ดาวน์โหลดเอกสาร

Download Report

Transcript ดาวน์โหลดเอกสาร

แนวทางการจัดทาแผนปฏิบัตติ าม
แผนพัฒนาสตรี
ในช่ วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสั งคมแห่ งชาติ ฉบับที่ ๑๑
(พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
แผนพัฒนาสตรี
ในช่ วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสั งคมแห่ งชาติฉบับที่ ๑๑
(พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๙)
สรุปสภาพปัญหา
 เจตคติและอคติของสั งคมที่มีต่อบทบาทและฐานะของสตรี ไทยเป็ น
อุปสรรคต่ อ
 ความก้ าวหน้ าในการทางาน การดารงชี วิต การมีส่วนร่ วมทางการ
เมือง การบริ หาร การเข้ าสู่ ตาแหน่ งในการตัดสิ นใจระดับต่ างๆ ทั้งใน
ภาครัฐ ภาคธุรกิจเอกชน และภาคการเมือง
 ปั ญหาด้ านการละเมิดสิ ทธิด้านต่ างๆ อันส่ งผลกระทบต่ อผู้หญิง และ
เด็กทั้งร่ างกายและจิตใจ กระบวนการยุติธรรมที่ขาดมุมมองและความเข้ าใจ
ในมิติความแตกต่ างทางเพศ
 ปั ญหาความรุ นแรงต่ อเด็กและสตรี ที่ต้องการการป้องกัน แก้ ไขและ
เยียวยาอย่ างเร่ งด่ วน
สรุปสภาพปัญหา (ต่ อ)
ปั ญหาความยากจนของผู้หญิง รายได้ ไ ม่ เท่ าเทียมกัน สภาวะ
การจ้ างงาน การทางานที่ไม่ ก่อให้ เกิดรายได้ ภาระหนี้สิน สตรี ที่เป็ น
หัวหน้ าครอบครัวเพิม่ ขึน้ และมีภาระในการเลีย้ งดูครอบครัวโดยสถิติ
ในปี ๒๕๕๐ พบว่ า รายได้ เฉลีย่ ของครัวเรือนที่มีหัวหน้ าครัวเรือนเป็ น
หญิงต่ากว่ าหัวหน้ าครัวเรือนชาย
 ปัญหาการคุ้มครองแรงงานสตรี และคุณภาพชี วิต โดยเฉพาะสตรี
กลุ่มทีด่ ้ อยโอกาสต่ างๆ

สรุปสภาพปัญหา (ต่ อ)
ปัญหาด้ านสุ ขภาพ เช่ น การวางแผนครอบครัว ความเสี่ ยงต่ อการติด
เชื้อ HIV/AIDS ปั ญหาการดื่มสุ ราและสู บบุหรี่ ปั ญหาโรคไม่ ติดต่ อ เช่ น
เบาหวาน ความดัน โรคหัวใจ มะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้ านม โรคอ้ วน
โรคชราภาพต่ างๆ ปัญหาตั้งครรภ์ โดยไม่ พร้ อมและการทาแท้ งโดยเฉพาะ
ในกลุ่มสตรีวยั รุ่น

 ปัญหาความเข้ มแข็งของกลไกการพัฒนาสตรี ทุกระดับ (ระดับชาติ
จัง หวัด ชุ ม ชน และองค์ ก รพัฒ นาภาคเอกชน ในการผลัก ดัน นโยบาย
ขับเคลื่อนงานด้ านสตรี การพัฒนายุทธศาสตร์ การจูงใจ และการต่ อรอง
อย่ างสร้ างสรรค์ และเทคนิคในการสร้ างพลังอานาจในการดาเนินงาน
เงือ่ นไขและปัจจัยขับเคลือ่ นการพัฒนาสตรี
ภายนอกประเทศ
 ประเทศไทยเป็ นภาคีระดับนานาชาติ ที่มีการกาหนด
มาตรฐานต่ างที่ประเทศสมาชิกต้ องพัฒนาและปฏิบัติตาม
 โลกยุคใหม่ และความก้ าวหน้ าทางวิทยาศาสตร์ และการ
ติดต่ อสื่ อสารสมัยใหม่
 การเตรียมความพร้ อมในการเข้ าสู่ สมาคมอาเซียนและ
สมาชิกความร่ วมมือทางเศรษฐกิจของกลุ่มอาเซียน (AEC)
เงือ่ นไขและปัจจัยขับเคลือ่ นการพัฒนาสตรี
ภายในประเทศ
 การเปลีย่ นแปลงทางเศรษฐกิจ สั งคม และการเมือง
 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสั งคมแห่ งชาติฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ.
๒๕๕๕-๒๕๕๙)
 ระบบการบริหารราชการสมัยใหม่ และเงื่อนไขตามกฎหมาย
การบริหารราชการแผ่ นดินและการวางแผนยุทธศาสตร์
การบริหารราชการสมัยใหม่ ตามกฎหมาย
 เน้ นประโยชน์ สุขของประชาชน หลักธรรมาภิบาล หลักประสิ ทธิภาพ
ประสิ ทธิผล หลักความคุ้มค่ า และหลักความเป็ นธรรม
 การบริหารราชการอย่ างมืออาชีพ การมุ่งสู่ ความเป็ นเลิศ (in search of
excellence หรือ high performance) ให้ ความสาคัญในการปรับวัฒนธรรม
องค์ การ ค่ านิยม จรรยาบรรณวิชาชีพ และการบริหารความเสี่ ยง
 การให้ ความสาคัญต่ อการบริการประชาชน (public service orientation)
มุ่งเน้ นคุณภาพการดาเนินงาน เน้ นความพึงพอใจของลูกค้าผู้รับบริการ
และการมีส่วนร่ วมของประชาชน
การบริหารราชการแผ่ นดินและการวางแผนยุทธศาสตร์
ระบบการวางแผน การปฏิบัตงิ าน และการวัดผลงาน
 หน่ วยงานถูกกาหนดให้ มีแผนยุทธศาสตร์ (Strategy Plan) แปลงแผน
นั้นออกมาเป็ น “คารับรองการปฏิบัติราชการ” มีการกาหนดตัวชี้วดั ผล
การดาเนินงานของหน่ วยงาน (KPIs. : Key Performance Indicators)
ตามหลักการวัดผลการดาเนินการแบบสมดุล (Balanced Scorecard)
และมีการประเมินการทางานด้ วยตนเอง (Self Assessment Report)
และการตรวจสอบด้ วยหน่ วยงานประเมินภายนอก (Third Party
Assessment) รัฐบาลกาหนดสิ่ งจูงใจ (Rewards & Incentives)
การบูรณาการยุทธศาสตร์ ชาติและแผนการปฏิบัตริ าชการ
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑
แผนปฏิบัตงิ านตาม
และ แผนพัฒนาสตรีฯ
แผนพัฒนาสตรีฯ
แผนบริหารราชการแผ่ นดิน
(๒๕๕๔-๒๕๕๘)
เป้ าประสงค์ เป้ าหมาย
กลยุทธ ตัวชี้วดั
แผนปฏิบตั ิราชการ ๔ ปี
เป้ าประสงค์ เป้ าหมาย
กระทรวง กรม/กลุ่มจว. จว.
กลยุทธ ตัวชี้วดั
ยุทธศาสตร์ กระทรวง/กรม
ยุทธศาสตร์ กลุ่มจังหวัดและจังหวัด
แผนปฏิบตั ิราชการรายปี
กระทรวง กรม/กลุ่มจว. จว.
การจัดสรรงบประมาณประจาปี
ความต้ องการของประเทศ
และประชาชน
การวัดผลสั มฤทธิ์
ผลการพัฒนาประเทศตาม
นโยบายรัฐบาลและนโยบายแห่ งรัฐ
ผลงานระดับกระทรวง/กรม
และพืน้ ที่ ทีส่ ะท้ อนนโยบายฯ
ผลงานรายปี ของกระทรวง/กรม
และพืน้ ที่ ทีส่ ะท้ อนนโยบายฯ
การวัดผลงานระดับทีมและบุคคล
วิสัยทัศน์
เป้ าประสงค์ ๕ ประการ
๑. สั งคมไทยเป็ นสั งคมทีใ่ ห้ ความเสมอภาค คนในสั งคมมีเจตคติทดี่ ี ตระหนักและ
ยอมรั บถึง บทบาทสตรี ในบริ บทต่ างๆ (เศรษฐกิจ สั งคม และการเมือง) ใน
สั งคมอย่ างเท่ าเทียมกัน
๒. สั งคมไทยมีความยุติธรรม โดยสตรีทุกระดับมีโอกาส และได้ รับการศึกษาและ
พัฒนาศักยภาพอย่ างเหมาะสม
๓. สตรีมีสุขภาพ สุ ขภาวะ มีความมั่นคงในชีวติ และมีคุณภาพชีวติ ที่ดีขนึ้
๔. สตรีมีความมั่นใจ และมีศักยภาพในการเข้ าร่ วมทางการเมืองและการตั ดสิ นใจ
ในระดับต่ างๆ
๕. กลไกสตรี ระดับต่ างๆ มีความเข้ มแข็งและเป็ นแกนหลักในการขับเคลื่ อนการ
พัฒนาสตรี
วัตถุประสงค์ ๕ ประการ
๑. เพื่อพัฒนาคนในสั งคมไทยให้ ตระหนักรู้ แ ละมีเจตคติที่ดีเกี่ยวกับ
ความเสมอภาค เข้ าใจ เคารพศักดิ์ศรี และบทบาทสตรีในบริ บทต่ างๆ
(เศรษฐกิจ สั งคม และการเมือง) ในสั งคมอย่ างเท่ าเทียมกัน
๒. เพื่อพัฒนาให้ เกิดความยุติธรรมในสั งคมไทย โดยเฉพาะการเปิ ด
โอกาสให้ สตรี ทุกระดับได้ มีโอกาส เข้ าร่ วมทางเศรษฐกิจ สั งคมและ
การเมือง โดยได้ รับการศึกษาและพัฒนาศักยภาพอย่ างเหมาะสม
๓. เพือ่ เร่ งพัฒนาและส่ งเสริมให้ สตรีทุกระดับอายุต่างๆ มีสุขภาพ
สุ ขภาวะ มีความมั่นคงในชีวติ และมีคุณภาพชีวติ ทีด่ ขี นึ้
วัตถุประสงค์ ๕ ประการ
๔. เพื่อส่ งเสริ มให้ สตรี มีความมั่นใจ และมีศักยภาพในการเข้ าร่ วม
ทางการเมืองและกระบวนการตัดสิ นใจสาธารณะในระดับต่ างๆ
๕. เพือ่ พัฒนาและสร้ างความเข็มแข็งสาหรับกลไกสตรีระดั บต่ างๆ
เพือ่ เป็ นแกนหลักในการขับเคลือ่ นการพัฒนาสตรีทุกระดับ
เป้ าหมาย ๗ ข้ อ
๑. ตัวบ่ งชี้ด้านการปรั บปรุ งเจตคติของสั งคม (เด็ก เยาวชน
ผู้ ห ญิ ง และผู้ ช าย) เกี่ ย วกั บ บทบาทหญิ ง ชายทุ ก ระดั บ มี
อัตราส่ วนที่ดขี นึ้
๒. ระดับความสาเร็ จของตัวบ่ งชี้ว่าสตรี ได้ รับการศึ กษาและ
พัฒนาศักยภาพระดับต่ างๆ ทีเ่ ท่ าเทียมกัน และสตรี ที่ประสบ
ความสาเร็ จด้ านการศึ กษาระดับสู ง ได้ รับการยกย่ องและมี
ผลงานโดดเด่ นในสาขาต่ างๆ มีอตั ราส่ วนเพิม่ ขึน้
๓. ระดับความสาเร็ จของสตรี ได้ รับโอกาสและมีส่วนร่ วมทาง
เศรษฐกิจ สั งคม และการเมืองอย่ างเท่ าเทียมกัน และได้ รับ
ความยุตธิ รรมมีจานวนเพิม่ ขึน้
เป้ าหมาย ๘ ข้ อ (ต่ อ)
๔. สตรีทุกกลุ่มทุกวัย มีความรู้ และตระหนักถึงการรักษาสุ ขภาพ
และมีการปรับพฤติกรรมในการดารงชีวติ
๕. องค์ กรและทุกภาคส่ วนให้ ความสนใจประเด็นความรุนแรงต่ อ
เด็กและสตรี
๖. ความรุ นแรงต่ อสตรีและ/หรือเด็กหญิงที่ประสบปัญหาความ
รุนแรงหรืออยู่ท่ามกลางความขัดแย้ งได้ รับความช่ วยเหลือ
แก้ ไขและเยียวยาตามมาตรฐานอย่ างสมบูรณ์ ครบถ้ วน
เป้ าหมาย ๘ ข้ อ (ต่ อ)
๗. สั ดส่ วนของผู้หญิงทีส่ ามารถครองตาแหน่ งบริหาร
การเมือง และสั งคม และได้ รับการเลือกตั้งเข้ าสู่ ตาแหน่ งมี
สั ดส่ วนที่เพิม่ ขึน้
๗. กลไกและองค์ กรสตรีทุกระดับได้ รับการพัฒนา มีศักยภาพ
ในการดาเนินงานด้ านการพัฒนาสตรีในส่ วนที่รับผิดชอบได้
อย่ างเต็มศักยภาพ สามารถพึงตนเอง และสร้ างสรรค์
ยุทธศาสตร์ ที่ ๑ เสริมสร้ างเจตคติด้านความเสมอภาค
ระหว่างหญิงชาย
เป็ นสั งคมเสมอภาค คนในสั งคมมีเจตคติทดี่ ี ตระหนักและยอมรับถึง
บทบาทสตรีในบริบทต่ างๆ (เศรษฐกิจ สั งคม และการเมือง) ในสั งคมอย่ าง
เท่ าเทียมกัน
๑. เพือ่ พัฒนาคนในสั งคมไทยให้ ตระหนักรู้และมีเจตคติทดี่ ีเกีย่ วกับความ
เสมอภาค
๒. เพือ่ ส่ งเสริมความรู้ความเข้ าใจ ปลูกฝังค่ านิยมในการเคารพศักดิ์ศรี และ
๓. เพือ่ สร้ างการยอมรับถึงบทบาทสตรีในบริบทต่ างๆ (เศรษฐกิจ สั งคม
และการเมือง) ในสั งคมอย่ างเท่ าเทียมกัน
ยุทธศาสตร์ ที่ ๑ เสริมสร้ างเจตคติด้านความเสมอภาค
ระหว่างหญิงชาย
ตัวบ่ งชี้ด้านการปรั บปรุ งเจตคติของสั งคมเกี่ยวกับบทบาทหญิงชายทุกระดับ ให้ มี
อัตราส่ วนทีด่ ีขนึ้
๑. การส่ งเสริ มและจั ด ให้ มีการให้ การศึ กษา เพื่อปลูกฝั งเจตคติที่ดีให้ แก่ เ ด็ก เยาวชน
ผู้หญิง และผู้ชายทุกระดับและกลุ่มอายุ ผ่ านกระบวนการศึกษาและสื่ อสารสาธารณะ
๒. การพัฒนาความรู้ ความเข้ าใจของผู้ที่เกี่ยวข้ องในการผลิตสื่ อต่ างๆ และ การกาหนด
มาตรฐานในการเผยแพร่ และสื่ อสารสาธารณะอย่างเหมาะสม
๓. ส่ งเสริมและพัฒนาความรู้ เกีย่ วกับกฎหมาย มาตรการการคุ้มครองสิ ทธิ
๔. การดาเนินการสารวจเจตคติของคนในสั งคมเพื่อใช้ เป็ นแนวทางการรณรงค์ เพื่อปรับ
กระบวนทัศน์
ยุทธศาสตร์ ที่ ๒ การเพิม่ โอกาสทางเศรษฐกิจ และสั งคม
สร้ างสั งคมไทยมีความยุติธรรม โดยเน้ นให้ สตรี ทุกระดับมีโอกาส เข้ าถึงและได้ รับ
โอกาสทางการศึกษาและพัฒนาศักยภาพอย่ างเหมาะสม สตรีได้ รับการปฏิบัติอย่ างเสมอภาค
และมีโอกาสเข้ าร่ วมทางเศรษฐกิจ และสั งคม
๑. เพือ่ พัฒนาให้ เกิดความยุติธรรมในสั งคมไทย
๒. เพือ่ ส่ งเสริมและพัฒนาเงือ่ นไขทีเ่ ปิ ดโอกาสให้ สตรีทุกระดับได้ มีโอกาส เข้ าไปมีส่วนร่ วม
ทางเศรษฐกิจ สั งคมและการเมือง
๓. เพือ่ ส่ งเสริมและรณรงค์ ให้ สตรีทุกระดับและกลุ่มอายุสนใจและเข้ ารับการศึกษา
๔. เพือ่ พัฒนาศักยภาพและขยายโอกาสในการเข้ าร่ วมทางเศรษฐกิจสั งคมและการเมืองของ
สตรีอย่างเหมาะสม
ยุทธศาสตร์ ที่ ๒ การเพิม่ โอกาสทางเศรษฐกิจ และสั งคม
๑. สตรีได้ รับการศึกษาและพัฒนาศักยภาพระดับต่ างๆ ทีเ่ ท่ าเทียมกัน
๒. มีสตรีที่ประสบความสาเร็จด้ านการศึกษาระดับสู ง ได้ รับการยกย่ องและมี
ผลงานโดดเด่ นในสาขาต่ างๆ มีอัตราส่ วนเพิ่มขึ้นอย่ างน้ อยปี ละ ๑ คนต่ อ
สาขา
๓. สตรีได้ รับโอกาส เข้ าร่ วมทางเศรษฐกิจสั งคมอย่ างเท่ าเทียมกัน
๔. ได้ รับการคุ้มครองทางกฎหมายสาหรั บสตรี ทุกกลุ่มเป้าหมาย ให้ ได้ รับ
สิ ทธิและหลักประกันทีพ่ งึ ได้
ยุทธศาสตร์ ที่ ๒ การเพิม่ โอกาสทางเศรษฐกิจ และสั งคม
๑. การเสริมสร้ างและพัฒนาศักยภาพสตรี ผ่ านระบบการพัฒนาทั กษะ
และระบบการศึกษา ที่เป็ นทางการและไม่ เป็ นทางการ
๒. ส่ งเสริ มให้ สตรี ได้ เข้ าถึงและพัฒนาความรู้ ด้านเทคโนโลยีสมัยใหม่
เพือ่ ให้ ร้ ู เท่ าทันและสามารถใช้ เทคโนโลยีในการพัฒนาศักยภาพ
๓. พัฒนากลไก และปรั บปรุ งกฎหมายกฎระเบียบเพื่อเอือ้ ให้ ผ้ ูหญิงมี
โอกาสเข้ า ร่ ว ม และรั บ ประโยชน์ จ ากระบบเศรษฐกิจ และสั ง คม
โดยเฉพาะการเข้ าถึงแหล่ งเงินทุนที่เหมาะสม
๔. สนับสนุน และพัฒนาการศึ กษาวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ ความรู้ การนา
ความรู้ มาใช้ ประโยชน์
ยุทธศาสตร์ ที่ ๓ การพัฒนาคุณภาพชีวติ และ
เสริมสร้ างความมั่นคงในชีวติ
สตรี มี สุ ข ภาพ ทั้ง กายและใจที่ดี ขึ้น กว่ า ในช่ วงที่ผ่ า นมา มี สุ ข ภาวะที่
สมบู ร ณ์ มี ค วามมั่ น คงในชี วิต ในระดั บ ครอบครั ว ชุ ม ชน และสั ง คม และมี
คุณภาพชีวติ ทีด่ ีขนึ้
เพือ่ เร่ งพัฒนาและส่ งเสริมให้ สตรีทุกระดับอายุต่างๆ มีความรู้ ความเข้ าใจใน
การรักษาสุ ขภาพกายและจิตให้ แข็งแรง
๒. เสริมสร้ างสุ ขภาวะของสตรีทุกกลุ่มอายุ เพือ่ นาไปสู่ การพัฒนาคุณภาพและ
มาตรฐานด้ านสุ ขภาพ
๓. พัฒนาและรณรงค์ ให้ สภาพแวดล้ อมของครอบครัว ชุ มชน และสั งคม เป็ น
พืน้ ทีท่ ผี่ ู้หญิงสามารถอยู่ได้ อย่ างมั่นคง
๑.
ยุทธศาสตร์ ที่ ๓ การพัฒนาคุณภาพชีวติ และเสริมสร้ างความ
มั่นคงในชีวติ
๑. สตรีทุกกลุ่มเป้าหมาย มีความรู้และตระหนักถึงการรักษาสุ ขภาพ และมี
การปรับพฤติกรรมในการดารงชีวติ
๒. สตรี โดยเฉพาะกลุ่มเป้าหมายผู้ด้อยโอกาสทุกกลุ่ม สามารถเข้ าถึง
บริการและได้ รับบริการด้ านสาธารณสุ ข
๓. อัตราความรุนแรงต่ อสตรีได้ รับความสนใจ จากสาธารณะและนาไปสู่
การลดอัตราความรุนแรงต่ อสตรีในสั งคม
๔. สตรีและ/หรือเด็กหญิงทีป่ ระสบปัญหาความรุนแรงได้ รับความ
ช่ วยเหลือ และเยียวยาอย่ างครบถ้ วน
ยุทธศาสตร์ ที่ ๓ การพัฒนาคุณภาพชีวติ และเสริมสร้ าง
ความมัน่ คงในชีวติ
๑. เสริมสร้ างความรู้และปรับเจตคติด้านสุ ขภาวะ ผ่ านระบบการศึกษา ทั้งใน
ระบบและนอกระบบ อย่ างเป็ นทางการและไม่ เป็ นทางการ
๒. ให้ ความรู้แก่บุคลากรด้ านการศึกษา การแพทย์ และสาธารณสุ ข เครือข่ าย
ผู้หญิงทุกพืน้ ทีแ่ ละผู้นาชุ มชน เกีย่ วกับประเด็นด้ านสุ ขภาพ ประเด็นความ
เข้ าใจเรื่องเพศศึกษาและการป้องกัน เป็ นต้ น
ยุทธศาสตร์ ที่ ๓ การพัฒนาคุณภาพชีวติ และเสริมสร้ าง
ความมัน่ คงในชีวติ
๔. รณรงค์ พัฒนากลไกทั้งภาครัฐและภาคประชาสั งคม และปรับปรุง
กฎหมายเพือ่ คุ้มครองและบังคับใช้ เพือ่ นาไปสู่ การลดความรุนแรงใน
ครอบครัว ชุ มชน และสั งคม
๕. ส่ งเสริมการศึกษาวิจัยเกีย่ วกับสุ ขภาพ การลดความรุนแรง และการ
พิทกั ษ์ สิทธิของผู้ทถี่ ูกคุกคามทุกรูปแบบ
ยุทธศาสตร์ ที่ ๔ พัฒนาศักยภาพสตรีเพือ่ เพิม่ โอกาส
ในการเข้ าร่ วมในการตัดสิ นใจทางการเมืองและบริหาร
 สตรีมีความมั่นใจ และมีศักยภาพในการเข้ าร่ วมทางการเมืองและกระบวนการ
ตัดสิ นใจสาธารณะในระดับต่ างๆ เพือ่ สตรีสามารถเข้ าร่ วมในการตัดสิ นใจทาง
การเมือง และการบริหารอย่ างเท่ าเทียมกัน
 เสริมสร้ างศักยภาพให้ กลุ่มเป้าหมายสตรีทุกระดับ ในการเข้ าร่ วมใน
กระบวนการตัดสิ นใจทางการเมืองและการบริหาร ทีจ่ ะนาไปสู่ การสร้ าง
และส่ งเสริมให้ สตรีมีความมั่นใจ และมีความสามารถทีจ่ ะแข่ งขันเพือ่ เข้ า
ร่ วมในทางการเมือง
 รณรงค์ และเสริมสร้ างศักยภาพให้ แก่ กลุ่มเป้าหมายสตรีให้ ตน
ื่ ตัวในการเข้ า
ร่ วมกระบวนการตัดสิ นใจสาธารณะในระดับต่ างๆ
ยุทธศาสตร์ ที่ ๔ พัฒนาศักยภาพสตรีเพือ่ เพิม่ โอกาส
ในการเข้ าร่ วมในการตัดสิ นใจทางการเมืองและบริหาร
๑. สั ดส่ วนของผู้หญิงทีไ่ ด้ รับการเลือกตั้งเข้ าสู่ ตาแหน่ งทางการเมืองและการ
บริหารทุกระดับเพิม่ ขึน้
๒. สั ดส่ วนของผู้หญิงทีไ่ ด้ รับการแต่ งตั้งเข้ าดารงตาแหน่ ง
คณะกรรมการนโยบายระดับชาติและองค์ กรอิสระเพิม่ ขึน้
๓. จานวนเครือข่ ายทีม่ ีศักยภาพและความรู้ความเข้ าใจในการเคลือ่ นไหวและ
ผลักดันนโยบายสาธารณะเพิม่ ขึน้ และสามารถเข้ าไปมีส่วนร่ วมใน
กระบวนการตัดสิ นใจสาธารณะในระดับต่ างๆ
ยุทธศาสตร์ ที่ ๔ พัฒนาศักยภาพสตรีเพือ่ เพิม่ โอกาส
ในการเข้ าร่ วมในการตัดสิ นใจทางการเมืองและบริหาร
๑. เสริมสร้ างความรู้ ความเข้ าใจและสร้ างความพร้ อมแก่สตรีทุก
กลุ่มเป้าหมายในสมัครแข่ งขันเพือ่ ดารงตาแหน่ งทางการเมืองและการ
บริหารที่เหมาะสม
๒. ส่ งเสริมกระบวนการเรียนรู้ ปลูกฝังค่ านิยม จริยธรรม จรรยาบรรณ และ
อุดมการณ์ ด้านจิตอาสาและจิตสาธารณะ แก่ เยาวสตรี เพือ่ เตรียมความ
พร้ อมสาหรับการเข้ าสู่ การเป็ นผู้นาในอนาคต
๓. กระตุ้นความสนใจ รณรงค์ และสร้ างความตระหนักให้ แก่สังคมในการ
ให้ โอกาสและเลือกสตรีทมี่ ีความสามารถเข้ าเป็ นผู้นาทางการเมือง
ยุทธศาสตร์ ที่ ๔ พัฒนาศักยภาพสตรีเพือ่ เพิม่ โอกาส
ในการเข้ าร่ วมในการตัดสิ นใจทางการเมืองและบริหาร
๔. แสวงหาแนวร่ วมทั้งภาคการเมือง การบริหาร และสื่ อมวลชน เพือ่
สนับสนุนสตรีทมี่ ีศักยภาพให้ เข้ าสู่ ตาแหน่ งทางการเมือง
๕. แก้ ไขกฎหมายและกฎระเบียบทีย่ งั เป็ นอุปสรรคต่ อการพัฒนาและ
การเข้ าสู่ ตาแหน่ งของสตรี
๖. ส่ งเสริมการศึกษาวิจยั เพือ่ หารู ปแบบด้ านการเมืองและการบริหาร
ที่เหมาะสมสาหรับการพัฒนาสตรีในสั งคมไทย
ยุทธศาสตร์ ที่ ๕ การเสริมสร้ างและพัฒนาศักยภาพกลไก
และองค์ กรสตรีทุกระดับ
พัฒนากลไกสตรีระดับต่ างๆ ทั้งในภาครัฐ ระดับนโยบายและระดับปฏิบัติ
องค์ กรในภาคธุรกิจเอกชน ภาคประชาสั งคม องค์ กรพัฒนาภาคเอกชน และ
เครือข่ ายสตรีต่างๆ ให้ มีความเข้ มแข็ง มีศักยภาพสู ง และเป็ นแกนหลักในการ
ขับเคลือ่ นการพัฒนาสตรีในระดับต่ างๆ ทุกระดับ
๑. เพือ่ พัฒนาและสร้ างความเข็มแข็งสาหรับกลไกสตรีระดับต่ างๆ เพื่อเป็ นแกน
หลักในการขับเคลือ่ นการพัฒนาสตรีทุกระดับ
๒. เพือ่ วางแนวทางในการกระตุ้นบทบาทของกลไกสตรีระดับต่ างๆ ให้ สามารถ
ทางานและขับเคลือ่ นการพัฒนาสตรีอย่ างสร้ างสรรค์
ยุทธศาสตร์ ที่ ๕ การเสริมสร้ างและพัฒนาศักยภาพกลไก
และองค์ กรสตรีทุกระดับ
กลไกและองค์ กรสตรีทุกระดับมีศักยภาพในการดาเนินงานด้ านการพัฒนาสตรี ในส่ วน
ทีร่ ับผิดชอบได้ อย่างเต็มศักยภาพ สามารถพึงตนเอง และสร้ างสรรค์
๑. ส่ งเสริมและเพิม่ ขีดความสามารถของกลไกสตรีระดับต่ างๆ
๒. พัฒนาบุคลากรที่ปฏิบัติงานในการขับเคลือ่ นการพัฒนาสตรีให้ มีความรู้
ความสามารถในการดาเนินงาน
๓. จัดสรรทรัพยากรที่เหมาะสมเพือ่ สนับสนุนการดาเนินงานของกลไกสตรีในระดับ
ต่ างๆ ซึ่งจะนาไปสู่ การพัฒนากลไกที่มีความเข้ มแข็งในอนาคต
๔. ศึกษาเปรียบเทียบถึงบทบาทของกลไกสตรี เพือ่ นาไปสู่ การพัฒนาและส่ งเสริม
ต่ อไป
หลักการและแนวทางการจัดทาแผนปฏิบัติ
แผนพัฒนาสตรีและ
ยุทธศาสตร์ ด้านต่ างๆ
๒
๑
๓
แผนปฏิบตั ิการ ๕ ปี
ระบุหน่ วยงาน
ทีร่ ับผิดชอบ
แผนการพัฒนาประเด็นสตรีทเี่ กีย่ วข้ อง สาหรับกรม/กระทรวง
แผนการพัฒนาสาหรับกลุ่มเป้ าหมายที่ต้องให้ ความสนใจเป็ นพิเศษ
ทีส่ อดคล้องกับภารกิจหลักของกรม/กระทรวง
แผนการพัฒนาสตรีตามกลุ่มเป้ าหมายและสาระทีส่ อดคล้ องกับภารกิจหลัก
และภารกิจรองของกรม/กระทรวง
แผนการพัฒนาสตรีตามกลุ่มเป้าหมายและสาระทีส่ อดคล้ องกับ
ภารกิจหลักและภารกิจรองของกรม/กระทรวง
 ทบทวนบทบาทภารกิจของหน่วยงาน
 เลือกยุทธศาสตร์ ต่างๆ รวมถึงยุทธศาสตร์ ยอ่ งที่เกี่ยวข้อง
 บูรณาการแผนปฏิบตั ิที่หน่วยงานดาเนินงานอยูเ่ ป็ นประจาทุกปี
 ระบุสัดส่ วนงบประมาณ ระยะเวลา และแนวทางการพัฒนา


กระทรวงศึกษาธิการให้การศึกษาแก่กลุ่มหมายที่เป็ นสตรี เป็ นร้อยละเท่าไรต่อปี
กระทรวงแรงงานมีการดาเนินงานคุม้ ครองแรงงาน การส่ งเสริ มการพัฒนา
แรงงานที่เป็ นสตรี เป็ นสัดส่ วยเท่าใด
แผนการพัฒนาสาหรับกลุ่มเป้าหมายทีต่ ้ องให้ ความสนใจเป็ น
พิเศษที่สอดคล้ องกับภารกิจหลักของกรม/กระทรวง
 กลุ่มเป้าหมายเฉพาะสตรีหรือกลุ่มทีต่ ้ องให้ ความสนใจเป็ นพิเศษ ที่
เกีย่ วข้ องกับบทบาทภารกิจของกรม/กระทรวง
 แผนงานใหม่ ๆ ที่จาเป็ นทีย่ งั ไม่ มีการกาหนดในแผนงานหลักของ
หน่ วยงาน
แผนการพัฒนาประเด็นสตรีที่เกีย่ วข้ อง สาหรับกรม/กระทรวง
 การพัฒนาความรู้ความเข้ าใจและเพิม่ ศักยภาพของผู้บริหารและ
ผู้ปฏิบัติงานภายในของหน่ วยงาน
 การศึกษาและการกาหนดมาตรการ และมาตรฐานด้ าน Gender Equity
ในการทางานของหน่ วยงาน
 การสร้ างความเท่ าเทียมกันระหว่ างหญิงชายในหน่ วยงาน
 การป้ องกันแก้ ไขปัญหาการละเมิดสิ ทธิพน
ื้ ฐาน เช่ นปัญหา Sexual
Harassment ในหน่ วยงาน การมอบหมายหน้ าที่ ความเท่ าเทียมกันและ
การให้ โอกาส เป็ นต้ น
 การพัฒนาองค์ กรและกลไกการปฏิบัติงานต่ างๆ เช่ น การพัฒนาการ
ดาเนินงานของ CGEO การพัฒนาระบบฐานข้ อมูลแยกเพศ เป็ นต้ น
งานในกล่ ุมย่ อย
โปรดศึกษาและวิเคราะห์ แผนพัฒนาสตรีฯ
ระดมความคิดและสร้ างสรรค์ โครงการหรือ
กิจกรรม รวมถึงการประมาณการงบประมาณ
ระยะเวลา เพือ่ การพัฒนากลุ่มเป้ าหมายสตรีฯ
ตามบทบาทภารกิจหลักและภารกิจรอง
ของหน่ วยงาน