วัฒนธรรมทางการเมือง

Download Report

Transcript วัฒนธรรมทางการเมือง

วิชาสั งคมและการเมือง
Social and Politics
อ.มานิตา หนูสวัสดิ์
สั ปดาห์ ที่ 5: วัฒนธรรมทางการเมือง
Political Culture
วัฒนธรรมทางการเมือง (Political Culture)
• ความหมาย
• วัฒนธรรมทางการเมือง คือ รูปแบบของการกาหนดทิศทางสูเ่ ป้าหมายทาง
การเมือง ส่วนใหญ่แสดงออกในรูปแบบของความเชื่อ, สัญลักษณ์ และ
คุณค่า (Heywood 2002: 206)
• วัฒนธรรมทางการเมือง คือ แบบอย่างของทัศนคติและความโน้ มเอียงซึง่
บุคคลในฐานะสมาชิกของระบบการเมืองมีตอ่ การเมือง (Almond
and Powell 1966)
• วัฒนธรรมทางการเมือง หมายถึง ความคิดและความเข้ าใจเกี่ยวกับ
ความสัมพันธ์ทางสังคม โดยเฉพาะความคิดและความเข้ าใจต่อการจัดสรร
แบ่งปั นทรัพยากรในสังคม (นิธิ เอียวศรี วงศ์ 2554: 51)
ความสาคัญและบทบาทของวัฒนธรรมทางการเมือง
• สาหรับบุคคล วัฒนธรรมทางการเมืองทาหน้ าที่เป็ นเครื่ องชี ้แนะแนว
ทางการประพฤติทางการเมืองให้ แก่บคุ คล โดยการช่วยตีความสิง่ ที่เป็ น
การเมือง
• สาหรับสังคมโดยรวม วัฒนธรรมทางการเมืองเปรี ยบเสมือนแบบแผนของ
ค่านิยมและบรรทัดฐานทางการเมือง ซึง่ ช่วยให้ การทางานของสถาบันและ
องค์กรทางการเมืองต่างๆมีความสอดคล้ องกันพอสมควร
• บทบาทที่สาคัญของวัฒนธรรมทางการเมือง คือ มีสว่ นสนับสนุนให้
ความชอบธรรมกับระบอบการเมืองในสังคมนันๆด
้ ารงอยูแ่ ละมีความมัน่ คง
และในขณะเดียวกันอาจเป็ นอุปสรรคขัดขวางต่อการดาเนินงานของระบบ
การเมือง
ความสาคัญและบทบาทของวัฒนธรรมทางการเมือง
• การศึกษาวัฒนธรรมทางการเมือง ไม่ได้ มงุ่ เน้ นแต่การศึกษาโครงสร้ างทาง
การเมืองเท่านัน้ แต่มงุ่ เน้ นตีความว่าคนมีความเชื่ออย่างไรเกี่ยวกับ
โครงสร้ างและพฤติกรรมดังกล่าว ทังนี
้ ้เพราะความเชื่อเหล่านี ้เองที่ให้
ความหมายต่อพฤติกรรมของคนทังส
้ าหรับตัวเขาเอง และสาหรับคนอื่น
การศึกษาความเชื่อเหล่านี ้จึงเป็ นแนวทางในการอธิบายว่า ทาไมคนจึงมี
พฤติกรรมทางการเมืองออกมาในรูปแบบอื่นๆ (พฤทธิสาร ชุมพล 2550:
97)
• วัฒนธรรมทางการเมืองมีผลต่อคุณค่า ความเชื่อ ความคิดและความเห็นต่อ
ระบอบการเมืองที่เราอาศัยอยู่
รูปแบบของวัฒนธรรมทางการเมือง
• 1. วัฒนธรรมทางการเมืองแบบคับแคบ (Parochial political
culture)
• 2. วัฒนธรรมทางการเมืองแบบไพร่ฟ้า (Subject political
culture)
• 3. วัฒนธรรมทางการเมืองแบบมีสว่ นร่วม (Participant political
culture)
รูปแบบของวัฒนธรรมทางการเมือง
• 1. วัฒนธรรมทางการเมืองแบบคับแคบ (Parochial political
culture)
• วัฒนธรรมทางการเมืองแบบนี ้ ประชาชนแทบไม่มีความสัมพันธ์กบั ระบบ
การเมืองและขาดสานึกความเป็ นพลเมืองของรัฐ เขาไม่คดิ ว่าการเมือง
ระดับชาติจะกระทบเข้ าได้ และเขาไม่หวังว่าระบบการเมืองระดับชาติจะ
ตอบสนองความต้ องการอะไรของเขาได้
รูปแบบของวัฒนธรรมทางการเมือง
• 2. วัฒนธรรมทางการเมืองแบบไพร่ ฟ้า (Subject political
culture)
• วัฒนธรรมทางการเมืองในรูปแบบนี ้ ประชาชนส่วนใหญ่ในสังคมรู้จกั
สถาบันทางการเมืองและมีความรู้สกึ ต่อมันไม่วา่ ในแง่บวกหรื อลบ
ประชาชนเริ่มมีสนใจและความสัมพันธ์กบั ระบบการเมือง คือ เขารู้ วา่ ระบบ
การเมืองสามารถจัดสรรและจัดการผลประโยชน์ให้ เขาได้ แต่เขาไม่
สามารถบทบาทหรื ออิทธิพลต่อระบบการเมืองนันได้
้ เขารู้เรื่ องราวเกี่ยวกับ
อานาจรัฐและการเมืองและยอมรับกับระบบนันๆ
้ แต่ไม่ร้ ูวา่ ตนจะสามารถ
เข้ าไปมีสว่ นร่วมผ่านช่องทางหรื อกลไกใด
รูปแบบของวัฒนธรรมทางการเมือง
• 3. วัฒนธรรมทางการเมืองแบบมีส่วนร่ วม (Participant
political culture)
• วัฒนธรรมการเมืองแบบนี ้ ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับระบบการเมืองและ
รู้สกึ เป็ นส่วนหนึง่ ของการเมืองไม่วา่ จะเป็ นทางบวกหรื อลบ ประชาชนมี
สานึกและตระหนักถึงบทบาทของตนในการเข้ าไปมีสว่ นร่วมทางการเมือง
พวกเขาเชื่อมัน่ ว่าตนเองสามารถมีอิทธิพลต่อการเมืองได้ และมีอานาจที่จะ
ก่อให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงได้
รูปแบบของวัฒนธรรมทางการเมือง
• อย่างไรก็ดีจากการศึกษาพบว่าในสังคมหรื อประเทศหนึง่ ๆไม่ได้ มีวฒ
ั นธรรม
ทางการเมืองเพียงตัวแบบหรื อประเภทเดียว แต่มกั เป็ นในรูปแบบการ
ผสมผสานของ 3 ประเภทของวัฒนธรรมทางการเมืองเหล่านี ้
• แบบคับแคบ-ไพร่ฟ้า, แบบไพร่ฟ้า-มีสว่ นร่วม, แบบคับแคบ-มีสว่ นร่วม
ความสั มพันธ์
• การกล่ อมเกลาทางการเมือง (Political Socialization)
วัฒนธรรมทางการเมือง (Political Culture)
การมีส่วนร่ วมทางการเมือง (Political Participation)
ผลกระทบต่ อระบบการเมือง (Effects of Political
System)
ข้ อสั งเกตเกีย่ วกับความคิดเรื่องวัฒนธรรมทางการเมือง
• 1. แนวทางการศึกษาวัฒนธรรมทางการเมืองในแบบพลเมือง (Civic
culture) เน้ นการศึกษาทัศนคติและคุณค่าที่ประชาชนมีตอ่ การเมือง
(เป็ นการศึกษาในเชิงจิตวิทยา) ซึง่ เชื่อว่าทัศนคติหรื อวัฒนธรรมทาง
การเมืองแบบพลเมืองมีสว่ นในการเสริมสร้ างความมัน่ คงของระบอบการ
ปกครองแบบประชาธิปไตย
• เสถียรภาพหรื อความมัน่ คงของประชาธิปไตยต้ องมีพื ้นฐานจากวัฒนธรรม
ทางการเมืองที่ผสมผสานระหว่างความพอดีของการบังคับ การยินยอมให้
ปกครอง และการแสดงออกการมีสว่ นร่วมทางการเมือง
ข้ อสั งเกตเกีย่ วกับความคิดเรื่องวัฒนธรรมทางการเมือง
• 2. วัฒนธรรมทางการเมืองแบบพลเมืองเป็ นสาเหตุหรื อผลต่อประชาธิปไตย
วัฒนธรรมทางการเมืองจะเป็ นชี ้วัดคุณภาพของประชาธิปไตยได้ หรื อไม่ หรื อ
วัฒนธรรมทางการเมืองเป็ นเงื่อนไขที่สนับสนุนให้ เกิดความเป็ น
ประชาธิปไตยได้ หรื อไม่
• 3. วัฒนธรรมทางการเมืองย่อย – กลุม่ เชิงชนชัน้ ชาติพนั ธุ์ ศาสนา ฯลฯ ใน
สังคมมันมีความซับซ้ อนของวัฒนธรรมทางการเมืองหลักและย่อย และแต่
ละส่วนมีพลวัตต่อกันและกันอย่างมาก วัฒนธรรมทางการเมืองย่อยอาจมี
ผลกระทบในแง่เสถียรภาพของระบบการเมืองการปกครอง
ข้ อสั งเกตเกีย่ วกับความคิดเรื่องวัฒนธรรมทางการเมือง
• 3. แนวทางการศึกษาวัฒนธรรมทางการเมืองในฐานะเป็ นอุดมการณ์หรื อ
อานาจ (Hegemony) – การอธิบายที่ชดั เจนมากที่สดุ คือการอธิบาย
ของ Marxist ที่มองว่า วัฒนธรรมเป็ นส่วนหนึง่ ของโครงสร้ างส่วนบน
เป็ นส่วนที่สาคัญของลักษณะชนชันเพื
้ ่อใช้ บอกตาแหน่ง ฐานะ ผลประโยชน์
วัฒนธรรมในแบบที่สองเป็ นรูปแบบของความคิดของชนชันปกครอง
้
(อุดมการณ์) ในความหมายนี ้วัฒนธรรมทางการเมือง คือ สิ่งที่เรี ยกว่า
อุดมการณ์ของชนชันน
้ าเป็ นพลังอานาจทางวัฒนธรรม คุณค่า และความ
เชื่อ ทาหน้ าที่สาคัญ คือ การประนีประนอมและเป็ นกันชนกับชนชันใต้
้
ปกครองซึง่ ทาให้ ชนชันนายทุ
้
นยังสามารถครองอานาจทางเศรษฐกิจและ
การเมืองได้ โดยผ่านเครื่ องมือ เช่น การโฆษณาชวนเชื่อ ตานาน
วัฒนธรรมทางการเมืองไทย
• การศึกษาวัฒนธรรมการเมืองไทยในช่ วงหนึ่งมุ่งศึกษาที่จะตอบ
คาถามว่ า วัฒนธรรมการเมืองของผู้ท่ ถี ูกศึกษาเป็ นเช่ นไร เป็ น
ประชาธิปไตยมากน้ อยเพียงใด และที่เป็ นเช่นนันมี
้ สาเหตุจากการกล่อม
เกลาในสถาบันการเมืองใด แต่ ไม่ ค่อยศึกษาเชื่อมโยงความสัมพันธ์
ระหว่ างวัฒนธรรมทางการเมืองกับระบอบการปกครองในการศึกษา
ว่ าวัฒนธรรมทางการเมืองมันตีกรอบกาหนดความเป็ นไปของ
ระบอบการปกครองได้ อย่ างไร (พฤทธิสาร ชุมพล 2550: 113)
วัฒนธรรมทางการเมืองไทย
• จากบทความ “วัฒนธรรมทางการเมืองไทย” อ.นิธิ เอียวศรี วงศ์
• การอธิบายลักษณะของวัฒนธรรมทางการเมืองของชนชัน้ กลางไทย
เพื่อสามารถทาความเข้ าใจพฤติกรรมทางการเมืองที่ผ่านมา เช่น
คาถามว่าทาไมคนชนชันกลางในเมื
้
อง (กทม.) ถึงสนับสนุนหรื อให้
ความชอบธรรมต่อการใช้ ความรุนแรงของรัฐในการสลายการชุมนุม เมษาพฤษภา 2553, ทาไมชนชันกลางในเมื
้
องสนับสนุนการทารัฐประหาร แต่
ไม่สนับสนุนรัฐบาลที่มาจากการเลือกตัง,้ ทาไมเรื่ องการเมืองสาหรับคน
บางกลุม่ เป็ นเรื่ องสาคัญและแลกมาด้ วยการต่อสู้ ในขณะที่คนบางกลุม่
กลับไม่เดือดร้ อนไม่เห็นใจเหตุการณ์ทางการเมืองที่มนั รุนแรงหรื อปั ญหา
ความเดือดร้ อนของกลุม่ คนที่อยูห่ ่างไกลออกไป
วัฒนธรรมทางการเมืองไทย
• วัฒนธรรมทางการเมือง ของอ.นิธิ คือ ความคิดและความเข้ าใจเกี่ยวกับ
การเมือง – เกี่ยวกับความสัมพันธ์ทางสังคมและการจัดสรรและแบ่งปั น
ทรัพยากร สิง่ ที่เกิดจากวัฒนธรรมทางการเมืองเป็ นผลต่อพฤติกรรม
การเมืองของกลุม่ คนต่างๆและส่งผลต่อระบบการเมืองด้ วย
• วัฒนธรรมทางการเมืองของไทยเกิดขึ ้นและมีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกับ
วัฒนธรรมการเมืองที่มีมาก่อน วัฒนธรรมทางการเมืองมีลกั ษณะไม่หยุด
นิ่งและลักษณะวัฒนธรรมทางการเมืองบางอย่างก็สืบทอดถึงปั จจุบนั ผ่าน
การศึกษา สื่อ ปฏิสมั พันธ์ระหว่างรัฐกับประชาชน
วัฒนธรรมทางการเมืองไทย
• วัฒนธรรมทางการเมืองไทยใน 3 ยุค
1. ไทยโบราณ (ก่ อน ร.5)
• สังคมสมัยนันอ
้ านาจกระจายอยูใ่ นชนชันปกครอง
้
มีการต่อรองและเล่น
การเมืองระหว่างขุนนาง – เกิดลักษณะความสัมพันธ์แบบพึง่ พาหรื อระบบ
อุปถัมภ์ เป็ นความสัมพันธ์เชิงอานาจที่พงึ่ พากันและกัน
2. สมบูรณาญาสิทธิราชย์
• วัฒนธรรมการเมืองแบบรวมศูนย์ หลังร.5 สถาปนารัฐ
สมบูรณาญาสิทธิราชย์โดยรวมอานาจทังหลายอยู
้
ภ่ ายใต้ การกากับ
ควบคุมของกษัตริย์
วัฒนธรรมทางการเมืองไทย
2. สมบูรณาญาสิทธิราชย์
• การเมืองเป็ นเรื่ องของชนชันน
้ าเท่านัน้ – เป็ นเรื่ องเฉพาะของชนชันน
้ า ที่มี
ความรู้และฐานะทางเศรษฐกิจ มองว่าการเมืองเป็ นเรื่ องของความรู้ และ
การใช้ เทคนิคขันสู
้ งในการบริหาร (กีดกันประชาชนจากพื ้นที่การเมือง) ให้
คุณค่ากับการเมืองที่มีความสงบเรี ยบร้ อย ฉะนันความหวาดกลั
้
วต่อความ
ไม่มนั่ คงของชนชันตนเองจึ
้
งมีอยู่ เป็ นเหตุให้ การจัดการทางการเมืองมี
แนวโน้ มในการใช้ ความรุนแรงอย่างมาก (เช่น รัฐใช้ ความรุนแรงในการ
ปราบปรามกลุม่ กบฏ กลุม่ ที่คิดต่าง)
• พัฒนาการของชนชันกลางไทยมาตั
้
งแต่
้ ช่วงสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ –
พวกพ่อค้ า, ข้ าราชการ
วัฒนธรรมทางการเมืองไทย
3. ในระบอบการเลือกตัง้ และรัฐประหาร
• วัฒนธรรมการเมืองที่ใช้ ความรุนแรงเป็ นเครื่ องมือยังมีอยู่ แต่อาจมี
สมรรถภาพในการใช้ ความรุนแรงเพิ่มมากขึ ้น, วัฒนธรรมทางการเมือง
ของระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ยงั คงอยู่ (ภายใต้ สถาบันกษัตริย์ที่
เคารพยกย่อง) ในขณะเดียวกันชนชันกลางยั
้
งสามารถควบคุมอานาจ
สมบูรณาญาสิทธิราชย์ได้ ผา่ นอานาจทางกฎหมายและสื่อ
• คนชนชันกลางนอกระบบราชการมี
้
เพิ่มมากขึ ้น ซึง่ พัฒนาวัฒนธรรมของ
สังคมใหม่ๆขึ ้นและสถาปนาวัฒนธรรมทางการเมืองใหม่ผ่านการวาง
กฎเกณฑ์มาตรฐานวิถีชีวิตแทนชนชันสู
้ งในระบบเก่า
อ้ างอิงและเรียบเรียง
• นิธิ เอียวศรี วงศ์. (2554) วัฒนธรรมทางการเมืองไทย. วารสารสถาบัน
วัฒนธรรมและศิลปะ มหาวิทยาลัยศรี นครินทรวิโรฒ. 12, 49-63.
• บูฆอรี ยีหมะ. (2554) ความรู้เบือ้ งต้ นทางรัฐศาสตร์ . พิมพ์ครัง้ ที่ 3.
กรุงเทพฯ: คณะมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎ
สงขลา.
• พฤทธิสาณ ชุมพล. (2550) ระบบการเมือง: ความรู้เบือ้ งต้ น. พิมพ์ครัง้ ที่
9. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
• Heywood, A. (2002) Politics. 2nd edition. New
York: Palgrave Macmillan.