Transcript Lesson 1

ความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ทาให้มีการ
พัฒนาคิดค้นสิ่ งอานวยความสะดวกสบายต่อการดาชีวติ เป็ นอันมาก
เทคโนโลยีได้เข้ามาเสริ มปัจจัยพื้นฐานการดารงชีวติ ได้เป็ นอย่างดี
เทคโนโลยีทาให้การสร้างที่พกั อาศัยมีคุณภาพมาตรฐาน สามารถ
ผลิตสิ นค้าและให้บริ การต่าง ๆ เพื่อตอบสนองความต้องการของ
มนุษย์มากขึ้น เทคโนโลยีทาให้ระบบการผลิตสามารถผลิตสิ นค้า
ได้เป็ นจานวนมากมีราคาถูกลง สิ นค้าได้คุณภาพ เทคโนโลยีทาให้
มีการติดต่อสื่ อสารกันได้สะดวก การเดินทางเชื่อมโยงถึงกันทาให้
ประชากรในโลกติดต่อรับฟังข่าวสารกันได้ตลอดเวลา
เทคโนโลยีสารสนเทศกาลังเข้ามามีบทบาทต่อชีวติ ประจาวัน
สังเกตได้จากการนาคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลมาใช้ในสานักงาน การ
จัดทาระบบฐานข้อมูลขนาดใหญ่ การใช้อุปกรณ์อานวยความ
สะดวกที่ประกอบด้วยชิ้นส่ วนอิเล็กทรอนิกส์ แสดงว่า เทคโนโลยี
สารสนเทศและคอมพิวเตอร์ เพื่อการคานวณและเก็บข้อมูลได้แพร่
ไปทัว่ ทุกแห่ง เทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทสาคัญต่อการแข่งขัน
ด้านธุรกิจและการขยายตัวของบริ ษทั มีผลต่อการให้บริ การของ
องค์การและหน่วยงาน และมีผลต่อการประกอบกิจในแต่ละวัน
เทคโนโลยี หมายถึง การประยุกต์เอาความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์
มาใช้ให้เกิดประโยชน์ การศึกษาพัฒนาองค์ความรู้ต่าง ๆ ก็
เพื่อให้เข้าใจธรรมชาติ กฎเกณฑ์ของสิ่ งต่าง ๆ และหาทางนามา
ประยุกต์ให้เกิดประโยชน์ เทคโนโลยีจึงเป็ นค้าที่มีความหมาย
กว้างไกล เป็ นคาที่เราได้พบเห็นและได้ยนิ อยูต่ ลอดมา
สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลที่เป็ นเรื่ องเกี่ยวข้องกับความจริ งของ
คน สัตว์ สิ่ งของ ทั้งที่เป็ นรู ปธรรมและนามธรรม หากมีการ
จัดเก็บรวบรวม เรี ยกค้น และสื่ อสารระหว่างกัน นามาใช้ให้เกิด
ประโยชน์ได้
เทคโนโลยีสารสนเทศ (Infornation Technology : IT) หมายถึง
การนาเทคโนโลยีมาใช้สร้างข้อมูลเพิ่มให้กบั สารสนเทศ ทาให้
สารสนเทศมีประโยชน์และใช้งานได้กว้างขวางมากขึ้น
เทคโนโลยีสารสนเทศรวมไปถึงการใช้เทคโนโลยีดา้ นต่างๆ ที่
จะรวบรวม จัดเก็บใช้งาน ส่ งต่อ หรื อสื่ อสารระหว่างกัน
เทคโนโลยีสารสนเทศเกี่ยวข้องโดยตรงกับเครื่ องมือเครื่ องใช้
ในการจัดการสารสนเทศ ได้แก่ เครื่ องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์
รอบข้าง ขั้นตอนวิธีการดาเนินการซึ่งเกี่ยวข้องกับซอฟต์แวร์
เกี่ยวข้องกับตัวข้อมูล เกี่ยวกับบุคลากร เกี่ยวข้องกับกรรมวิธี
การดาเนินงานเพื่อให้ขอ้ มูลเกิดประโยชน์สูงสุ ด
1. เทคโนโลยีสารสนเทศ ทาให้สงั คมเปลี่ยนจากสังคม
อุตสาหกรรมมาเป็ นสังคมสารสนเทศ
2. เทคโนโลยีสารสนเทศทาให้ระบบเศรษฐกิจเปลี่ยนจากระบบ
แห่งชาติไปเป็ นเศรษฐกิจโลก ที่ทาให้ระบบเศรษฐกิจของโลก
ผูกพันกับทุกประเทศ ความเชื่อมโยงของเครื อข่ายสารสนเทศ
ทาให้เกิดสังคมโลกาภิวฒั น์
3. เทคโนโลยีสารสนเทศทาให้องค์กรมีลกั ษณะผูกพัน มีการบังคับ
บัญชาแบบแนวราบมากขึ้น หน่วยธุรกิจมีขนาดเล็กลง และ
เชื่อมโยงกันกับหน่วยธุรกิจอื่นเป็ นเครื อข่าย การดาเนินธุรกิจมี
การแข่งขันกันในด้านความเร็ ว โดยอาศัยการใช้ระบบเครื อข่าย
คอมพิวเตอร์ และการสื่ อสารโทรคมนาคมเป็ นตัวสนับสนุน
เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนข้อมูลได้ง่ายและรวดเร็ ว
4. เทคโนโลยีสารสนเทศเป็ นเทคโนโลยีแบบสุ นทรี ยสัมผัส และ
สามารถตอบสนองตามความต้องการการใช้เทคโนโลยีใน
รู ปแบบใหม่ที่เลือกได้เอง
5. เทคโนโลยีสารสนเทศทาให้เกิดสภาพทางการทางานแบบทุก
สถานที่และทุกเวลา
6. เทคโนโลยีสารสนเทศก่อให้เกิดการวางแผนการดาเนินการ
ระยะยาวขึ้น อีกทั้งยังทาให้วถิ ีการตัดสิ นใจ หรื อเลือกทางเลือก
ได้ละเอียดขึ้น
1. การสร้ างเสริมคุณภาพชีวติ ทีด่ ขี นึ้ สภาพความเป็ นอยูข่ องสังคมเมือง มี
การพัฒนาใช้ระบบสื่ อสารโทรคมนาคม เพื่อติดต่อ สื่ อสารให้สะดวก
ขึ้น มีการประยุกต์มาใช้กบั เครื่ องอานวยความสะดวกภายในบ้าน เช่น
ใช้ควบคุมเครื่ องปรับอากาศ ใช้ควมคุมระบบไฟฟ้ าภายในบ้าน เป็ นต้น
2. เสริมสร้ างความเท่ าเทียมในสั งคมและการกระจายโอกาส เทคโนโลยี
สารสนเทศทาให้เกิดการกระจายไปทัว่ ทุกหนแห่ง แม้แต่ถิ่นทุรกันดาร
ทาให้มีการกระจายโอการการเรี ยนรู ้ มีการใช้ระบบการเรี ยนการสอน
ทางไกล การกระจายการเรี ยนรู ้ไปยังถิ่นห่างไกล นอกจากนี้ในปั จจุบนั
มีความพยายามที่ใช้ระบบการรักษาพยาบาลผ่านเครื อข่ายสื่ อสาร
3. สารสนเทศกับการเรียนการสอนในโรงเรียน การเรี ยนการสอน
ในโรงเรี ยนมีการนาคอมพิวเตอร์และเครื่ องมือประกอบช่วยใน
การเรี ยนรู้ เช่น วีดิทศั น์ เครื่ องฉายภาพ คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน
คอมพิวเตอร์ ช่วยจัดการศึกษา จัดตารางสอน คานวณระดับ
คะแนน จัดชั้นเรี ยน ทารายงานเพื่อให้ผบู้ ริ หารได้ทราบถึง
ปัญหาและการแก้ปัญหาในโรงเรี ยน ปัจจุบนั มีการเรี ยนการ
สอนทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศในโรงเรี ยนมากขึ้น
4. เทคโนโลยีสารสนเทศกับสิ่ งแวดล้ อม การจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติหลายอย่างจาเป็ นต้องใช้สารสนเทศ เช่น
การดูแลรักษาป่ า จาเป็ นต้องใช้ขอ้ มูล มีการใช้ภาพถ่าย
ดาวเทียม การติดตามข้อมูลสภาพอากาศ การพยากรณ์อากาศ
การจาลองรู ปแบบสภาวะสิ่ งแวดล้อมเพื่อปรับปรุ งแก้ไข การ
เก็บรวมรวมข้อมูลคุณภาพน้ าในแม่น้ าต่าง ๆ การตรวจวัด
มลภาวะ ตลอดจนการใช้ระบบการตรวจวัดระยะไกลมาช่วย ที่
เรี ยกว่าโทรมาตร เป็ นต้น
5.เทคโนโลยีสารสนเทศกับการป้ องกันประเทศ กิจการทางด้าน
การทหารมีการใช้เทคโนโลยี อาวุธยุทโธปกรณ์สมัยใหม่ลว้ น
แต่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์และระบบควบคุม มีการใช้ระบบ
ป้ องกันภัย ระบบเฝ้ าระวังที่มีคอมพิวเตอร์ควบคุมการทางาน
6.การผลิตในอุตสาหกรรม และการพาณิชยกรรม การแข่งขัน
ทางด้านการผลิตสิ นค้าอุตสาหกรรมจาเป็ นต้องหาวิธีการในการ
ผลิตให้ได้มาก ราคาถูกลงเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เข้ามามี
บทบาทมาก มีการใช้ขอ้ มูลข่าวสารเพื่อการบริ หารและการ
จัดการ การดาเนินการและยังรวมไปถึงการให้บริ การกับลูกค้า
เพื่อให้ซ้ื อสิ นค้าได้สะดวกขึ้น
1. เครื่ องมือและอุปกรณ์ต่างๆ เช่น เครื่ องคอมพิวเตอร์ เครื่ องใช้
สานักงาน อุปกรณ์สื่อสารโทรคมนาคมต่างๆ รวมทั้ง
ซอฟท์แวร์ท้ งั แบบสาเร็ จรู ปและแบบพัฒนาขึ้นเพื่อใช้ในงาน
เฉพาะด้าน ซึ่ งเครื่ องมือเหล่านี้จดั เป็ นเครื่ องมือทันสมัย และใช้
เทคโนโลยีระดับสูง (High Technology)
2. กระบวนการในการนาอุปกรณ์เครื่ องมือต่างๆ ข้างต้นมาใช้งาน
เพื่อรวบรวม จัดเก็บ ประมวลผล และแสดงผลลัพธ์เป็ น
สารสนเทศในรู ปแบบต่างๆ ที่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้
ต่อไป เช่น การจัดเก็บข้อมูลในลักษณะของฐานข้อมูล เป็ นต้
ประเภทของคอมพิวเตอร์
1) ไมโครคอมพิวเตอร์ (micro computer)
2) มินิคอมพิวเตอร์ (mini computer)
3) เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (mainframe computer)
4) ซูปเปอร์คอมพิวเตอร์หรื อคอมพิวเตอร์ประสิ ทธิภาพสู ง
(super computer)
1) ไมโครคอมพิวเตอร์ (micro computer)
เป็ นเครื่ องคอมพิวเตอร์ ที่มีขนาดเล็ก บางคนเห็นว่าเป็ นเครื่ อง
คอมพิวเตอร์ ที่ใช้งานส่ วนบุคคล หรื ดเรี ยกว่า พีซี (Personal
computer: PC) สามารถใช้เป็ นเครื่ องต่อเชื่อมในเครื อข่าย หรื อ
ใช้เป็ นเครื่ องปลายทาง (terminal) ซึ่งจะทาหน้าที่เป็ นเพียง
อุปกรณ์รับและแสดงผลสาหรับป้ อนข้อมูลและดูผลลัพธ์
ชนิดของไมโครคอมพิวเตอร์
1. คอมพิวเตอร์ แบบตั้งโต๊ ะ (desktop computer)
เป็ นไมโครคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กถูกออกแบบ
มาให้ต้ งั บนโต๊ะ มีการแยกชิ้นส่ วนประกอบเป็ น
ซีพียู จอภาพ และแผงแป้ งอักขระ
2. เครื่ องคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก หรื อ Notebook Computer หรื อ
Laptop Computer เป็ นไมโครคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่วางใช้
งาน บนตักได้ จอภาพที่ใช้เป็ นแบบแบนราบ
ชนิดจอภาพผนึกเหลว (Liquid Crystal Display :
LCD) น้ าหนักของเครื่ องประมาณ 3-8 กิโลกรัม
ชนิดของไมโครคอมพิวเตอร์
3. เครื่ องคอมพิวเตอร์ขนาดฝ่ ามือ หรื อ Handheld Personal
Computers (H/PCs) เช่น PDAs - Personal Digital Assistants ,
Palmtop
2) มินิคอมพิวเตอร์ (mini computer)
- มินิคอมพิวเตอร์เป็ นเครื่ องที่สามารถใช้งานพร้อม ๆ กันได้
หลายคน จึงมีเครื่ องปลายทางต่อได้
- มินิคอมพิวเตอร์ เป็ นคอมพิวเตอร์ที่มีราคาสูงกว่า
ไมโครคอมพิวเตอร์
- นามาใช้สาหรับประมวลผลในงานสารสนเทศ
ขององค์การขนาดกลาง จนถึงองค์ขนาดใหญ่
ที่มีการวางระบบเป็ นเครื อข่ายเพื่อใช้งานร่ วมกัน เช่น งาน
บัญชีและการเงิน งานออกแบบทางวิศวกรรม งานควบคุมการ
ผลิตในโรงงาน
3) เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (mainframe computer)
- เมนเฟรมคอมพิวเตอร์เป็ นเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ทม่ี กี ารพัฒนา
มาตัง้ แต่เริ่มแรก เหตุทเ่ี รียกว่า เมนเฟรมคอมพิวเตอร์เพราะตัวเครื่อง
ประกอบด้วยตูข้ นาดใหญ่ทภ่ี ายในตูม้ ชี ้ นิ ส่วนและอุปกรณ์ต่าง ๆ อยู่
เป็ นจานวนมาก แต่อย่างไรก็ตามในปัจจุบนั เมนเฟรมคอมพิวเตอร์มี
ขนาดลดลงมาก
- เมนเฟรมเป็ นเครื่องคอมพิวเตอร์ทม่ี รี าคาสูงมาก มักอยู่ท่ศี ูนย์
คอมพิวเตอร์หลักขององค์การ และต้องอยู่ในห้องทีม่ กี ารควบคุม
อุณหภูมแิ ละมีการดูแลรักษาเป็ นอย่างดี
3) เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (mainframe computer)
- ปัจจุบนั เมนเฟรมได้รบั ความนิยมน้อยลง ทัง้ นี้เพราะเครื่องคอมพิวเตอร์
ขนาดเล็กมีประสิทธิภาพและความสามารถสูงขึ้น ราคาถูกลง
ขณะเดียวกันระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ก็ดขี ้นึ จนทาให้การใช้งานบน
เครือข่ายกระทาได้เหมือนการใช้งานบนเมนเฟรม
4) ซุปเปอร์ คอมพิวเตอร์ (super computer)
- ซูเปอร์ คอมพิวเตอร์ เป็ นเครื่ องคอมพิวเตอร์ที่เหมาะกับงาน
คานวณที่ตอ้ งมีการคานวณตัวเลขจานวนหลายล้านตัวภายใน
เวลาอันรวดเร็ ว เช่น งานพยากรณ์อากาศ ที่ตอ้ งนาข้อมูลต่าง ๆ
เกี่ยวกับอากาศทั้งระดับภาคพื้นดิน และระดับชึ้นบรรยากาศ
เพื่อดูการเคลื่อนไหวและการเปลี่ยนแปลงของอากาศ
- งานอีกเป็ นจานวนมากที่ตอ้ งใช้ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ซ่ ึ งมีความเร็ ว
สูง เช่น งานควบคุมขีปนาวุะ งานควบคุมทางอวกาศ งาน
ประมวลผลภาพทางการแพทย์ งานด้านวิทยาศาสตร์ โดยเฉพาะ
ทางด้านเคมี เภสัชวิทยา และงานด้านวิศวกรรมการออกแบบ
-
4) ซุปเปอร์ คอมพิวเตอร์ (super computer)
ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ทางานได้เร็ ว และมีประสิ ทธิภาพสู งกว่า
คอมพิวเตอร์ชนิดอื่น การที่ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ทางานได้เร็ ว
เพราะมีการพัฒนาให้มีโครงสร้างการคานวณพิเศษ เช่นการ
คานวณแบบขนานที่เรี ยกว่าเอ็มพีพี (Massively Parallel
Processing : MPP) ซึ่งเป็ นการคานวณที่กระทากับข้อมูลหลาย
ๆ ตัวในเวลาเดียวกัน
ประกอบด้วย 4 ส่ วน
1. ส่ วนรับข้อมูล (Input Unit)
2. ส่ วนประมวลผลข้อมูล (Central Processing Unit)
3. ส่ วนแสดงผล (Output Unit)
4. หน่วยความจา (Memory Unit)
1. ส่ วนรับข้ อมูล (Input Unit)
ทาหน้าที่รับข้อมูลจากผูใ้ ช้เข้าสู่หน่วยความจาหลัก ปัจจุบนั
อุปกรณ์มากมายแบ่งเป็ นประเภทต่างๆ ได้ดงั นี้
- Keyboard (คีย์บอร์ ด)
- Mouse (เมาส์ )
- Scanner (สแกนเนอร์ )
- Webcam (เว็บแคม)
- Microphone (ไมโครโฟน)
- Touch screen (ทัชสกรีน)
2. ส่ วนประมวลผลข้ อมูล (Central Processing Unit)
หน่วยประมวลผลกลาง หรื อ ซีพียู เรี ยกอีกชื่อหนึ่งว่าโปรเซสเซอร์
(Processor) หรื อ ชิป (chip) นับเป็ นอุปกรณ์ ที่มีความสาคัญมาก
ที่สุดของฮาร์ดแวร์ เพราะมีหน้าที่ในการประมวลผลข้อมูลที่ผใู้ ช้
ป้ อนเข้ามาทางอุปกรณ์อินพุต ตามชุดคาสัง่ หรื อโปรแกรมที่ผใู้ ช้
ต้องการใช้งาน ส่ วนประกอบของหน่วยประมวลผลกลางนั้น
ประกอบไปด้วย
1. หน่วยคานวณ และตรรกะ (Arithmetic & Logical Unit : ALU)
2. หน่วยควบคุม (Control Unit)
3. หน่วยความจาหลัก (Main Memory)
3. ส่ วนแสดงผล (Output Unit)
หน่วยแสดงผล (Output Unit) ทาหน้าที่แสดงผลลัพธ์จาก
คอมพิวเตอร์ แบ่งเป็ น
- จอภาพ (Monitor)
- อุปกรณ์ฉายภาพ (Projector)
- อุปกรณ์เสี ยง (Audio Output)
- เครื่ องพิมพ์ (Printer)
- เครื่ องพลอตเตอร์ (Plotter)
4. หน่ วยความจา (Memory Unit)
หน่วยความจา (Memory Unit) ทาหน้าที่เก็บโปรแกรมหรื อข้อมูล
ที่รับมาจากหน่วยรับข้อมูล เพื่อเตรี ยมส่ งออกหน่วยประมวลผล
กลางทาการประมวลผล และรับผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล
และเตรี ยมส่ งออกหน่วยแสดงผลข้อมูลต่อไป ซึ่งหน่วยความจา
ของคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็ น 2 ประเภทหลักๆ ดังนี้
1. หน่วยความจาหลัก (Main Memory Unit)
2. หน่วยเก็บข้อมูลสารอง (Secondary Storage Unit)
1. หน่ วยความจาหลัก (Main Memory Unit)
เป็ นอุปกรณ์ที่ใช้ในการจดจาข้อมูล และโปรแกรมต่าง ๆ ที่อยู่
ระหว่างการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ บางครั้งอาจเรี ยกว่า
หน่วยเก็บข้อมูลหลัก (Primary storage) สามารถแบ่งออกได้เป็ น 2
ประเภท
1) หน่วยความจาหลักแบบอ่านได้อย่างเดียว
(Read Only Memory - ROM)
2) หน่วยความจาหลักแบบแก้ไขได้
(Random Access Memory - RAM)
2. หน่ วยเก็บข้ อมูลสารอง (Secondary Storage Unit)
สามารถแบ่งออกได้เป็ นประเภทใหญ่ ๆ ได้ 4 ประเภท ดังนี้
1) แบบจานแม่ เหล็ก เป็ นอุปกรณ์สารองข้อมูลที่เป็ นลักษณะของ
จานแม่เหล็กสาหรับบันทึกข้อมูลไว้ภายใน Disk ได้รับความนิยม
และใช้งานมานานพอสมควรซึ่งเป็ น ส่ วนประกอบของ
คอมพิวเตอร์ ที่ใช้หลักๆ เลยในปัจจุบนั ยกตัวอย่างเช่น ฮาร์ดดิสก์
2) แบบแสง เป็ นสือ่ เก็บข้อมูลสารองทีไ่ ด้รบั ความนิยมมากในปัจจุบนั
โดยใช้หลักการทางานของแสง การจัดการข้อมูลจะคล ้ายกับแผ่นจาน
แม่เหล็ก ต่างกันทีก่ ารแบ่งจะเป็ นรูปก้นหอย และเริ่มเก็บบันทึกข้อมูลจาก
ส่วนด้านในออกมาด้านนอก ทีเ่ ป็ นทีน่ ิยมและรูจ้ กั กันดี เช่น CD ,
DVD
3) แบบเทป เป็ นสื่ อเก็บข้อมูลที่สามารถเก็บข้อมูลได้เป็ นจานวน
มากและเข้าถึงข้อมูลแบบเรี ยงลาดับต่อเนื่องกันไป มีการผลิตขึ้นมา
หลากหลายขนาดแตกต่างกันไป เช่น DAT และ QIC เป็ นต้น
ปั จจุบนั ไม่ค่อยถือเป็ น ส่ วนประกอบของคอมพิวเตอร์
4) แบบอืน่ ๆ เป็ นสื่ อเก็บข้อมูลแบบใหม่ที่พบได้ทวั่ ไปในปัจจุบนั
มีชื่อเรี ยกแตกต่างกันไป เช่น Flash Drive, Thumb Drive , Handy
Drive เป็ นต้น อีกชนิดคือ Memory Card เพื่อใช้เก็บข้อมูลในกล้อง
ดิจิตอลแบบพกพา
แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท
1. ชุดคาสัง่ สาหรับระบบ (System Software)
2. ชุดคาสัง่ ประยุกต์ (Application Software)
ซอฟต์แวร์
ซอฟต์แวร์ระบบ
ระบบปฏิบตั ิการ
ตัวแปลภาษา
ซอฟต์แวร์ประยุกต์
สาเร็จ
เฉพาะ
1. ชุดคาสัง่ สาหรับระบบ (System Software)
เป็ นชุดคาสัง่ ที่ทาหน้าที่ควบคุมและดูแลการทางานของระบบ
คอมพิวเตอร์ ให้เป็ นไปอย่างเรี ยบร้อย เช่น DOS, WindowsXP,
Window s7, UNIX เป็ นต้น
หน้าที่หลักของชุดคาสัง่ สาหรับระบบประกอบด้วย
1.ใช้ในการจัดการหน่วยรับเข้าและหน่วยส่ งออก เช่น รับการกดแป้ น
ต่าง ๆ บนแผงแป้ นอักขระ ส่ งรหัสตัวอักษรออกทางจอภาพหรื อ
เครื่ องพิมพ์ ติดต่อกับอุปกรณ์รับเข้า และส่ งออกอื่น ๆ เช่น เมาส์
อุปกรณ์สงั เคราะห์เสี ยง
2.ใช้ในการจัดการหน่วยความจา เพื่อนาข้อมูลจากแผ่นบันทึกมาบรรจุ
ยังหน่วยความจาหลัก หรื อในทานองกลับกัน คือนาข้อมูลจาก
หน่วยความจาหลักมาเก็บไว้ในแผ่นบันทึก
3.ใช้เป็ นตัวเชื่อมต่อระหว่างผูใ้ ช้งานกับคอมพิวเตอร์ สามารถใช้งานได้
ง่ายขึ้น เช่น การขอดูรายการสารระบบในแผ่นบันทึก การทาสาเนา
แฟ้ มข้อมูล
2. ชุดคาสัง่ ประยุกต์ (Application Software) เป็ นชุดคาสัง่ ที่เขียน
ขึ้นเพื่อใช้ให้คอมพิวเตอร์ทาการประมวลผลตามที่ผใู้ ช้ตอ้ งการ
โดยชุดคาสัง่ ประยุกต์อาจจะเป็ นโปรแกรมสาเร็ จรู ป หรื อผูใ้ ช้
อาจจะพัฒนาขึ้นเองจากภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษาหนึ่ ง
แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท คือ
1. ซอฟต์แวร์สาเร็ จ
2. ซอฟต์แวร์ที่พฒั นาขึ้นใช้งานเฉพาะ
ซอฟต์ แวร์ ประยุกต์
ซอฟต์แวร์สาเร็ จ เป็ นซอฟต์แวร์ที่บริ ษทั พัฒนาขึ้น
แล้วนาออกมาจาหน่ายเพื่อให้ผใู้ ช้งานซื้ อไปใช้งาน
ได้โดยตรง โดยมีจาหน่ายในท้องตลาดทัว่ ไป มี 5
กลุ่มใหญ่ ได้แก่
1. ซอฟต์แวร์ประมวลผลคา
2. ซอฟต์แวร์ตารางทางาน
3. ซอฟต์แวร์จดั การฐานข้อมูล
4. ซอฟต์แวร์นาเสนอ
5. ซอฟต์แวร์สื่อสารข้อมูล
ซอฟต์ แวร์ ประยุกต์
- ซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะ เป็ นซอฟต์แวร์ที่ถูกผลิตขึ้น
เพื่อใช้งานเฉพาะสาหรับงานแต่ละประเภทให้ตรง
กับความต้องการของผูใ้ ช้แต่ละราย
- ซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะมักเป็ นซอฟต์แวร์ที่ผพู้ ฒั นา
ต้องเข้าไปศึกษารู ปแบบการทางานหรื อความ
ต้องการของธุรกิจนั้นๆ แล้วจัดทาขึ้น เช่น
ระบบงานทางด้านบัญชี ระบบงานจัดจาหน่าย เป็ น
ต้น
- หมายถึงภาษาใดๆ ที่ผใู้ ช้งานใช้สื่อสารกับคอมพิวเตอร์ หรื อ
คอมพิวเตอร์ดว้ ยกัน แล้วคอมพิวเตอร์สามารถทางานตามคาสั่ง
นั้นได้ คานี้มกั ใช้เรี ยกแทนภาษาโปรแกรม แต่ความเป็ นจริ ง
ภาษาโปรแกรมคือส่ วนหนึ่งของภาษาคอมพิวเตอร์ เท่านั้น และ
มีภาษาอื่นๆ ที่เป็ นภาษาคอมพิวเตอร์เช่นกัน
- ภาษาคอมพิวเตอร์ สามารถแบ่งออกเป็ นสองกลุ่มคือ ภาษา
ระดับสูง (high level language) และภาษาระดับต่า (low level
language)
1. ภาษาระดับสู ง (high level language)
เป็ นภาษาที่ใกล้เคียงภาษามนุษย์ในยุคแรกที่ได้รับการพัฒนาขึ้น
โดยมีการเปลี่ยนรหัสของภาษาเครื่ องมาเป็ นตัวอักษร
ภาษาระดับต่ามีอยูเ่ พียงภาษาเดียวคือ ภาษาแอสแซมบี (Assembly
Lanuage)
2. ภาษาระดับต่า (low level language)
เป็ นภาษาที่ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อช่วยให้ผใู้ ช้สามารถใช้งานได้อย่าง
สะดวก โดยไม่จาเป็ นที่จะต้องรู้รายระเอียดและขั้นตอนการทางาน
ของเครื่ องคอมพิวเตอร์มากนัก
ยุคของภาษาคอมพิวเตอร์
ยุคที่ 1 : ภาษาเครื่ อง (Machine Language)
ยุคที่ 2 : ภาษาสัญลักษณ์ (Symbolic Language)
ยุคที่ 3 : ภาษาระดับสูง (High Level Language)
- ภาษายุคที่ 3 (3GL- Fourth General Language)
- ภาษายุคที่ 4 (4GL- Fourth General Language)
- ภาษายุคที่ 5 (5GL- Fourth General Language)
ภาษายุคที่ 3
- เป็ นภาษาแรกที่มีใช้คาสัง่ คล้ายกับประโยคในภาษาอังกฤษ
ทาให้ใช้งานง่ายกว่าภาษาในยุคก่อน
- มีคุณสมบัติ portable ทาให้สามารถนา object code ที่สร้าง
(compile) จากระบบหนึ่งไปใช้ระบบที่ต่างกันได้
ภาษาที่อยูใ่ นกลุ่มนี้ ได้แก่
FORTAN
COBOL
BASIC
Pascal
C
C++
Java
ActiveX
42
ภาษายุคที่ 4
- เป็ นภาษาเหมาะกับงานเฉพาะด้านและใช้งานง่ายกว่า 3GL
ใช้ลกั ษณะ text-based environment (คล้าย 3GL)
- โปรแกรมเมอร์ สามารถใช้ visual environment ได้โดยใช้
เครื่ องมือทางด้านกราฟิ ก ทาให้สร้าง Prototype หรื อ GUI
ของโปรแกรมได้รวดเร็ ว
- ส่ วนใหญ่เป็ นโปรแกรมที่รวบรวมการจัดการฐานข้อมูลด้วย
ภาษาที่อยูใ่ นกลุ่มนี้ ได้แก่
• Visual Basic (VB)
• C++
• Java
43
ข้อดี
ภาษายุคที่ 4
1. เป็ นภาษาที่ง่ายต่อการศึกษาและทาความเข้าใจ
2. เป็ นภาษาที่ถูกพัฒนาขึ้นสาหรับผูใ้ ช้
3. เหมาะกับงานทางด้านฐานข้อมูลและงานทางธุรกิจ
4. ใช้ชุดคาสัง่ ในการสัง่ งานที่นอ้ ยกว่าภาษาคอมพิวเตอร์
แบบเดิม
5. ใช้ภาษาที่ง่ายและใกล้เคียงกับภาษาอังกฤษ
6. ลดขั้นตอนและระยะเวลาในการทางานลง
44
ภาษายุคที่ 4
ประเภทของการนาภาษา 4GL ไปใช้
1. การออกรายงาน (Report Generators)
2. การแก้ไขและการปรับปรุ งภาษา (Retrieval and update )
3. เครื่ องสนับสนุนการตัดสิ นใจ (Decision Support Tool)
4. การวาดลายเส้น (Graphic Generators)
5. ชุดคาสังสาหรับการใช้งาน (Application Packages)
6. การกระตุน้ การใช้งาน (Application Generators)
45
ภาษายุคที่ 5
- เป็ นภาษาที่รวมเอาปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence)
และระบบผูเ้ ชี่ยวชาญ (Expert Systems) มาใช้ในการสร้าง
โปรแกรม ซึ่งทาได้ยาก
- ระบบจะสนใจที่จะคิดและมีส่วนร่ วมในการตัดสิ นใจของ
ผูใ้ ช้อาจเป็ นการหาคาตอบที่เหมาะสาหรับคาถามที่ผใู้ ช้ป้อน
และคาตอบที่ได้จะเหมือนกับเป็ นคาตอบจากมนุษย์
ยังเป็ นที่ถกเถียงกันในหมู่โปรแกรมเมอร์วา่ มีอยูห่ รื อไม่
46
เนื่องจากเทคโนโลยีของคอมพิวเตอร์กา้ วหน้าไปมาก ทา
ให้เกิดระบบการสื่ อสารใหม่ออกมาตลอดเวลา ผูท้ างานใน
สานักงานจึงมีโอกาสเลือกใช้วธิ ีการติดต่อสื่ อสาร ปัจจัยสาคัญ
ซึ่งใช้ในการพิจารณาเลือกระบบสื่ อสารให้สามารถนามาใช้งาน
ได้ดีมีดงั นี้
1. กลุ่มผู้ใช้ ระบบสื่ อสารควรมีจานวนมากพอ ระบบสื่ อสารนั้น
จะไม่มีประโยชน์หรื อใช้งานน้อยถ้ามีกลุ่มผูใ้ ช้งานน้อย เพราะ
จะทาให้การกระจายข้อมูลทาได้ไม่กว้างขวาง
2. การเข้ ากันได้ ระหว่ างระบบสื่ อสารกับงานของ
สานักงาน ระบบสื่ อสารนั้นควรมีรูปแบบเหมือนหรื อเข้ากันได้
กับงานที่ดาเนินการอยู่ หากต้องมีการเปลี่ยนรู ปแบบของข้อมูล
เพื่อเข้ากับระบบสื่ อสาร หรื อข้อมูลที่ได้รับจากระบบสื่ อสารไม่
สามารถใช้กบั งานเดิมได้ จะทาให้เกิดความไม่สะดวก
ปราศจากความปลอดภัยและความเชื่อถือได้ในการ
ติดต่อสื่ อสาร
3. ความสมเหตุสมผลทางราคา ระบบสื่ อสารต่าง ๆ จะต้องมี
ค่าใช้จ่ายประกอบด้วยเสมอ ซึ่งค่าใช้จ่ายนี้จะต้องอยูใ่ นวิสยั ที่
สามารถลงทุนได้และต้องคุม้ ค่ากับราคา
ปัจจัยทั้งสามเป็ นข้อพิจารณาในการเลือกใช้ระบบสื่ อสาร เพื่อ
ทาให้งานในสานักงานมีประสิ ทธิภาพสูงสุ ด การนา
คอมพิวเตอร์ เข้ามาช่วยระบบสื่ อสารก็จะทาให้ระบบงานลด
ความซับซ้อนลงได้ ระบบการสื่ อสารที่น่าสนใจจะเป็ นการส่ ง
ข้อมูลหรื อข้อความด้วยคอมพิวเตอร์ ที่เรี ยกว่า ไปรษณี ย ์
อิเล็กทรอนิกส์
- ในช่วงระยะเวลาเพียง 20 ปี ที่ผา่ นมา พบว่าพัฒนาการเทคโนโลยี
อิเล็กทรอนิกส์คอมพิวเตอร์และการสื่ อสารส่ งผลต่อการ
เปลี่ยนแปลงสังคมและสภาพความเป็ นอยูข่ องมนุษย์ และทาให้โลก
พัฒนาเข้าสู่ ยคุ ของสารสนเทศ ปัจจุบนั ไม่วา่ จะอยูท่ ี่ส่วนใดของโลก
ก็สามารถติดต่อโทรศัพท์พดู คุยกันได้เสมือนว่าอยูใ่ กล้กนั
- พัฒนาการของการสื่ อสารกาลังทาให้วธิ ี การทางานบางอย่างของ
มนุษย์เปลี่ยนแปลงไป มีการใช้ขอ้ มูลมากขึ้น การแลกเปลี่ยนข้อมูล
ทาได้อย่างรวดเร็ ว ด้วยเหตุน้ ีเองธุรกิจที่แข่งขันจาเป็ นต้องใช้ขอ้ มูล
เป็ นจานวนมาก เพื่อการตัดสิ นใจ และเพื่อให้บริ การด้วยความ
สะดวกและรวดเร็ ว
- ยุคของสารสนเทศได้กา้ วหน้าและเป็ นจริ งเป็ นจังมากขึ้น มี
การใช้บตั รเอทีเอ็ม บัตรเครดิต การสื่ อสารผ่านกระดานข่าว
ไปรษณี ยอ์ ิเล็กทรอนิกส์ และอื่น ๆ นอกจากนี้ยงั ได้ยนิ คาว่า
ระบบสานักงานอัตโนมัติ ระบบอาคารอัฉริ ยะ
- หากพิจารณาอย่างลึกซึ้ง จะพบว่า ความสาเร็ จของเทคโนโลยี
ทางด้านสารสนเทศเกือบทุกประเภท มีพ้นื ฐานมาจาก
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และการสื่ อสารข้อมูล จนมีผกู้ ล่าวว่า
ยุคสารสนเทศในปัจจุบนั ฝากไว้กบั เทคโนโลยีซีแอนซี
(Computer and Communication : C&C)
1. การสื่ อสารข้ อมูล : ความจาเป็ นของธุรกิจในปัจจุบัน
ภายในสานักงานธุรกิจในปัจจุบนั ต้องมีอุปกรณ์สื่อสารหลาย
อย่างประกอบกันเริ่ มที่ระบบโทรศัพท์การสื่ อสารด้วยเสี ยงผ่าน
ชุมสายโทรศัพท์กลาง หรื อภายในสานักงานมีตชู้ ุมสาย
โทรศัพท์ขนาดเล็ก ที่เรี ยกว่า พีเอบีเอกซ์ (PABX) การสื่ อสาร
ด้านสายโทรศัพท์ยงั รวมไปถึงการใช้กบั เครื่ องโทรสาร หรื อ
สื่ อสารข้อมูลผ่านโมเด็ม มีเทเลกซ์ไว้ส่งข้อมูลตัวอักษรระหว่าง
กัน มีระบบเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เป็ นเครื อข่ายภาย
2. ระบบสานักงานอัตโนมัติกบั เครือข่ ายคอมพิวเตอร์
เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ คือ การนาเอาคอมพิวเตอร์หลาย ๆ เครื่ อง
ต่อเชื่อมโยงให้มีการสื่ อสารข้อมูลระหว่างกัน เหตุผลของการ
เชื่อมโยงเครื อข่ายคอมพิวเตอร์เข้าหากันเนื่องจากราคาของ
คอมพิวเตอร์ถูกลง และมีความต้องการเพิ่มขีดความสามารถ
ของระบบโดยรวมเพราะอุปกรณ์คอมพิวเตอร์เพียงอย่างเดียวก็
ทางานได้ในตัวเองอย่างหนึ่ง แต่เมื่อต่อรวมกันจะทางานได้
เพิ่มขึ้นและสามารถใช้ทรัพยากรร่ วมกันและแลกเปลี่ยนข้อมูล
ระหว่างกัน ทาให้เกิดความสะดวกสบายในการใช้งาน และมี
ความรวดเร็ วเพิ่มขึ้น
3. อุปกรณ์ สานักงานทีเ่ ชื่อมต่ อเป็ นเครือข่ าย
ในสานักงานที่ใช้ระบบคอมพิวเตอร์ มีอุปกรณ์สานักงานช่วย
อานวยความสะดวกมากมาย มีโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ช่วยใน
งานพิมพ์ เรี ยกว่าการประมวลคำ มีการใช้คอมพิวเตอร์ ช่วยใน
การคิดคานวณและประมวลผลเก็บข้อมูลลงสื่ อตัวกลาง เช่น
ฮาร์ดดิสก์ ข้อมูลที่จดั เก็บสามารถเรี ยกคืนมาใช้สรุ ปผล สร้าง
รายงาน ทากราฟ การส่ งข้อมูลข่าวสารระหว่างกันก็ทาใน
รู ปการสื่ อสารข้อมูล อุปกรณ์สานักงานเหล่านี้ ได้แก่ โทรศัพท์
โทรสาร คอมพิวเตอร์ เครื่ องพิมพ์
1. เทคโนโลยีสารสนเทศมีความสาคัญกับธุรกิจในปัจจุบนั
อย่ างไร
2. คอมพิวเตอร์ มีกปี่ ระเภท อะไรบ้ าง อธิบายแต่ ละประเภท
3. จงอธิบายส่ วนประกอบของคอมพิวเตอร์
4. Software มีกชี่ นิด อะไรบ้ าง อธิบาย
5. จงอธิบายข้ อมูลเกีย่ วกับภาษายุคที่ 4
6. เทคโนโลยีการสื่ อสารข้ อมูลมีความเกีย่ วข้ องกับธุรกิจใน
ปัจจุบันอย่ างไร