค้ นหาภาวะแทรกซ้ อน
--แนะนาการปรับเปลีย่ นพฤติกรรม
แนะนาเข้ ารับการรักษา
ส่ งต่ อ
- good control
- FBS
- HbA1C
- lipid profile
- ค้ นหาภาวะแทรกซ้ อน
- MicroalbuminUria , ถ่ ายรู ป
Fundus , ตรวจเท้า ใน DM
- หัวใจ ใน HT
-แนะนาการปรับเปลีย่ นพฤติกรรม
- รักษาเบือ้ งต้ น เช่ น CAPD
- เครือข่ ายกับ รพท.
- ส่ งต่ อ
- good control
รักษา / รับ refer
- CAPD / HD / KT
- ยิง LASER ตา
- ภาวะแทรกซ้ อนอืน่ ๆ
สมอง ,หัวใจ,เท้า
- FBS
- Hb A1C
- lipid profile
- ค้ นหาภาวะแทรกซ้ อน
- MicroalbuminUria , ถ่ ายรู ป Fundus ,
ตรวจเท้ า ใน DM
- ตา ไต หัวใจ สมองใน HT
-แนะนาการปรับเปลีย่ นพฤติกรรม
2. Community approach
การสร้ างและใช้ แผนทีท่ างเดินยุทธศาสตร์
กระบวนการ ขันตอนที
้
่สาคัญของการสร้ างและการใช้ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
(Strategic Route Map : SRM) คือ
“ สร้ าง 3 ขันตอน
้
”
“ ใช้ 4 ขันตอน
้
”
รวมทังสิ
้ ้น 7 ขันตอน
้
การดาเนินงานในชุมชนที่ส่งผลต่ อการป้องกันควบคุมโรคเบาหวาน
และโรคความดันโลหิตสูงมีหลายรูปแบบ โดยหน่ วยงานต่ างๆ ประกอบด้ วย
กรมอนามัย
องค์ กรและชุมชนไร้ พุงต้ นแบบ
กรมควบคุมโรค
ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรค
กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
สุขภาพลดโรค
3. การสนับสนุนในการดาเนินงาน
1.
2.
3.
4.
5.
มีคณะกรรมการโรคไม่ ตดิ ต่ อเรื อ้ รั ง ( NCD Board )
การจัดทาระบบข้ อมูล
การประชาสัมพันธ์ โครงการฯ
การอบรมและพัฒนาบุคลากรทางการแพทย์
การพัฒนาคลินิก DPAC เช่ น ใน รพ.สต.
ตรวจราชการแบบเร่ งรัด
“จานวนจังหวัดที่มีผลการดาเนินโครงการสนองน ้าพระราชหฤทัยในหลวง ทรงห่วงใยสุขภาพ
ประชาชนฯในระดับดีมากถึงดีเยี่ยม”
ระดับการดาเนินงาน
• ดี = มีการดาเนินงานกิจกรรมในการสนับสนุนและกระบวนการดาเนินงานครบ ๑๐ ข้ อ
• ดีมาก = ผ่านการประเมินระดับดี และผ่านเกณฑ์ประเมินระดับผลผลิต ทัง้ ๒ ข้ อ
• ดีเยี่ยม = ผ่านการประเมินระดับดีมาก และผ่านเกณฑ์ประเมินระดับผลลัพธ์ ทัง้ ๓ ข้ อ
เกณฑ์
๑.ระบบสนับสนุนการดาเนินงาน
๑.๑ มี NCD Board และมีการบริ หารจัดการ
๑.๒ มีแผนงานโครงการของจังหวัดที่สอดคล้ องกับแนวทางการดาเนินงานโครงการสนองน ้าพระราชหฤทัยในหลวง
ทรงห่วงใยสุขภาพประชาชนฯ
๑.๓ มีระบบข้ อมูลในการเฝ้าระวังโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน
๑.๔ มีแผนการติดตามประเมินผลการดาเนินงาน
๒.กระบวนการดาเนินงาน
๒.๑ มีการตรวจสุขภาพเชิงรุก
๒.๒ มีการคัดกรองประชาชน แบ่งกลุม่ เป็ นกลุม่ ปกติ กลุม่ ที่มีความเสี่ยงสูง กลุม่ ป่ วย และกลุ่มป่ วยที่มี
ภาวะแทรกซ้ อน
๒.๓ มีการจัดตังคลิ
้ นิก DPAC ในสถานบริ การสุขภาพ
๒.๔ การตรวจรักษาโรคเบาหวาน (Good control) และความดันโลหิตสูงที่ได้ มาตรฐานของ รพ.สต, รพช.,
รพท. และ รพศ. เพื่อการควบคุมโรคที่ดีตามเป้าหมาย (Good control)
๒.๕ มีการค้ นหาภาวะแทรกซ้ อนจากเบาหวานและความดันโลหิตสูง
๒.๖ มีหมูบ่ ้ าน / ชุมชนต้ นแบบ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ โดยใช้ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ ครอบคลุมทุก
อาเภอ
๓.ผลผลิตการดาเนินงาน
๓.๑ ประชาชนอายุ ๓๕ ปี ขน
ึ้ ไปไดรั
้ บคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงตาม
มาตรฐานทีก
่ าหนดไมน
๙๐
่ ้ อยกวาร
่ อยละ
้
๓.๒ มีการดาเนินกิจกรรมหมูบ
มชนตนแบบการปรั
บเปลีย
่ นพฤติกรรม ในการส่งเสริม
่ าน/ชุ
้
้
พฤติกรรมสุขภาพ การเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ผาน
่
เกณฑรู์ ปแบบใดรูปแบบหนึ่ง อาเภอละ ๑ หมูบ
/ ชุมชน
่ าน
้
(**รูปแบบหมูบ
/ ชุมชน ประกอบดวย
๓ รูปแบบ ไดแก
มชนไรพุ
่ าน
้
้
้ ่ องคกรและชุ
์
้ ง
ตนแบบ
หมูบ
บเปลีย
่ นพฤติกรรมลดโรค และชุมชนลดเสี่ ยงลดโรค)
้
่ านปรั
้
๔.ผลลัพธ์ของการดาเนินงาน
๔.๑ ประชากรกลุมเสี
(Pre-DM) ป่วยเป็ นโรคเบาหวานไมเกิ
๕
่ ่ ยงสูงตอเบาหวาน
่
่ นรอยละ
้
(หรือลดลงจากฐานขอมู
๒)
้ ลเดิมในปี ๒๕๕๓ อยางน
่
้ อยรอยละ
้
๔.๒ อัตราเพิม
่ ของการเขารั
้ บการรักษาตัวในโรงพยาบาลดวยโรคเบาหวานลดลงจาก
้
ฐานขอมู
๓
้ ลเดิมในปี ๒๕๕๓ อยางน
่
้ อยรอยละ
้
๔.๓ อัตราเพิม
่ ของการเขารั
นโลหิตสูง ลดลง
้ บการรักษาตัวในโรงพยาบาลดวยโรคความดั
้
จากฐานขอมู
๓
้ ลเดิมในปี ๒๕๕๓ อยางน
่
้ อยรอยละ
้
ตรวจราชการแบบบูรณาการ
ประเภทความเสี่ยงเชิงยุทธศาสตร์ และประเด็นความเสี่ยง
K ความเสี่ยงด้ านแนวทางการดาเนินงานที่ไม่ สอดคล้ องกัน(Key Risk Area)
K ๑ : ความเสี่ยงต่ อการไม่ เป็ นไปตาม K ๑.๑ จังหวัดขาดการบริหารจัดการ
หลักภาระรั บผิดชอบ
ที่เข้ มแข็งในการขับเคลื่อนการ
ดาเนินงานโครงการ
K ๒ : ความเสี่ยงต่ อการไม่ เป็ นไปตาม K ๒.๑ ขาดความร่ วมมือจากภาคี
หลักการมีส่วนร่ วมของหน่ วยงานที่
เครื อข่ ายทุกภาคส่ วน เนื่องจาก
หน่ วยงานที่เกี่ยวข้ องยังไม่ รับรู้ และ
รั บผิดชอบโครงการ
ยังไม่ ให้ ความสาคัญต่ อกิจกรรมการ
จัดการปั จจัยเสี่ยง เพื่อการลด
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
ประเภทความเสี่ยงเชิงยุทธศาสตร์ และประเด็นความเสี่ยง
N ความเสี่ยงด้ านการตอบสนองความต้ องการที่แท้ จริงของประชาชน(Negotiation Risk)
N ๑ : ความเสี่ยงต่ อการไม่ เป็ นไปตาม
หลักการมีส่วนร่ วมของประชาชน
ผู้รับบริการ หรื อผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย
N ๒ : ความเสี่ยงต่ อการไม่ เป็ นไปตาม
หลักความคุ้มค่ า
N ๑.๑ ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ขาด
การรั บรู้ ความเข้ าใจ และการมีส่วน
ร่ วมในการจัดการปั จจัยเสี่ยง หรื อ
ปรั บเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลด
โอกาสเกิดโรคเบาหวาน ความดัน
โลหิตสูง และภาวะแทรกซ้ อน
N ๒.๑ การให้ บริการคัดกรอง ส่ งเสริ ม
สุขภาพ ป้องกันและรั กษา
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ใน
ประชาชนกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง และ
กลุ่มป่ วย ดาเนินการได้ ไม่ ท่ ัวถึง
หรื อไม่ ครอบคลุม
เกณฑ์ การประเมินค่ าความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาล
ประเภทความเสี่ยง
K ๑.๑ จังหวัดขาดการบริหาร
จัดการที่เข้ มแข็งในการ
ขับเคลื่อนการดาเนินงาน
โครงการ
กิจกรรมที่จังหวัดต้ องดาเนินการ
๑.มีการแต่งตังคณะ
้
กรรมการระดับจังหวัดในการ
ขับเคลื่อนโครงการฯโดยมี ผวจ.เป็ นประธาน และ
สสจ.เป็ นเลขาฯ
๒. มีการแต่งตังคณะท
้
างานจากหน่วยงานที่
เกี่ยวข้ องภายในจังหวัด โดยระบุบทบาทหน้ าที่และ
กรอบการดาเนินงานที่สอดคล้ องกับแนวทางการ
ดาเนินงานโครงการสนองน ้าพระราชหฤทัยฯ
๓. มีการผลักดันให้ โครงการสนองน ้าพระราชหฤทัยฯ
เป็ นนโยบายระดับจังหวัดและอาเภอ
เกณฑ์ การประเมินค่ าความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาล
ประเภทความเสี่ยง
K ๑.๑ จังหวัดขาดการบริหาร
จัดการที่เข้ มแข็งในการ
ขับเคลื่อนการดาเนินงาน
โครงการ
กิจกรรมที่จังหวัดต้ องดาเนินการ
๔. มีการถ่ายทอดนโยบาย/แผนงาน/โครงการของ
จังหวัดให้ ผ้ ปู ฏิบตั ิในแต่ละระดับรับทราบ
๕. หน่วยงานที่เกี่ยวข้ อง มีการจัดทาแผนงาน/
โครงการ ที่มีการสนับสนุนทรัพยากร (คน เงิน ของ)
ในการปฏิบตั ิงานที่เหมาะสม สอดคล้ องกับแผน
ยุทธศาสตร์ จงั หวัด
๖. มีการดาเนินงานตามกิจกรรมที่กาหนดในแผนฯ
ตามข้ อ ๔ โดย สสจ.และหน่วยงานที่เกี่ยวข้ องมีการ
กากับติดตาม ประเมินผลการดาเนินงานแบบบูรณา
การ พร้ อมทังวิ
้ เคราะห์ สรุป และนา เสนอต่อคณะ
กรรมการระดับจังหวัด
เกณฑ์ การประเมินค่ าความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาล
K ๑.๑ จังหวัดขาดการบริหารจัดการที่เข้ มแข็งในการขับเคลื่อนการดาเนินงานโครงการ
โอกาสเกิดความเสี่ยง
ผลกระทบจากการเกิดความเสี่ยง
น้ อย
(๑)
ค่ อนข้ างน้ อย
(๒)
ปานกลาง(๓)
มีแนวโน้ ม(๔)
แน่ นอน
(๕)
น้ อย
(๑)
ค่ อนข้ างน้ อย
(๒)
ปานกลาง(๓)
มีแนวโน้ ม(๔)
แน่ นอน
(๕)
ดาเนิ น
กิ จกรรม
ครบทัง้ ๖
ข้อ
ดาเนิ นกิ จกรรม
๕ ข้อ
ดาเนิ นกิ จกรรม
๔ ข้อ
ดาเนิ นกิ จกรรม
๒-๓ ข้อ
ดาเนิ น
กิ จกรรม
๐-๑ ข้อ
ดาเนิ น
กิ จกรรม
ครบทัง้
๖ ข้อ
ดาเนิ น
กิ จกรรม
๕ ข้อ
ดาเนิ น
กิ จกรรม
๔ ข้อ
ดาเนิ นกิ จกรรม
๒-๓ ข้อ
ดาเนิ น
กิ จกรรม
๐-๑ ข้อ
แบบติดตามฯ (ประเด็นคาถามในการตรวจราชการ) K ๑.๑
๑. มีคาสั่ งแต่ งตั้งคณะกรรมการระดับจังหวัด ทีม่ ผี ้ วู ่ าราชการจังหวัดเป็ นประธาน และ
นายแพทย์ สาธารณสุ ขจังหวัด เป็ นเลขานุการ หรือไม่ ? อย่างไร?
๒. มีการแต่ งตั้งคณะทางานทีม่ าจากหน่ วยงานทีเ่ กีย่ วข้ องภายในจังหวัด หรือไม่ ? และใน
คาสั่ งมีการระบุบทบาทหน้ าที่ และกรอบการดาเนินงานทีส่ อดคล้ องกับแนวทางการ
ดาเนินงานโครงการสนองนา้ พระราชหฤทัยฯ หรือไม่ ? อย่างไร?
๓. จังหวัดมีแผนงาน/โครงการทีส่ อดคล้ องกับแนวทางการดาเนินงานโครงการสนองนา้
พระราชหฤทัยในหลวงฯ แบบบูรณาการ หรือไม่ ? อย่างไร? และมีการผลักดันให้
โครงการสนองนา้ พระราชหฤทัยฯเป็ นนโยบายระดับจังหวัด หรือไม่ ?
๔. หน่ วยงานทีเ่ กีย่ วข้ องทั้งภายใน และภายนอกกระทรวงสาธารณสุ ข(ได้ แก่ สานักงาน
การศึกษาขั้นพืน้ ฐานเขต, อปท., เกษตรจังหวัด) ได้ รับการถ่ ายทอดนโยบายการ
ดาเนินงานโครงการ หรือไม่ ? อย่างไร? และหน่ วยงานดังกล่าว มีแผนงาน/โครงการที่
รองรับ/สนับสนุนแผนของจังหวัด หรือไม่? อย่างไร?
แบบติดตามฯ (ประเด็นคาถามในการตรวจราชการ) K ๑.๑
๕. มีกจิ กรรมการดาเนินงานตามแผนของจังหวัด หรือไม่ ? อย่ างไร?
๖. สานักงานสาธารณสุ ขจังหวัดและหน่ วยงานอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้ อง
ข้ างต้ นมีกจิ กรรมการดาเนินงานตามแผนที่รองรับหรือไม่ ? อย่ างไร?
๗. สานักงานสาธารณสุ ขจังหวัดและหน่ วยงานอืน่ ๆทีเ่ กีย่ วข้ องมีการ
รายงาน สรุปผลการดาเนินงานตามแผนเสนอต่ อคณะกรรมการ
ระดับจังหวัด หรือไม่ ? อย่ างไร?
เกณฑ์ การประเมินค่ าความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาล: K ๒.๑
ประเภทความเสี่ยง
K ๒.๑ ขาดความร่วมมือจาก
ภาคีเครื อข่ายทุกภาคส่วน
เนื่องจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้ อง
ยังไม่รับรู้ และยังไม่ให้ ความ
สาคัญต่อกิจกรรมการจัดการ
ปั จจัยเสี่ยง เพื่อการลด
โรคเบาหวานและความดันโลหิต
สูง
ปรับแก้ ในเอกสารหมายเลข ๕
กิจกรรมที่จังหวัดต้ องดาเนินการ
๑. มีการกาหนดให้ มีหน่วยงานประสานงานกลาง
ของจังหวัด
๒. มีช่องทางการสื่อสารการดาเนินงาน ระหว่างกัน
เช่น หนังสือราชการ เว็บไซด์ ระบบสารบรรณ
อิเลคทรอนิกส์
๓. จัดกิจกรรมในการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ระหว่าง
หน่วยงาน มีการติดตามความ ก้ าวหน้ าและ
พัฒนาการในการดาเนินงาน
เกณฑ์ การประเมินค่ าความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาล
K ๒.๑ ขาดความร่ วมมือจากภาคีเครือข่ ายทุกภาคส่ วน
โอกาสเกิดความเสี่ยง
ผลกระทบจากการเกิดความเสี่ยง
น้ อย
(๑)
ค่ อนข้ างน้ อย
(๒)
ปานกลาง(๓)
มีแนวโน้ ม(๔)
แน่ นอน
(๕)
น้ อย
(๑)
ค่ อนข้ าง
น้ อย(๒)
ปานกลาง(๓)
มีแนวโน้ ม(๔)
แน่ นอน
(๕)
ดาเนิ น
กิ จกรรม
ครบทัง้ ๓
ข้อ
ดาเนิ น
กิ จกรรม
๒ ข้อ
-
ดาเนิ น
กิ จกรรม
๑ ข้อ
ไม่ดาเนิ น
กิ จกรรม
ใดๆ
ดาเนิ น
กิ จกรรม
ครบทัง้ ๓
ข้อ
ดาเนิ น
กิ จกรรม
๒ ข้อ
-
ดาเนิ น
กิ จกรรม
๑ ข้อ
ไม่ดาเนิ น
กิ จกรรม
ใดๆ
ปรับแก้ ในเอกสารหมายเลข ๕
แบบติดตามฯ (ประเด็นคาถามในการตรวจราชการ) K ๒.๑
๑. จังหวัดมีการกาหนดให้ มีหน่ วยงานประสานงานกลางของจังหวัดเพือ่ การ
สื่ อสารแลกเปลีย่ น การดาเนินงานระหว่ างหน่ วยงานต่ างๆหรือไม่ ? อย่างไร? มีการ
จัดไว้ ณ ทีใ่ ด?
๒. ช่ องทางการสื่ อสารการดาเนินการระหว่ างกันของหน่ วยงานทีเ่ กีย่ วข้ อง ที่
กาหนดไว้ ได้ แก่ช่องทางใดบ้ าง (เช่ น หนังสื อราชการ เว็บไซด์ ระบบสารบรรณ
อิเลคทรอนิกส์ )
๓. มีการจัดกิจกรรมการแลกเปลีย่ นเรียนรู้ ร่วมกันหรือไม่ ? มีการติดตาม
ความก้าวหน้ าและพัฒนาการดาเนินงานของหน่ วยงานทีเ่ กีย่ วข้ อง หรือไม่ ?
อย่างไร?
เกณฑ์ การประเมินค่ าความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาล: N ๑.๑
ประเภทความเสี่ยง
N ๑.๑ ประชาชนกลุม่ เป้าหมาย
ขาดการรับรู้ ความเข้ าใจ และการ
มีสว่ นร่วมในการจัดการปั จจัย
เสี่ยง หรื อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
สุขภาพเพื่อลดโอกาสเกิด
โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
และภาวะแทรกซ้ อน
กิจกรรมที่จังหวัดต้ องดาเนินการ
๑.มีการประชาสัมพันธ์ และ รณรงค์ ในพืน้ ที่ รวมทัง้ สร้ าง
ช่ องทางให้ ประชาชนเข้ าถึงข้ อมูล ข่ าวสาร องค์ ความรู้ ได้
ง่ ายและสะดวก เพื่อให้ เกิดการรั บรู้ เข้ าใจ และมีส่วนร่ วม
ในการดูแลสุขภาพตนเองและปรั บเปลี่ยนพฤติกรรมอย่ าง
ถูกต้ องเพื่อลดโอกาสเกิดโรคในกลุ่ม เสี่ยง และลดภาวะ
แทรกซ้ อนในกลุ่มป่ วย
๒. มีการสื่อสารข้ อมูลในชุมชน ในการเฝ้าระวัง เพื่อ
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมายโดยประชาชน
๓. มีการจัดทาแผนสุขภาพ ตาบล โดยการมีส่วนร่ วมของ
ภาคีเครือข่ ายทุกภาคส่ วน
๔. ชุมชนมีการพัฒนารู ปแบบ/นวัตกรรม/เทคโนโลยีในการ
จัดการปั จจัยเสี่ยง เพื่อลดโรค เบาหวาน และความดัน
โลหิตสูงที่หลากหลาย และสอดคล้ องกับบริบทของพืน้ ที่
เกณฑ์ การประเมินค่ าความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาล
N ๑.๑ ประชาชนกลุม่ เป้าหมาย ขาดการรับรู้ ความเข้ าใจ และการมีสว่ นร่วม
โอกาสเกิดความเสี่ยง
ผลกระทบจากการเกิดความเสี่ยง
น้ อย
(๑)
ค่ อนข้ างน้ อย
(๒)
ปานกลาง(๓)
มีแนวโน้ ม(๔)
แน่ นอน
(๕)
น้ อย
(๑)
ค่ อนข้ าง
น้ อย(๒)
ปานกลาง(๓)
มีแนวโน้ ม(๔)
แน่ นอน
(๕)
ดาเนิ น
กิ จกรรม
ครบทัง้ ๔
ข้อ
ดาเนิ น
กิ จกรรม
๓ ข้อ
-
ดาเนิ น
กิ จกรรม
๒ข้อ
ดาเนิ น
กิ จกรรม
๑ ข้อ
ดาเนิ น
กิ จกรรม
ครบทัง้ ๔
ข้อ
ดาเนิ น
กิ จกรรม
๓ ข้อ
-
ดาเนิ น
กิ จกรรม
๒ข้อ
ดาเนิ น
กิ จกรรม
๑ ข้อ
แบบติดตามฯ (ประเด็นคาถามในการตรวจราชการ) N ๑.๑
๑.มีช่องทางใดบ้ าง? ที่ประชาชนสามารถเข้ าถึงการจัดกิจกรรม ข้ อมูลข่ าวสาร องค์ความรู้ เพือ่ ให้ เกิดการรับรู้ เข้ าใจ และมีส่วน
ร่ วมในการดูแลสุ ขภาพตนเอง และปรับเปลีย่ นพฤติกรรมอย่ างถูกต้ องเพือ่ ลดโอกาสเกิดโรคในกลุ่มเสี่ยง และลดภาวะแทรกซ้ อนใน
กลุ่มป่ วย
๒. มีการสื่อสารข้ อมูลในชุมชนในการเฝ้ าระวัง เพือ่ ปรับเปลีย่ นพฤติกรรมของกลุ่มเป้ าหมายโดยประชาชน หรือไม่ ? อย่ างไร?
๓. มีการจัดทาแผนสุ ขภาพตาบลโดยการมีส่วนร่ วมของภาคีเครือข่ ายทุกภาคส่ วนหรือไม่ ? และการจัดทาแผนดังกล่าวมีความ
ครอบคลุมเพียงใด? (จานวนแผนสุ ขภาพตาบล)
๔. ชุมชนมีการพัฒนารูปแบบ/นวัตกรรม/เทคโนโลยีในการจัดการปัจจัยเสี่ยง เพือ่ การลดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสู งที่
หลากหลาย หรือไม่ ? และการพัฒนาดังกล่าว สอดคล้องกับบริบทของพืน้ ที่หรือไม่ ? อย่ างไร? ทั้งนีม้ ีกชี่ ุมชนที่มีการดาเนินการ?
และรูปแบบของการพัฒนาเป็ นอย่ างไรบ้ าง?
เกณฑ์ การประเมินค่ าความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาล: N ๒.๑
ประเภทความเสี่ยง
กิจกรรมที่จังหวัดต้ องดาเนินการ
N ๒.๑ การให้ บริการคัดกรอง ๑. สร้ างกลวิธีในการดาเนินงาน เพื่อสนับสนุนการ
จาแนกกลุ่มประชาชน(กลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง กลุ่ม
ส่งเสริมสุขภาพ ป้องกัน และ
ป่ วย) ในการจัดบริการที่เหมาะสมครอบคลุม
รักษาโรคเบาหวานและความดัน
๒. จัดบริการให้ กบั ประชาชน ๓ กลุ่ม (กลุ่มปกติ กลุ่ม
โลหิตสูง ในประชาชนกลุม่ ปกติ
เสี่ยงสูง และกลุ่มป่ วย)ให้ ได้ รับข้ อมูล ข่ าวสาร/
กลุม่ เสี่ยง และกลุม่ ป่ วย
ความรู้ /ทักษะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อลด
ดาเนินการได้ ไม่ทวั่ ถึง หรื อไม่
โอกาสเกิดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง รวมทัง้
ได้ รับการรักษาตามมาตรฐาน
ครอบคลุม
๓. ส่ งเสริมระบบเฝ้าระวังของชุมชน และมาตรการทาง
สังคม เพื่อเพิ่มประสิทธิผลการดาเนิน งานในการ
จัดบริการภาครัฐ
๔. พัฒนาระบบส่ งต่ อที่สะดวก รวดเร็ว และเป็ นแนวทาง
เดียวกันทัง้ จังหวัด
เกณฑ์ การประเมินค่ าความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาล
N ๒.๑ การให้ บริการคัดกรอง ส่ งเสริมสุ ขภาพ ป้ องกัน และรักษาโรคเบาหวานและความดัน
โลหิตสู ง ดาเนินการได้ ไม่ ทวั่ ถึง หรือไม่ ครอบคลุม
โอกาสเกิดความเสี่ยง
ผลกระทบจากการเกิดความเสี่ยง
น้ อย
(๑)
ค่ อนข้ างน้ อย
(๒)
ปานกลาง(๓)
มีแนวโน้ ม(๔)
แน่ นอน
(๕)
น้ อย
(๑)
ค่ อนข้ าง
น้ อย(๒)
ปานกลาง(๓)
มีแนวโน้ ม(๔)
แน่ นอน
(๕)
ดาเนิ น
กิ จกรรม
ครบทัง้ ๔
ข้อ
ดาเนิ น
กิ จกรรม
๓ ข้อ
-
ดาเนิ น
กิ จกรรม
๒ข้อ
ดาเนิ น
กิ จกรรม
๑ ข้อ
ดาเนิ น
กิ จกรรม
ครบทัง้ ๔
ข้อ
ดาเนิ น
กิ จกรรม
๓ ข้อ
-
ดาเนิ น
กิ จกรรม
๒ข้อ
ดาเนิ น
กิ จกรรม
๑ ข้อ
แบบติดตามฯ (ประเด็นคาถามในการตรวจราชการ) N ๒.๑
๑. จังหวัดมีแผนการดาเนินงานการคัดกรอง เพือ่ จาแนกกลุ่มประชาชน(กลุ่มปกติ กลุ่ม
เสี่ ยง กลุ่มป่ วย) ให้ เหมาะสมต่ อการจัดบริการทีค่ รอบคลุม หรือไม่? อย่างไร?
๒. จังหวัดมีแผนการรณรงค์ /ประชาสั มพันธ์ แผนการดาเนินงานการคัดกรองดังกล่ าว ให้
ประชาชนได้ รับทราบ หรือไม่ ? และมีการดาเนินการตามแผนดังกล่ าวหรือไม่ ? อย่ างไร?
๓.ประชาชนทั้ง ๓ กลุ่ม (กลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ ยงสู ง และกลุ่มป่ วย) ของโรคเบาหวาน ความดัน
โลหิตสู ง ได้ รับข้ อมูลข่ าวสาร/ความรู้ /ทักษะในการปรับเปลีย่ นพฤติกรรม เพื่อลดโอกาส
เกิดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสู ง หรือไม่ ? อย่างไร? และได้ รับการรักษาที่ครอบคลุม
ตามมาตรฐาน หรือไม่ ? อย่างไร?
๔. ภายในจังหวัด มีระบบเฝ้ าระวังของชุ มชน รวมถึงมาตรการทางสั งคม เพือ่ เพิม่
ประสิ ทธิผลการดาเนินงานในการจัดบริการภาครัฐหรือไม่ ? อย่างไร?
๕. จังหวัดมีระบบส่ งต่ อที่สะดวก รวดเร็ว และเป็ นแนวทางเดียวกันทั้งจังหวัดหรือไม่ ?
อย่างไร?