สิทธิมนุษยชน/วันที่ 5 สิทธิ หน้าที่ และความรับผิดชอบ/สิทธิ หน้าที่ และความ

Download Report

Transcript สิทธิมนุษยชน/วันที่ 5 สิทธิ หน้าที่ และความรับผิดชอบ/สิทธิ หน้าที่ และความ

สิทธิ หน้าที่ และความรับผิดชอบ
โดย สถาบันสิ ทธิ มนุษยชนแห่งเอเชีย
วันที่ 5 วันพฤหัสบดีที่ 20 กันยายน 2555
มีการประมวลสิทธิต่างๆ
ไว้ที่ใดบ้าง???
มีการประมวลสิทธิต่างๆไว้ที่ใดบ้าง?
ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน (UDHR)
 Universal Decoration on Human Rights ค.ศ. 1948/ พ.ศ. 2491
 สิทธิมนุ ษยชน
มีขอบเขตกว้างขวาง
 ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุ ษยชน ถือเป็ นมาตรฐานขึน
้ ต่าของการ
ปฏิบตั ติ ่อมนุษย์
 มนุษย์ นัน
้ หมายถึง คนทุกคน ไม่วา่ จะเป็ น คนชรา คนพิการ มีเชือ้
ชาติอะไร นับถือศาสนาอะไร เพศ อายุ การศึกษา ฯลฯ
 ดังนัน
้ สิทธิมนุษยชน จึงไม่ใช่เรือ่ งไกลตัว หรือ เป็ นเรื่องของตะวันตก
 แต่เป็ น “สากล” คือ ใช้กบ
ั คนทุกประเทศ ไม่มพี รมแดน ใดๆ ทัง้ ด้าน
เศรษฐกิจ สังคม หรือ การเมือง
สาระสาคัญของปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
 ส่วนแรก ข้อ 1-2 กล่าวถึง
หลักการสาคัญของสิทธิมนุ ษยชนทีว่ ่า มนุ ษย์ม ี
สิทธิตดิ ตัวมาแต่เกิด มนุ ษย์มศี กั ดิ์ศรี มีความเสมอภาคกัน ดังนัน้ จึงห้าม
เลือกปฏิบตั ติ ่อมนุ ษย์และควรปฏิบตั ติ ่อกันเสมือนเป็ นพีน่ ้องกัน
 ส่วนที่ สอง ข้อ 3-21 กล่าวถึง สิทธิของพลเมืองและสิทธิทางการเมือง:
สิทธิในการเลือกตัง้ , สิทธิในการมีสว่ นร่วมในการตัดสินใจ, สิทธิใน
กระบวนการยุตธิ รรม, เสรีภาพ
 ส่วนที่ สาม ข้อ 22-27 กล่าวถึง สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ,
สิทธิในอาหาร, สิทธิในการทางาน, สิทธิในทีอ่ ยูอ่ าศัย, สิทธิในการศึกษา,
วัฒนธรรม
 ส่วนที่ สี่ ข้อ 28-30 กล่าวถึง หน้าทีข
่ องบุคคล สังคม และรัฐ
กฎหมายระหว่างประเทศ



อนุสญ
ั ญาว่าขจัดการเลือกประติบตั ิ ทางเชื้อชาติทุกรูปแบบ
พ.ศ.2509 (International Covenant on Elimination of All forms of
Racial Discrimination, 1966 =ICERD)
กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
พ.ศ.2509 (International Human Rights Covenant on Civil Political
Rights,1966=ICCPR)
กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคมและ
วัฒนธรรม พ.ศ.2509 (International Covenant on Economic
Social Cultural Rights, 1966=ICESCR)




อนุสญ
ั ญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบตั ิ ต่อสตรีในทุก
รูปแบบ พ.ศ.2522 (Convention on the Elimination of
Discrimination Against Women, 1979 =CEDAW)
อนุสญ
ั ญาว่าด้วยสิทธิเด็ก พ.ศ.2532(Convention on the
Rights of the Child,1989 =CRC)
อนุสญ
ั ญาต่อต้านการทรมาน และการประติบตั ิ หรือการ
ลงโทษอื่นที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม หรือที่ยา่ ยีศกั ดศ ิ ศรี
พ.ศ.2527 (Convention Against Torture, 1984=CAT)
อนุสญ
ั ญาระหว่างประเทศว่าด้วยป้ องกันมิให้บคุ คลหาย
สาบสูญโดยถูกบังคับ พ.ศ.2549 (International Convention for
the Protection of All Persons from Enforced
Disapperances,2006=ICPED)
กฎหมายระหว่างประเทศต่างๆ เกิดจาก
 United
Nation หรื อว่า องค์การสหประชาชาติ ซึง่ ถือเป็ นชุมชนของรัฐ
ภาคีเข้ ามาชุมนุมกัน
่ างานด้านสิทธิมนุษยชน มีการประชุมกันถึงประเด็น
 ภายใน UN ก็มีหน่วยงานหนึ่งทีท
ต่างๆ ทีเ่ กี่ยวข้องกับประเด็นสิทธิมนุษยชนนี้ เช่น กรณีของการบังคับให้หายสาบสูญ
แล้วทีป่ ระชุมก็รว่ มกันร่างกฎหมายขึ้นมา
 หลักจากร่างกฎหมาย ออกมาแล้ว ก็เชิญ รัฐภาคีมาลงนาม ซึง่ แต่ละประเทศได้พิจารณา
และลงนาม หมายถึง ประเทศตกลงในหลักการ แต่การลงนามนัน้ ไม่มีอานาจเพียงพอทีจ่ ะ
นาไปใช้
 แต่ละประเทศ ก็ตอ้ งไปออกกฎหมายภายในประเทศเพื่อให้สอดคล้องกับหลักการ
กฎหมายระหว่างประเทศ
 เมื่อเปลี่ยนกฎหมายแล้ว ก็ตอ้ งมีการให้สต
ั ยาบัน
 หลังจากนัน
้ ก็ตอ้ งเข้าสูก่ ระบวนการตรวจสอบ เช่น การรายงาน ต่อคณะกรรมการต่างๆ
ระดับภูมิภาค

ปฏิญญาอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
 องค์กรสิทธิมนุษยชนของอาเซียน' (AICHR)
1. เพื่อส่งเสริมและปกป้ องสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขัน้ พื้นฐานของประชาชนอาเซียน
2. เพื่อรักษาสิทธิของประชาชนอาเซียนทีจ่ ะอยู่อย่างสันติ มีศกั ดิศ์ รี และเจริญรุง่ เรือง
3. เพื่ออุทศิ ทีจ่ ะตระหนักถึงจุดประสงค์ของอาเซียนทีบ่ ญ
ั ญัตไิ ว้ในกฎบัตรอาเซียนเพื่อทีจ่ ะ
สนับสนุนความมัน่ คงและความกลมกลืนในภูมิภาค ความเป็ นมิตร และความร่วมมือ
ระหว่างประเทศอาเซียน ตลอดจนความปลอดภัย การทามาหากิน สวัสดิการ และการมี
ส่วนร่วมของประชาชนอาเซียนในกระบวนการสร้างประชาคมอาเซียน
4. เพื่อสนับสนุนสิทธิมนุษยชนในบริบทของภูมิภาค รับรูถ้ ึงลักษณะเฉพาะทัง้ ระดับประเทศ
และระดับภูมิภาค ตลอดจนเคารพในพื้นฐานทางศาสนา ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรมที่
แตกต่างกัน และตระหนักถึงความสมดุลระหว่างสิทธิและความรับผิดชอบ
5. เพื่อขยายความร่วมมือระดับภูมิภาคในลักษณะชืน่ ชมความพยายามระดับชาติและระดับ
นานาชาติในการสนับสนุนและปกป้ องสิทธิมนุษยชน
6. ยืนยันในมาตรฐานสิทธิมนุษยชนระดับนานาชาติตามที่บญ
ั ญัตใิ นปฏิญญาสากลว่าด้วย
สิทธิมนุษยชน ปฏิญญาและแผนปฏิบตั ิการเวียนนา และส่วนสิทธิมนุษยชนระดับนานาชาติ
อืน่ ๆทีอ่ าเซียนมีสว่ นร่วม
กฎหมายภายในประเทศ รัฐธรรมนูญ 2550
์ รีความเป็ นมนุษย์ สิทธิ
ศักดิศ
เสรีภาพ และความเสมอภาค
ของบุคคล ย่อมได้รบั ความคุม้ ครอง (มาตรา ๔)
 บุคคลย่อมเสมอกันในกฎหมายและได้รบ
ั ความคุม้ ครองตาม
กฎหมาย เท่าเทียมกัน (มาตรา ๓๐)
 ชายและหญิงมีสท
ิ ธิเท่าเทียมกัน (มาตรา ๓๐)
 การเลือกปฏิบต
ั โิ ดยไม่เป็ นธรรมต่อบุคคลเพราะเหตุแห่ง
ความแตกต่างในเรือ่ งถิ่นกาเนิด เชื้อชาติ ภาษา เพศ อายุ
ความพิการ สภาพทางกายหรือสุขภาพ สถานะของบุคคล
ฐานะทางเศรษฐกิจ หรือสังคม ความเชือ่ ทางศาสนา
การศึกษาอบรม หรือความคิดเห็นทางการเมืองอันไม่ขดั ต่อ
บทบัญญัติ แห่งรัฐธรรมนูญ จะกระทามิได้ (มาตรา ๓๐)
กฎหมายภายในประเทศ รัฐธรรมนูญ 2550
มาตรการทีร่ ฐั กาหนดขึ้นเพื่อขจัดอุปสรรคหรือส่งเสริมให้บุคคล
สามารถใช้สทิ ธิและ เสรีภาพได้เช่นเดียวกับบุคคลอืน่ ย่อมไม่ถือเป็ น
การเลือกปฏิบตั โิ ดยไม่เป็ นธรรมตามวรรคสาม(มาตรา ๓๐)
่ น่ื ของรัฐ และ
บุคคลผูเ้ ป็ นทหาร ตารวจ ข้าราชการ เจ้าหน้าทีอ
พนักงาน หรือลูกจ้างขององค์กรของรัฐ ย่อมมีสทิ ธิและเสรีภาพตาม
รัฐธรรมนูญเช่นเดียวกับบุคคลทัว่ ไป เว้นแต่ทจ่ี ากัดไว้ในกฎหมาย
หรือกฎทีอ่ อกโดยอาศัยอานาจตามบทบัญญัตแิ ห่งกฎหมาย เฉพาะใน
ส่วน ทีเ่ กี่ยวกับการเมือง สมรรถภาพ วินยั หรือจริยธรรม (มาตรา ๓๑)
พระราชบัญญัตสิ ทิ ธิมนุษยชนแห่งชาติ 2542
3
“สิ ทธิมนุษยชน”หมายความว่าศักดิ์ศรี ความเป็ น
มนุษย์ สิ ทธิเสรี ภาพและความเสมอภาคของบุคคลที่
ได้รับการรับรองหรื อคุม้ ครองตามรัฐธรรมนูญแห่ง
ราชอาณาจักรไทย หรื อตามกฎหมายไทย หรื อตาม
สนธิสญ
ั ญาที่ประเทศไทยมีพนั ธกรณี ที่จะต้องปฏิบตั ิตาม
 มาตรา
คู่ของ
สิ ทธิ:
พันธกรณี
พันธกรณีของรัฐ
 สิทธิมนุษยชนมีพ้ ืนฐานมาจากความสัมพันธ์ระหว่าง
2 ภาคส่วน คือผูท้ เี่ รียกร้อง
สิทธิกบั ผูท้ ม่ี ีพนั ธกรณีหรือหน้าที่ ในการทาให้เกิดการสนองสิทธิ แต่ละสิทธิมี
พันธกรณีเป็ นคูข่ องมัน พันธกรณี/หน้าทีแ่ บ่งออกเป็ น 3 ระดับดังนี้
 พันธกรณีในการเคารพ (Respect) รัฐต้องไม่ทาลายมาตรฐาน ต้อง
เคารพสิทธิทปี่ ระชาชนมีอยู่
 พันธกรณีในการคุม้ ครอง (Protect) รัฐต้องหยุดการกระทาการที่
ละเมิดมาตรฐานสิทธิมนุษยชน เป็ นการปกป้ องไม่ให้มือทีส่ ามเข้ามากระทา
การละเมิดสิทธิ
 พันธกรณีในการทาให้ทุกคนได้รบั สิทธิ (Fulfill) รัฐต้องมีมาตรการ ที่
เหมาะสมในการรับรองว่ามาตรฐานสิทธิมนุษยชนได้บรรลุ หรือ ต้องทาสิทธิ
ทีย่ งั พร่องอยูใ่ ห้เต็ม และให้คนสามารถใช้สทิ ธิเหล่านัน้ ได้จริง