คุณสมชาย_Rule of Law

Download Report

Transcript คุณสมชาย_Rule of Law

นิติธรรม หรือ นิติรัฐ
“เราจะปกรองโดยธรรม”
สมชาย หอมลออ กรรมการปฏิรูปกฎหมาย
ทศพิธราชธรรม หรือราชธรรม ๑๐










ทาน คือการให้หรื อการเสี ยสละ
ศีล คือการประพฤติที่ดีงามตามนิติราชประเพณี และศาสนา
บริ จาค คือการเสี ยสละส่ วนตนเพื่อส่ วนรวม
ความซื่อตรง คือดารงตนอยูใ่ นสัตย์สุจริ ต
ความอ่อนโยน คือมีสมั มาคารวะ โอบอ้อมต่อทุกคน
ความเพียร คือมีความอุตสาหะในการงาน
ความไม่โกรธ คือไม่ใช้อารมณ์
ความไม่เบียดเบียน คือไม่เอาเปรี ยบให้ผอู ้ ื่นเดือดร้อน
ความอดทน
ความเที่ยงธรรม คือความหนักแน่นถือความถูกต้อง ไม่หวัน่ ไหวเอนเอียง
ธรรมกับสิ ทธิมนุษยชน




ธรรม คือธรรมชาติ กฎธรรมชาติ หลักความเป็ นมา อยู่ และไปของโลก ที่อยู่
นอกเหนือการกาหนดของผูใ้ ด “มันเป็ นเช่นนั้นเอง”
สิ ทธิมนุษยชน สิ ทธิที่มนุษย์คนหนึ่งพึงมีต้ งั แต่เกิดจนตายเพื่อให้ดารงชีวิตได้
อย่างมี ศักดิ์ศรี เสมอภาคเท่าเทียมกันโดยไม่ถูกเลือกปฏิบตั ิ ไม่วา่ ด้วยเหตุใดๆ
สิ ทธิเศรษฐกิจ-สังคม-วัฒนธรรม ปลอดพ้นจากความขาดแคลน
(Freedom from Wants) เช่นสิ ทธิ ในการศึกษา การมีงานทา การได้รับ
สวัสดิการต่างๆจากรัฐ การรักษาวัฒนธรรมของกลุ่มตน และ“สิ ทธิชุมชน”
สิ ทธิพลเมือง-การเมือง ปลอดพ้นความหวาดกลัว (Freedom from Fear)
 สิ ทธิ พลเมือง เช่น สิ ทธิ ที่จะได้รับการยอมรับว่าเป็ นคน มีชื่อ มีสัญชาติ
สิ ทธิเสรี ภาพในชีวิตร่ างกาย รวมทั้งสิ ทธิในกระบวนการยุติธรรม


สิ ทธิพลเมือง-การเมือง (ต่อ)
 สิ ทธิ ทางการเมือง เช่น สิ ทธิ ในการเลือกตั้ง การสมาคม การแสดงความ
คิดเห็น การชุมนุมโดยสงบโดยปราศจากอาวุธ
สิ ทธิมนุษยชนมีดา้ นต่างๆที่แบ่งแยกไม่ได้ และต่างส่ งผลต่อกันและกัน เช่น
 สิ ทธิ ในความเสมอภาคระหว่างเพศ การเลือกตั้ง ตาแหน่ งอาชีพ การศึกษา
 สิ ทธิ เด็ก เช่น สู ติบต
ั ิ พัฒนาบุคลิกภาพ การปฏิบตั ิเป็ นพิเศษเมื่อกระทาผิด
 สิ ทธิ ชนกลุ่มน้อยและชนพื้นเมือง ทางด้านภาษา วัฒนธรรมประเพณี
 สิ ทธิ แรงงาน เช่น การมีงานทา ค่าจ้างที่เป็ นธรรม ตั้งสมาคม/สหภาพ
 สิ ทธิ คนพิการ เช่นการเข้าถึงบริ การสาธารณะ การศึกษา การทางาน
 สิ ทธิ แรงงานข้ามชาติและครอบครัว เช่นสิ ทธิ ในค่าาจ้างที่เป็ นธรรม การศึกษาของ
บุตร การเข้าถึงการบริ การของรัฐ
 สิ ทธิอต
ั วินิจฉัย ทั้งของบุคคล ชุ มชน กลุ่มชน ประเทศชาติ
ธรรมกับสิ ทธิมนุษยชน (ต่ อ)









สิ ทธิมนุษยชน ติดตัวมาแต่กาเนิด มีอยูเ่ องโดยธรรมชาติ มิใช่จากการประสิ ทธิ
ประสาทโดยผูใ้ ด กษัตริ ย ์ รัฐสภา ไม่อาจโอนหรื อพรากไปจากมนุษย์
มนุษย์ทุกคนเกิดมามี อิสระเสรี เสมอภาค เท่าเทียมกันในศักดิ์ศรี และสิ ทธิ
มีความเป็ นสากล “สิ ทธิมนุษยชนเป็ นของทุกคน”
เป็ นรากฐานของสังคมประชาธิปไตย
เป็ นรากฐานของการพัฒนาที่ยงั่ ยืน
เป็ นรากฐานของความยุติธรรม
เป็ นรากฐานของความสงบสุ ขของสังคมและสันติภาพของโลก
เป็ นบรรทัดฐานของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
เป็ นสิ ทธิที่พึงได้รับการคุม้ ครองโดยกฎหมายของรัฐ
ประวัตแิ นวคิดสิ ทธิมนุษยชน








ปรัชญากรี กของกลุ่ม Stoics ที่เชื่อใน “กฎแห่งธรรมชาติ (Natural Law)”
ปรัชญากฎหมายโรมัน ที่เน้นความเสมอภาคและความยุติธรรมทางกฎหมาย
คริ สตศาสนาเน้นกฎของพระเจ้า (ธรรมชาติ) ในความเสมอภาค ภราดรภาพ
ยุคการฟื้ นฟูศิลปะ เน้นคุณค่าและศักดิ์ศรี ของความเป็ นมนุษย์ของปัจเจกบุคคล
(มนุษยนิยม)
การปฏิวตั ิการค้า-อุตสาหกรรม ปฏิรูปศาสนาแลปฏิวตั ิประชาธิปไตยของชน
ชั้นนายทุน เน้นสิ ทธิพลเมืองและการเมือง
การเคลื่อนไหวนักสังคมนิยมเน้นสิ ทธิทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม
การต่อสูเ้ พื่ออิสระภาพของเมืองขึ้น เน้นสิ ทธิอตั วินิจฉัยและสิ ทธิการพัฒนา
สาหรับชาวเอเซียยึดถือแนวคิดเรื่ องธรรมหรื อ กฎแห่งธรรมชาติมาแต่โบราณ
ตราสารด้ านสิ ทธิมนุษยชนทีส่ าคัญ







กฎหมาย 12 โต๊ะในยุคของโรมัน ซึ่งเป็ นรากฐานของกฎหมายทัว่ โลก
่ ายใต้กฎของพระเจ้า
Magna Carta 1215 อังกฤษที่ย้าว่ากษัตริ ยต์ อ้ งอยูภ
The Bill of Rights 1689 อังกฤษที่กษัตริ ยอ์ ยูใ่ ต้กฎหมายและรัฐสภา
ประกาศอิสระภาพของอเมริ กา 1776 และ Bill of Rights ของสหรัฐอเมริ กา
ประกาศว่าด้วยสิ ทธิของมนุษยและพลเมือง1789 ในการปฏิวตั ิใหญ่ฝรั่งเศส
ประกาศของคอมมิวนิสต์ (Communist Manifesto) ของ Karl Marx
ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิ ทธิมนุษยชนของสหประชาชาติ 10 ธันวาคม 1948 (
 กติกาสากลว่ าด้ วยสิ ทธิทางเศรษฐกิจ สั งคมและวัฒนธรรม
 กติกาสากลว่ าด้ วยสิ ทธิพลเมืองและสิ ทธิทางการเมือง
 อนุสัญญาฉบับต่ างๆด้ านสิ ทธิมนุษยชน
มนุษย์ สั งคม และรัฐ










มนุษยทั้งหลายเกิดมามีอสิ ระเสรีและเสมอภาคกันในศักดิ์ศรีและสิ ทธิ
มนุษย์ จะสามารถดารงสิ ทธิอยูไ่ ด้ต่อเมื่ออยูร่ ่ วมกันเป็ นสังคม
บุคคล-บุคคล และ บุคคล-สังคม อาจมีความขัดแย้งกัน
สังคมดารงอยูไ่ ด้ตอ้ งมีดุลยภาพระหว่าง สิ ทธิของบุคคล กับ สิ ทธิของสังคม
มนุษย์ยนิ ยอมสร้างกฎหมายบ้านเมืองขึ้น ยอมจากัดสิ ทธิบางประการของตน
รัฐสั งคมประชาธิปไตย ยึดถือ นิติธรรม (นิติรัฐ) ดีที่สุดในการรักษาดุลยภาพนั้น
ประชาชนจะทาการใดก็ได้ เว้นแต่ที่กฎหมายห้ามไว้ แต่ เจ้ าหน้ าที่รัฐ จะทาการ
ใดๆไม่ได้เลย เว้นแต่ที่กฎหมายให้อานาจไว้
การจากัดสิ ทธิต้องทาเท่ าทีจ่ าเป็ นและตามสมควรแก่กรณีหรือสถานการณ์
สิ ทธิอนั สมบูรณ์ ไม่ อาจถูกจากัดหรือพรากไปได้ ไม่ ว่าด้ วยเหตุใดๆ
สิ ทธิทจี่ ะไม่ ถูกทรมาน ยา่ ยีศักดิ์ศรี เลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติ เป็ นสิ ทธิอนั สั มบูรณ์
กฎหมายกับสิ ทธิมนุษยชน


ตามหลัก กฎธรรมชาติ มนุษย์มีสิทธิมนุษยชนซึ่งเป็ นสิ ทธิตามธรรมชาติ
เมื่อมนุษย์สร้างรัฐเพื่อคุม้ ครองสิ ทธิมนุษยชน โดยนามารับรองไว้
 เป็ นกฎหมายในประเทศ
 เป็ นกฎหมายระหว่างประเทศ


บุคคลมีสิทธิและมีหน้ าทีต่ ่ อรัฐ
รัฐมีหน้ าที่ โดยใช้ กฎหมายและกลไกรัฐ
 ส่ งเสริมสิ ทธิ เช่ นการศึกษา สุ ขอนามัย และ
 ปกป้


องคุ้มครองสิ ทธิ เช่ นความปลอดภัยในชีวติ ทรัพย์ สิน
รัฐมีกลไกหลัก นิติบัญญัติ บริหาร ตุลาการ กลไกเสริม และกลไกตรวจสอบ
ข้ าราชการ สถานะหนึ่งเป็ นประชาชน อีกสถานะหนึ่งเป็ นกลไกรัฐ
นิติรัฐ-นิติธรรม







การทาหน้าที่ของรัฐต้องเป็ นไปตามหลักนิติธรรม
การปกครองโดยคน- Rule by Man การปกรองโดยกฎหมาย Rule by Law
หรื อการปกครองโดยนิติธรรม –Rule of Law
อานาจอธิปไตยเป็ นของปวงชน เสรี ประชาธิปไตย รัฐสภา
การแบ่งแยกอานาจถ่วงดุลย์: นิติบญั ญัติ บริ หาร และตุลาการ
คุม้ ครองสิ ทธิ เสรี ภาพและความเสมอภาคของบุคคลโดยไม่เลือกปฎิบตั ิ
ความชอบด้วยกฎหมายของฝ่ ายบริ หาร (ปกครอง) และตุลาการ
กฎหมาย (โดยรัฐสภา) ต้องเป็ นธรรม เช่น
ความแน่นอนของกฎหมาย ไม่สองหรื อสามมาตรฐาน
 กฎหมายไม่มีผลย้อนหลัง
 ไม่ผด
ิ ไม่มีโทษถ้าไม่มีกฎหมายกาหนดไว้ก่อน
 มีความเหมาะสมได้สด
ั ส่ วน

นิติธรรม-นิตริ ัฐ(ต่ อ)
 ปกป้ อง และส่ งเสริ ม สิ ทธิ มนุ ษยชนอื่นๆ
่ ายใต้และเสมอภาคกันทางกฎหมาย ไม่เลือกปฏิบตั ิ
 ทุกคนอยูภ




หลักความยุติธรรมทางธรรมชาติได้รับการนับถือ
การตรา การบริ หารจัดการ การบังบั ใช้ และการตีความกฎหมายต้อง
สามารถเข้าถึงได้ เป็ นธรรม และมีประสิ ทธิภาพ
ความเป็ นอิสระของตุลาการและการทบทวนโดยศาล
สิ ทธิของประชาชนในกระบวนการยุติธรรม รวมทั้งการเข้าถึงความ
ยุติธรรม
 สิ ทธิ ผเู ้ สี ยหาย
 สิ ทธิ ผต
ู ้ อ้ งกา จาเลย ฯลฯ
หลักสิ ทธิมนุษยชนนามาไว้ ใน
กฎหมายระหว่ างประเทศทีร่ ัฐไทย
ปฏิบัตติ ามในฐานะทีเ่ ป็ น:

สมาชิกองค์ การสหประชาชาติ
 ทางศีลธรรม เช่นปฏิญญาสากลว่าด้วย
สิ ทธิมนุษยชน มติและมาตรฐานสากลด้านต่างๆ
 ทางกฎหมาย เช่นกฎบัตรสหประชาชาติ และมติของคณะ
มนตรี ความมัน่ คง
ภาคีสนธิสัญญา (พหุภาคี) ด้ านสิ ทธิมนุษยชน ๗ ฉบับ
 สมาชิ กชุ มชนโลก ประเพณี ปฏิบต
ั ิระหว่างประเทศ เช่นห้าม
ผลักดันผูล้ ้ ีภยั ออกไปประสบกับภัยประหัตประหาร
 สมาชิ กของอาเซี ยน ตามกฎบัตร (ภูมิภาค) และ
 ข้ อตกลงแบบทวิภาคี กับประเทศต่ างๆหรื อองค์ การระหว่ าง
ประเทศ

การนาเอาพัธกรณีระหว่ างประเทศ
ด้ านสิ ทธิมนุษยชนมาใช้ ตามทฤษฎีทวินิยม (Dualism)




ประเทศไทยยึดหลักทวินิยม กฎหมายระหว่างประเทศจะมีผลบังคับใช้
ต้องอนุวตั ิกฎหมายในประเทศให้เป็ นไปตามพันธกรณี ระหว่างประเทศ
ได้นาเอาหลักสิ ทธิมนุษยชนมาไว้ในรัฐธรรมนูญ เช่น ศักดิ์ศรี ความเป็ น
มนุษย์ การไม่เลือกปฏิบตั ิในทุกรู ปแบบ การต่อต้านการทรมาน
ศาลนาเอาหลักสิ ทธิมนุษยชนและมาตรฐานระหว่างประเทศมาใช้
ตรวจสอบการกระทาของหน่วยงานและเจ้าหน้าที่รัฐ
ศาลจะตีความกฎหมายในประเทศไปในทางที่สอดคล้องกับหลัก
กฎหมายระหว่างประเทศ เช่นคดีการชุมนุมต่อต้านท่อก๊าซ ไทย-มาเลย์
เซีย คดีกรณี ๗ ตค. ๒๕๕๑ เรื่ อง ๗ ขั้นตอนในการสลายการชุมนุมและ
คดีสงั่ คุม้ ครองชัว่ คราวกรณี การตีตรวน ๒๔ ชัว่ โมง
รัฐอาจไม่ ปฏิบัติตามพันธกรณีระหว่ างประเทศ
๑. รัฐไม่ เต็มใจ (Unwilling) ที่จะส่ งเสริ มหรื อปกป้ องสิ ทธิมนุษยชน
เช่นผูล้ ะเมิดมีอิทธิพลเหนือรัฐ มี impunity culture
๒. รัฐไม่ สามารถ (Unable) ที่จะส่ งเสริ มหรื อปกป้ องสิ ทธิมนุษยชน
เช่นเกิดภาวะสงครามกลางเมือง
ทั้งสองกรณี กฎหมายและกลไกระหว่างประเทศจะเข้ามาแทรกแซงรัฐ
การร้ องเรียน การตรวจสอบและการ
บังคับตามกฎหมายระหว่ างประเทศ
๑. การร้ องเรียนโดยทัว่ ไป บุคคลหรืออง์ กรใดๆ ก็
อาจร้ องเรียนกรณีละเมิดสิ ทธิมนุษยชนไปยัง
หน่ วยงานองค์ การสหประชาติ รัฐบาล
ต่ างประเทศ องค์ กรเอกชนด้ านสิ ทธิมนุษยชน
ได้ โดยยึดหลัก สิ ทธิมนุษยชนเป็ นสากล
๒. การร้ องเรียนให้ มีผลบังคับทางกฎหมาย
ระหว่ างประเทศในกรณีละเมิดสิ ทธิมนุษยชน
ต้ องเป็ นกรณีที่รัฐไม่ แก้ไขเยียวยาแล้วเพราะยังถือ
หลักรัฐมีอธิปไตย
กลไกสิ ทธิมนุษยชนระหว่ างประเทศ

สมัชชาใหญ่สหประชาชาติ
คณะมนตรี ความมัน่ คง
 คณะมนตรี ศรษฐกิจและสังคม
 คณะมนตรี สิทธิ มนุ ษยชน


คณะกรรมการตามสนธิ สญ
ั ญาแต่ละฉบับ
คณะกรรมการสิ ทธิมนุษยชน (HRC)
 คณะกรรมการต่อต้านการทรมาน (CAT)



ฯลฯ
กระบวนการพิเศษ (Extra-Conventional
Mechanism or Special Procedure)
 Special Rapporteur, Representative,
Independent Expert, Working Group
 UN Secretary General or Representative
กลไกระหว่ างประเทศ (ต่ อ)


Country Mechanisms
 Special Committee
Thematic Mechanism
 Special Representative of SG
 Arbitrary detention
 Torture
ฯลฯ
การจัดทารายงานทบทวนสถานการณ์สิทธิมนุษยชน (UPR)
ศาลอาญาระหว่างประเทศ (ICC)
กลไกระดับภูมิภาค เช่น ศาลสิ ทธิมนุษยชนยุโรป คณะกรรมการสิ ทธิ
มนุษยชนอาเซียน




สนธิสัญญาสิ ทธิมนุษยชนแต่ ละด้ าน/กลุ่ม
ทีป่ ระเทศไทยเป็ นภาคี ๗ ฉบับ
กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิ ทธิพลเมืองและสิ ทธิทางการเมือง
 กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิ ทธิทางเศรษฐกิจ สั งคมและวัฒนธรรม
 อนุ สญ
ั ญาว่าด้วยการขจัดการเลือกประติบัติต่อสตรีในทุกรู ปแบบ
 อนุ สญ
ั ญาว่าด้วยสิ ทธิเด็ก
 อนุ สญ
ั ญาว่าด้วยการขจัดการเลือกประติบตั ิทางเชื้อชาติในทุกรู ปแบบ
 อนุ สญ
ั ญาว่าด้วยการต่อต้านการทรมาน
 อนุ สญ
ั ญาว่าด้วยด้วยสิ ทธิของคนพิการ
อนุฯว่ าด้ วยการป้องกันบุคคลทุกคนจากการถูกบังคับให้ หายสบสู ญ(ลงนาม)
สนธิสัญญาผูกพันเฉพาะรัฐภาคีเท่ านั้น
ปฎิญญาสากลว่ าด้ วยสิ ทธิมนุษยชนฯ ไม่ ใช่ สนธิสัญญา






สนธิสัญญาหรือข้ อตกลงระดับภูมิภาค ASEAN ได้จดั ทาข้อตกลงจัดตั้ง
กลไกสิ ทธิมนุษยชนอาเซียน กลไกส่ งเสริ มและปกป้ องสิ ทธิเด็กและสตรี
อาเซียน ข้อตกลงเกี่ยวกับความร่ วมมือในการปราบปรามอาชญากรรมข้ามชาติ
เช่นการก่อการร้าย กาลังร่ างปฏิญญาสิ ทธิมนุษยชนอาเซียน
ข้ อตกลงทวิภาคีกบั ประเทศต่ างๆ เช่น MOU ระหว่างไทยกับประเทศเพื่อน
บ้านเรื่ อง เรื่ องแรงงานข้ามชาติ ข้อตกลงว่าด้วยการส่ งผูร้ ้ายข้ามแดน ฯลฯ
ข้อตกลงกับองค์กรระหว่างประเทศ
ข้อตกลงกับองค์กรสิ ทธิมนุษยชนต่าง
ประเทศ เช่นกับกาชาดสากล
ฯลฯ
พันธกรณีตามกฎหมายระหว่ างประเทศอืน่ ๆ








กติกาฯว่าด้วยสิ ทธิพลเมืองและสิ ทธิทางการเมืองข้อบทที่ ๗และ ๑๐
อนุสญ
ั ญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบตั ิทางเชื้อชาติในทุกรู ปแบบข้อบทที่ ๕
อนุสญ
ั ญาว่าด้วยสิ ทธิเด็ก ข้อบทที่ ๓๗
ประมวลจริ ยธรรมของเจ้าหน้าที่ ๑๙๗๙
หลักจริ ยธรรมเจ้าหน้าที่ดา้ นการแพทย์ในการคุม้ ครองผูต้ อ้ งขังจากการ
ทรมาน ๑๙๘๒
หลักการว่าด้วยการป้ องกันและการสอบสวนคดีการประหารโดยวิธีการ
นอกกฎหมาย ๑๙๘๙
หลักการพื้นฐานว่าด้วยการใช้กาลังบังคับและการใช้อาวุธปื นของ
เจ้าหน้าที่ ๑๙๙๐
หลักการสอบสวนหรื อแสวงหาหลักฐานในคดีการทรมาน ๒๐๐๐
กระบวนการ UPR




เป็ นกระบวนการของคณะมนตรี สิทธืมนุษยชน ตรวจสอบแบบรอบด้าน
รัฐบาลไทยเสนอรายงาน ตุลาคม ๒๕๕๔ และจะเสนอรอบต่อไป ๒๕๕๙
คณะกรรมการสิ ทธิมนุษยชนและภาคประชาสังคมสามารถเสนอรายงานได้ดว้ ย
ประเด็นที่เกี่ยวกับกับการทรมาน

การปรับปรุ งกฎหมายในประเทศให้สอดล้องกับอนุสญ
ั ญา
ลงนามและให้สัตยาบันอนุสัญญาคุม้ ครองบุคคลจากการบังคับสูญหาย
ห้ามลงโทษตีเด็ก
ต่อต้านการค้ามนุษย์
แก้ปัญหาการลอยนวลของผูก้ ระทาผิด

ฯลฯ




บทบาทของเจ้ าหน้ าที่

เจ้าหน้าที่เป็ นส่ วนหนึ่งของกลไลรัฐ โดยเฉพาะ
อย่างยิง่ ในด้านการบริ หาร (การบังคับใช้กฎหมาย)
ปกป้ องสิ ทธิมนุษยชนจากการถูกละเมิดสิ ทธิ
 ส่ งเสริ มสิ ทธิ มนุ ษยชน
 การเยียวยาเหยือ
่ ของการละเมิดสิ ทธิ
 การเผยแพร่ ความรู ้ดา้ นสิ ทธิ มนุ ษยชน
 การ่ วมมือในการปฏิบต
ั ิตามพันธกรณี ระหว่าง
ประเทศ เช่นการจัดทารายงาน การรับเรื่ องร้องเรี ยน
ฯลฯ

HUMAN RIGHTS
AND JUSTICE
FOR ALL