ดาวน์โหลดเอกสาร - สำนักงานกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว

Download Report

Transcript ดาวน์โหลดเอกสาร - สำนักงานกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว

การบรรยายพิเศษ
“แนวนโยบายการพัฒนาสตรีและการส่งเสริม
ความเสมอภาคหญิงชายในประเทศไทย”
วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2555
ณ โรงแรมจอมเทียน ปาล์ม บีช จ.ชลบุรี
โดย นายสมชาย เจริญอานวยสุข
ผูอ้ านวยการสานักงานกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั ่นคงของมนุษย์
สำน ักงำนกิจกำรสตรีและสถำบ ันครอบคร ัว
วิสยั ทัศน์
เป็ นหน่วยงานหลักระดับชาติ
ในการเสริมสร้างความเสมอภาคหญิงชายและ
ความเข้มแข็งของสถาบันครอบครัว
ภารกิจของสานักงานกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว
(ด้านการส่งเสริมความเสมอภาคหญิงชาย)
• เสนอแนะ ผลักดันกฎหมาย นโยบาย มาตรการ และกลไก
• ส่งเสริมการบูรณาการมิตหิ ญิงชายในนโยบาย แผน / โครงการ
• ส่งเสริมการพิทกั ษ์คมุ ้ ครองสิทธิสตรี
• เป็ นศูนย์ประสานข้อมูลและสารสนเทศมิตหิ ญิงชาย
• ส่งเสริมการรวบรวม การใช้ และวิเคราะห์ขอ้ มูลแยกเพศ
• ติดตาม ประเมินผลการดาเนินงาน
ความเสมอภาค.....หมายถึง
ไม่ใช่ ความเหมือนกัน หรือเท่ากัน ...
แต่ หมายถึง การคานึงถึง ความแตกต่าง
ในปั ญหา ความต้องการ โอกาส ศักยภาพ
ของเพศหญิงและเพศชาย เพื่อให้ท้งั สองเพศ
อยูด่ ว้ ยกัน อย่างปรองดองและได้รบั
ประโยชน์อย่างสมดุลกัน
ความเสมอภาค คือ.....
ความเท่ าเทียมกัน ใน.....
สิ ทธิ
โอกาส
การเข้ าถึง
การได้ รับประโยชน์
ทางเลือก
สถานการณ์ ด้านสตรีในประเทศไทย
การเลือกปฏิบัติ
ขาดสิ ทธิและโอกาส
ขาดการมีส่วนร่ วม
ในการพัฒนา
กฎหมายทีไ่ ม่ เป็ นธรรม
อคติทางเพศ
ปัญหาความไม่ เสมอภาค
ถูกกระทาความรุนแรง
กระแสสากล :พันธกรณี ทีเ่ กีย่ วข้ อง
•
อนุสัญญาว่ าด้ วยการขจัดการเลือกปฏิบัตติ ่ อสตรี
ในทุกรู ปแบบ
CEDAW
•ปฏิญญาและแผนปฏิบัตกิ ารปักกิง่
Beijing
เพือ่ ความก้าวหน้ าของสตรี
•
เป้าหมายการพัฒนาแห่ งสหัสวรรษ
MDG
อนุสัญญาว่ าด้ วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ ของสหประชาชาติ
(Convention on the Elimination of All Forms of Discrimination
against Women – CEDAW) ปี 2522 ประเทศไทยเข้ าเป็ นภาคี 2528
เสมอภาค
ด้านโอกาส
เสมอภาคใน
การเข้าถึง
เสมอภาคใน
ผลที่ได้รบั
ตระหนักว่าหญิงชายแตกต่าง
ต้องมีมาตรการที่แตกต่าง
เพื่อให้ได้รบั ประโยชน์ที่เท่าเทียมกัน
หลักการของอนุสัญญา CEDAW
มีหลักการพืน้ ฐาน 3 ประการ
1. ควำมเสมอภำค
2. กำรไม่เลือกปฏิบ ัติ
3. พ ันธกิจของร ัฐ
พันธกรณีระหว่างประเทศ (ต่อ)

ปฏิญญาปั กกิ่งและแผนปฏิบตั ิการ
เพื่อความก้าวหน้าของสตรี
เป็ นผลมาจากการประชุมระดับโลกว่าด้วย
เรือ่ งสตรีครั้งที่ 4 ณ กรุงปั กกิ่ง
เมื่อปี 2538
ประเด็นห่วงใย 12 ประเด็น
จากปฏิญญาปั กกิ่ง
ประเด็นห่ วงใยเพิม่ ปี 2543
 โลกาภิวฒ
ั น์
 ความก้ าวหน้ าทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
 การเคลือ
่ นย้ ายแรงงาน
 ภาวะประชากรผู้สูงอายุ
 การแพร่ ระบาดของโลกเอดส์
 ภัยพิบัติธรรมชาติ
 การแบ่ งภาระความรับผิดชอบระหว่ างหญิงชาย
พันธกรณีระหว่างประเทศ (ต่อ)

เป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ
(Millennium Development Goal – MDG)
เป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ
(Millennium Development Goals – MDGs) ปี 2543
เพื่อลดช่องว่างในการพัฒนาระหว่างประเทศต่างๆ
ให้บรรลุเป้าหมายในปี 2558
1) ขจัดความยากจนและหิวโหย
2) ให้เด็กทุกคนได้รบั การศึกษาระดับประถมศึกษา
3) ส่งเสริมความเท่าเทียมกันทางเพศและส่งเสริมบทบาทสตรี
*(ประเทศไทยกำหนดเป้ำหมำยที่ทำ้ ทำย เพิ่มสัดส่วนผูห้ ญิงในรัฐสภำ
อบต. และตำแหน่งผูบ้ ริหำรสตรีในระดับสูง เป็ น 2 เท่ำ)*
4) ลดอัตราการตายของเด็ก
5) พัฒนาสุขภาพสตรีมีครรภ์
6) ต่อสูก้ บั โรคเอดส์ มาเลเรีย และโรคสาคัญอื่นๆ
7) รักษาและจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างยั ่งยืน
8) ส่งเสริมการเป็ นหุน้ ส่วนเพื่อการพัฒนาในประชาคมโลก
การขับเคลือ่ นความเสมอภาคหญิงชายใน
หน่ วยงานภาครัฐ
•ผู้บริหารดานการ
้
เสริมสราง
้
บทบาท
หญิงชาย
(Chief Gender
Equality Officer
- CGEO)
คณะกรรมการ กยส.
และ กสส.
•ศูนยประสานงาน
์
ดาน
้
การส่งเสริมความ
เสมอภาค
ระหวางหญิ
งชาย
่
(Gender Focal
Point - GFP)
-แผนพัฒนาสตรีในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสั งคมแหงชาติ
่
-มติคณะรัฐมนตรี เมือ
่ วันที่
๓๑
กรกฎาคม
๒๕๔๔
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร
ไทย พุทธศักราช 2550
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10
(พ.ศ. 2550-2554)
แผนพัฒนาสตรีในช่วง
ิ
และสั
ง
คมแห่
ง
ชาต
ฉบั
บ
ที
่
10
แผนพัฒนาเศรษฐกิจ
(พ.ศ. 2550-2554)
นโยบายรัฐบาลที่แถลงต่อรัฐสภา 29 ธันวาคม 2
รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2550

มาตรา 30 ... ชายและหญิงมีสิทธิเท่าเทียมกัน ... การเลือกปฏิบตั ิ
โดยไม่เป็ นธรรมต่อบุคคลเพราะเหตุแห่งความแตกต่างในเรื่องเพศ
จะกระทามิได้
 มาตรา 80 รัฐต้อง ... ส่งเสริมความเสมอภาคของหญิงและชาย
 มาตรา 87 รัฐต้องส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการ
กาหนดนโยบาย การวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมทั้งใน
ระดับชาติและระดับท้องถิ่นและการจัดทาบริการสาธารณะ
โดยการมีสว่ นร่วมของประชาชนในมาตรานี้ให้คานึงถึงสัดส่วนของ
หญิงและชายในจานวนที่ใกล้เคียงกัน
 มาตรา 114 (เรือ
่ ง ส.ว.)... ให้คณะกรรมการสรรหาสมาชิกวุฒิสภา
ดาเนินการสรรหาบุคคลที่มีความเหมาะสม ... ในการสรรหา ให้
คานึงถึงองค์ประกอบจากบุคคลที่มีความรู ้ โอกาสและความเท่าเทียม
กันทางเพศ
แผนพัฒนาสตรีในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550 – 2554)
ยุทธศำสตร์หลักกำรเสริมสร้ำงและปรับเปลี่ยนเจตคติในสังคมไทย
ยุทธศาสตร์ที่ 5
ยุทธศาสตร์ที่ 1
การเสริมสร้างเจต
การส่งเสริมการมี
คติด้านความเสมอ
ยุทธศาสตร์ที่ 2
ส่วนร่วมทาง
เป้
าประสงค์
ภาคระหว่างหญิง
สังคมไทยเป็ นสังคมที่มี
เศรษฐกิจของสตรี
่
ิ
การเพ
มโอกาสการ
และชาย
ยุทธศาสตร์ที่ 4 ความเสมอภาคระหว่างหญิงชาย มีส่วนร่วม ในการ
การเสริมสร้างความ
ตัดสินใจทาง
ยุทธศาสตร์ที่ 3
มันคงในชี
่
วิตและ
การเมืองและการ
การส่งเสริมสุขภาวะ
ร่างกาย
บริหาร
และสิทธิอนามัย
แผนพัฒนาสตรีในช่ วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสั งคมแห่ งชาติ
ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555 – 2559)
ยุทธศาสตร์ หลัก สร้ างสั งคม เสมอภาค เป็ นธรรม และยุตธิ รรม ทีส่ ตรีไทยอยู่อย่าง มี
ศักดิ์ศรี มัน่ คงปลอดภัย และมีคุณภาพชีวติ ทีด่ ี
ยุทธศาสตร์ที่ 5
การเสริมสร้าง
และพัฒนา
ศัยุกทยภาพกลไก
ธศาสตร์ที่ 4
และองค์
ก
รสตรี
พัฒนาศักยภาพ
ทุ
ก
ระดั
บ
สตรีเพื่อเพิ่ม
โอกาสในการเข้า
ยุทธศาสตร์ที่ 1
เสริมสร้างเจตคติ
และการยอมรับด้าน
ความเสมอภาค
เป้ าประสงค์
ระหว่
างหญนิ งสัชาย
สังคมไทยเป็
งคมที่มี
ยุทธศาสตร์ที่ 2
การเพิ่มศักยภาพ
และเพิ่มโอกาส
ทางเศรษฐกิจ
ความเสมอภาคระหว่างหญิงชายและสังคมของ
สตรีไทย
ยุทธศาสตร์ที่ 3
การพัฒนาสุขภาวะ
คุณภาพชีวิตและ
มติคณะรัฐมนตรี
คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม 2544 ดังนี้
1. รับทราบการมีผลใช้บงั คับของอนุสญ
ั ญา CEDAW
2. เห็นชอบ ดังนี้
2.1 ให้ทุกกระทรวง ทบวง กรม มอบหมายผูบ้ ริหารระดับ
รองปลัดกระทรวงหรือรองอธิบดีข้ ึนไป จานวน 1 คน ปฏิบตั ิหน้าที่
เป็ นผูบ้ ริหารด้านการเสริมสร้างบทบาทหญิงชาย (CGEO)
2.2 มอบหมายหน่วยงานระดับสานัก / กอง ทาหน้าที่เป็ นศูนย์
ประสานงานด้านความเสมอภาคระหว่างหญิงชาย (Gender
Focal Point) และจัดทาแผนแม่บทการส่งเสริมความเสมอภาค
ระหว่างหญิงชาย
บทบาทหน้าทีข
่ อง
CGEO างหญิ
1. ส่งเสริมความเสมอภาคระหว
งชายใน
่
ส่วนราชการ
2. ริเริม
่ และจัดให้มีกจ
ิ กรรมสรางความเข
้
้าใน
แนวคิดบทบาทหญิงชายให้กับขาราชการ
้
3. ติดตาม ตรวจสอบ รับฟังและให้
คาปรึกษาแนะนาในการบริหารงานบุคคล
ของส่วนราชการให้เป็ นไปตามหลักความ
เสมอภาค
4. สรางเครื
อขายการด
าเนินการเกีย
่ วกับ
้
่
21
บทบาทหน้าที่
ศูนยประสานงานด
านความเสมอภาค
้
์
ระหว
างหญิ
ง
ชาย
่
มีหน้าทีด
่ าเนินการให้แกผู
่ ้บริหารดาน
้
งชาย
การเสริมสรางบทบาทหญิ
้
(CGEO) ในกิจกรรมทีเ่ กีย
่ วกับแผน
แมบทด
านการส
่
้
่ งเสริมความเสมอภาคระ
หวาหญิ
งชาย
่
ติดตามประเมินผลและจัดทารายงาน
การดาเนินการดานการเสริ
มสรางบทบาท
้
้
22
นโยบายส่งเสริมความเสมอภาคระหว่างหญิงชาย
ที่นายกรัฐมนตรีมอบให้หน่วยงานนาไปปฏิบตั ิ
จานวน 3 ข้อ
ข้อ 1. การสร้างความตืน่ ตัว ความเข้าใจในเรื่องมิติ
หญิงชาย ความเสมอภาคระหว่างหญิงชาย
ภายในหน่วยงาน และให้นาไปใช้ประกอบการทางาน
นโยบายส่งเสริมความเสมอภาคระหว่างหญิงชาย (ต่อ)
ข้อ 2. การกาหนดเป็ นนโยบายของหน่วยงานในเรื่องที่
เกี่ยวกับสภาพแวดล้อม สิ่งอานวยความสะดวกต่างๆ
โดยคานึงถึงมิตหิ ญิงชาย เช่น การจัดให้มีศูนย์รบั เลี้ยง
เด็ก (Day Care Center) ห้องให้นมแม่ในที่ทางาน
จัดให้มีอุปกรณ์สาหรับคนพิการ เป็ นต้น
นโยบายส่งเสริมความเสมอภาคระหว่างหญิงชาย (ต่อ)
ข้อ 3. การดูแลปั ญหาการล่วงละเมิดทางเพศในที่ทางาน
ตามที่คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบไว้ในกฎ ก.พ.
แนวทางการดาเนินงานที่นายกรัฐมนตรีมอบให้ CGEO
นาไปดาเนินการ จานวน 4 ข้อ
1. การนามิติหญิงชายไปใช้เป็ นหลักในการบริหารจัดการ
ภายในองค์กร เพื่อให้เกิดความเป็ นธรรมและความ
โปร่งใส
แนวทางการดาเนินงาน (ต่อ)
2. การกาหนดภารกิจและนโยบายที่มีผลกระทบต่อ
ประชาชน ให้มีการวิเคราะห์ผลกระทบที่แตกต่างกันจาก
ความหลากหลายทางเพศหรือสถานะทางสังคม เพื่อให้เป็ น
การสอบทานอยูต่ ลอดเวลา และทาให้มีผลในการลด
ช่องว่างระหว่างหญิงชาย รวมทั้งไม่เป็ นการตอกย้า
ในเรือ่ งเหลื่อมล้า
แนวทางการดาเนินงาน (ต่อ)
3. การจัดทาแผนงานและงบประมาณ ต้องมีการปรับหรือ
กาหนดให้สอดคล้องกับความต้องการของหญิงและชาย
ซึ่งอาจจะมีความแตกต่างกัน และโดยเฉพาะกลุ่ม
ผูด้ อ้ ยโอกาส
แนวทางการดาเนินงาน (ต่อ)
4. การสร้างความชัดเจนในการกาหนดนโยบายของ
หน่วยงาน ขอให้มีการประกาศเจตนารมณ์ที่ชดั เจน
มีการสร้างผูเ้ ชี่ยวชาญในเรือ่ งมิตหิ ญิงชายของหน่วยงาน
เพื่อเป็ นผูผ้ ลักดันในเรื่องความเสมอภาคระหว่างหญิงชาย
ต่อไป
การดาเนินงานของ สค.
1. การพัฒนาบุคลากรให้มีความตระหนักและมีองค์
ความรูเ้ รือ่ งความเสมอภาคภาคระหว่างหญิงชาย
2. การสนับสนุนผลักดันการดาเนินการตามแผนแม่บท
การส่งเสริมความเสมอภาคระหว่างหญิงชาย
การดาเนินงานของ สค. (ต่อ)
3. การยกย่องประกาศเกียรติคุณหน่วยงานภาครัฐดีเด่น
ด้านการส่งเสริมความเสมอภาคระหว่างหญิงชาย
4. โครงการจัดทางบประมาณที่มีมุมมองมิตหิ ญิงชาย
(Gender Budgeting)
การดาเนินงานของ สค. (ต่อ)
5. โครงการ CGEO Visit เพื่อประชุมหารือร่วมกัน
ระหว่าง CGEO สค. กับ CGEO กรมต่างๆ
แผนการดาเนินการในปี งบประมาณ 2555
เป้าหมาย
: สร้างสั งคม
เสมอภาค เป็ น
ธรรม และยุตธิ รรม
ทีส
่ ตรีอยูอย
่ างมี
่
ศั กดิศ์ รี
มัน
่ คงปลอดภัย
และมีคุณภาพ
ชีวต
ิ ทีด
่ ี
- นายกพบ CGEO
- การส่ งเสริ มความเสมอภาค - พัฒนามาตรฐาน
หญิงชายในหน่วยงาน
- การขับเคลื่อนแผนสตรี ฯ
- การส่ งเสริ มความเสมอภาค
หญิงชายในครอบครัว
- การประชุมสมัชชาสตรี
- จัดกิจกรรมเนื่องในวัน
- การประชุมระหว่างประเทศ
สาคัญของสตรี
การส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพ
การพัฒนากลไก
- การขับเคลื่อนการวาง
ระบบป้องกันและ
ช่วยเหลือสตรี
- การผลักดันการ
ดาเนินการตาม
อนุสญ
ั ญา
CEDAW
การคุ้มครองและพิทกั ษ์สิทธิ
- การติดตามการ
ดาเนินการส่งเสริมความ
เสมอภาคหญิงชาย
- การจัดทาสื่อ สารสนเทศ
- การจัดประชุม/สัมมนา ที่
ส่งเสริมการดาเนินงาน
ด้ านการส่งเสริมความ
เสมอภาคหญิงชาย
วิจยั พัฒนา และองค์ความรู้
- การพัฒนา
ศักยภาพแกนนา
สตรี ในชุมชน
เพื่อเป็ นวิทยากรใน
การถ่ายทอด
ความรู้
- การส่งเสริมการมี
ส่วนร่วมของสตรี
ในทางการเมือง
เสริมพลังสตรี เพื่อพัฒนา
ภาพกิจกรรม
การดาเนินงานด้านสตรีของสานักงานกิจการสตรี
และสถาบันครอบครัว
1. การส่ งเสริมการมีส่วนร่ วมของสตรีในทางการเมือง
2. การฝึ กอบรมหลักสู ตรสิ ทธิอนามัยเจริญพันธุ์
3. การจัดคาราวานด้ านสตรีและครอบครัว
4. การส่ งเสริมความรู้ เรื่องกฎหมาย
5. การวางระบบป้องกันและแก้ไขปั ญหาความรุนแรงต่อเด็กและสตรี
ในชุมชน
6. วางระบบป้องกันและแก้ไขปั ญหาการตั้งครรภ์ไม่
พร้อมในวัยรุน่
7.การขับเคลื่อนอนุสญ
ั ญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบตั ติ อ่ สตรี
- การจัดทารายงานการอนุวตั ิอนุสญ
ั ญา CEDAW
- การจัดประชุมระดมความคิดเห็น
ยกเลิกข้อสงวน ข้อที่ ๑๖
8. ผลักดันในการแก้ไขกฎหมายที่เลือกปฏิบตั ิ และยกร่าง
พ.ร.บ.ความเท่าเทียมกันระหว่างเพศ พ.ศ. ...
กลไกระดับชาติในการส่งเสริมความเสมอ
ภาคหญิ
ง
ชาย
1. การประชุมคณะกรรมการนโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาสถานภาพสตรีแห่งชาติ
(กยส.) ซึ่งมีรองนายกรัฐมนตรีเป็ นประธาน (พล.ต.อ.โกวิท วัฒนะ)
กลไกระดับชาติในการส่งเสริมความเสมอ
ภาคหญิ
ง
ชาย
2. การประชุมคณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนา
สถานภาพสตรี (กสส.) ซึ่งมีรองศาสตราจารย์จุรี
วิจติ รวาทการ เป็ นประธาน
การขับเคลือ
่ นการส่งเสริมความเสมอภาค
หญิงชาย
3. การจัดประชุมมอบนโยบายส่งเสริมความเสมอภาค
ระหว่างหญิงชาย นายกรัฐมนตรี พบ CGEO
45
4. กิจกรรม CGEO VISIT
เพื่อประชุมหารือร่วมกับระหว่าง
CGEO สค. กับ CGEO กรมต่างๆ
MOU ร่วมกับหน่วยงานต่างๆ เช่น โรงเรียนนายร้อยตารวจ
ในการบูรณาการเรื่องความเสมอภาคหญิงชายในหลักสูตร
การเรียนการสอน
MOU ระหว่าง
สานักงานกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว
กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
และมูลนิธิเพื่อการพัฒนาที่ยั ่งยืน
เรือ่ งการจัดการภัยพิบตั ิ : มุมมองมิติ
หญิงชาย
การพัฒนาบุคลากรให้มีความตระหนักและมี
องค์ความรูเ้ รื่องความเสมอภาคภาคระหว่างหญิงชาย
การสนับสนุนผลักดันการดาเนินการตามแผนแม่บท
การส่งเสริมความเสมอภาคระหว่างหญิงชาย
50
• ร่วมกับกรมชลประทาน
•ร่วมกับ กรมศิลปากร
•ร่วมกับ กรมพัฒนาฝี มือแรงงาน
•ร่วมกับ กรมการจัดหางาน
จัดทาหลักสูตรและคู่มือฝึ กอบรมหลักสูตร Gender
- หลักสู ตรความเสมอภาคหญิงชายใน
ครอบครัว (Gender in Family)
- หลักสู ตรความเสมอภาคหญิงชายสาหรับ
ผูบ้ ริ หาร
- หลักสูตรความเสมอภาคหญิงชายสาหรับ
ผูป้ ฏิบตั ิงาน
- หลักสูตรความเสมอภาคหญิงชายใน
สถาบันฝึ กอบรมของหน่วยงานต่างๆ
การจัดงานเนื่องในวันสตรีสากล (๘ มีนาคม)
การจัดประชุมสมัชชาสตรีแห่งชาติ
สานักงานกิจการสตรีและสถาบันครอบครัวกระทรวงการพัฒนาสังคมและ
ความมั ่นคงของมนุษย์
โทร. 0 2306 8780
แฟกซ์ 0 2306 8753
เว็บไซต์ www.women-family.go.th
และ www.gender.go.th