comprojectT - โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา

Download Report

Transcript comprojectT - โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา

ส่ วน ประกอบ ของ
คอมพิวเตอร์
ส่ วนรับข้ อมูล (Input)
เป็ นอุปกรณ์ รับเข้ า ทาหน้ าทีร่ ับโปรแกรมและข้ อมูลเข้ าสู่ เครื่องคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์ รับเข้ าทีใ่ ช้ กนั เป็ นส่ วนใหญ่ คอื แผงแป้นอักขระ และเมาส์
คีย์บอร์ ด(Keyboard)
เป็ นอุปกรณ์ รับเข้ าพืน้ ฐานทีต่ ้ องมีในคอมพิวเตอร์ ทุกเครื่อง จะรับข้ อมูลจาก
การกดแป้นแล้วทาการเปลีย่ นเป็ นรหัสเพือ่ ส่ งต่ อไปให้ กบั คอมพิวเตอร์
แป้นพิมพ์ทใี่ ช้ ในการป้อนข้ อมูลจะมีจานวนตั้งแต่ 50 แป้นขึน้ ไป แผงแป้น
อักขระ ส่ วนใหญ่ มีแป้นตัวเลขแยกไว้ ต่างหาก
เมาส์ (Mouse)
ซอฟต์ แวร์ รุ่นใหม่ ทพี่ ฒ
ั นาในระยะหลัง ๆ นี้ สามารถติดต่ อกับผู้ใช้ โดยการใช้
รูปกราฟิ กแทนคาสั่ ง มีการใช้ งานเป็ นช่ วงหน้ าต่ าง และเลือกรายการหรือคาสั่ ง
ด้ วยภาพ หรือสั ญรูป (icon)
อุปกรณ์ รับเข้ าทีน่ ิยมใช้ จึงเป็ นอุปกรณ์ ประเภทตัวชี้ทเี่ รียกว่ า เมาส์
เป็ นอุปกรณ์ ทชี่ ่ วยให้ การใช้ งานง่ ายขึน้ ด้ วยการใช้ เมาส์
เลือ่ นตัวชี้ไปยังตาแหน่ งต่ าง ๆ
สแกนเนอร์ (Scanner)
สแกนเนอร์ คืออุปกรณ์ ซึ่งจับภาพและเปลีย่ นแปลงภาพจากรูปแบบของ
แอนาลอกเป็ นดิจิตอลซึ่งคอมพิวเตอร์ สามารถแสดง, เรียบเรียง, เก็บรักษา
และผลิตออกมาได้ ภาพนั้นอาจจะเป็ นรูปถ่ าย, ข้ อความ, ภาพวาด หรือ
แม้ แต่ วตั ถุสามมิติ สามารถใช้ สแกนเนอร์ ทางานต่ างๆได้
ส่วนควบคุมกลาง
ส่ วนควบคุมกลางหรื อ ซีพียู (central processing unit; CPU)
ของระบบคอมพิวเตอร์เป็ นส่ วนประมวลผลข้อมูลของคอมพิวเตอร์
ที่ได้รับมาจากส่ วนรับข้อมูล
ส่ วนประกอบภายในเครื่องคอมพิวเตอร์
ซีพยี ู หรือ หน่ วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit)
เปรียบเสมือนสมองของคอมพิวเตอร์ ความเร็วของ
CPU หน่ วยวัดความเร็วเป็ นเมกะเฮิรตซ์ (MHz)
แบ่ งตามตลาดคอมพิวเตอร์ ได้ 3 ระดับดังนี้
ซีพยี ู ไซริกซ์
ซีพยี ู Celeron,เอเอ็มดี K6-III
ซีพยี ู Pentium II,III,ThunderBird ของ เอเอ็มดี
การทางานของคอมพิ์ว์ เตอร์ ใช้หลักการเก็บคาสัง่ ไว้ที่หน่วยความจา
ซีพียอู ่านคาสัง่ จากหน่วยความจามาแปลความหมายหน้าที่หลักของซีพียู
คือควบคุมการทางานของคอมพิวเตอร์ท้ งั ระบบ ตลอดจนทาการประมวลผล
กลไกการทางานของซีพยี ู มีความสลับซับซ้ อน โดยแบ่ งการทางาน
เป็ นส่ วน ๆ มีการทางานแบบขนาน และทางานเหลือ่ มกัน
เพือ่ ให้ ทางานได้ เร็วขึน้
ฮาร์ ดดิสก์
(Harddisk Disk Drive)
เป็ นที่เก็บข้อมูลทุกอย่าง เช่น ระบบปฏิบตั ิการ โปรแกรมต่างๆ มีหน่วย
วัดเป็ นในปัจจุบนั ใช้มาตรฐานอินเตอร์เฟส มีความเร็ วในการส่ งผ่านข้อมูล
สูงสุ ด 66 MBต่อวินาที เป็ นหน่ วยความจาถาวร เมื่อเราปิ ดเครื่อง ข้ อมูลใน
HARDDISK จะไม่ สูญหาย
ฮาร์ ดดิสก์ ส่ วนใหญ่ จะประกอบด้ วยแผ่ นจานแม่ เหล็ก(platters)
สองแผ่ นหรือมากกว่ ามาจัดเรียงอยู่บนแกนเดียวกันเรียก Spindle
ทาให้ แผ่ นแม่ เหล็กหมุนไปพร้ แต่
อมลๆะหน้
กัน าของแผ่ นจานจะมีหัวอ่านเขียน
ประจาเฉพาะ หมุนรอบแทร็กต่ าง ๆ อย่ างรวดเร็ว
เมนบอร์ ด (Mainboard)
เป็ นส่ วนประกอบทีส่ าคัญทีส่ ุ ดของคอมพิวเตอร์ เป็ นทีเ่ สี ยบอุปกรณ์ ต่าง ๆ
เช่ น CPU การ์ ดเสี ยง การ์ ดจอ แรม ในปัจจุบันทีน่ ิยมใช้ มีอยู่ 3 แบบ คือ
แบบช็อกเก็ต7 ใช้กบั CPU ในตระกูล AMD เป็ นส่ วนใหญ่
แบบช็อกเก็ต 370 ใช้กบั CPU Celeron
แบบสล็อตวัน ใช้กบั CPU Pentium II, III, ThunderBird
หน่ วยความจาหลัก
หน่ วยความจาแบ่ งเป็ น 2 ประเภท คือ
ROM (Read Only Memory) เป็ นหน่ วยความจาทีเ่ ก็บข้ อมูลถาวร
ผู้ใช้ ไม่ สามารถเขียนข้ อมูลลงในรอมได้
RAM (Random Access Memory) เป็ นหน่ วยความจาที่สามารถเขียน
ข้ อมูลลงไปได้ เมื่อเรียกข้ อมูลใช้ งานจะโหลดจากฮาร์ ดดิสก์
หน่ วยความจาสารอง
ส่ วนความจารอง (secondary memory)
ใช้ เป็ นส่ วนเพิม่
ความจาให้ มีขนาดใหญ่ มากขึน้ ทางานติดต่ อยู่กบั ส่ วนความจาหลัก
ส่ วนความจารองมีความจุมากและมีราคาถูก แต่ เรียกหาข้ อมูลได้ ช้ากว่ าส่ วน
ความจาหลัก
ส่ วนแสดงผล
เป็ นอุปกรณ์ส่งออก (output device) ทาหน้าที่แสดงผลจากการ
ประมวลผล โดยนาผลที่ได้ออกจากหน่วยความจาหลักแสดง ทางอุปกรณ์
ส่ งออก อุปกรณ์ ส่งออกทีน่ ิยมใช้ ส่วนใหญ่ คอื จอภาพ และเครื่องพิมพ์
จอภาพ (Monitor )
เป็ นอุปกรณ์ แสดงผลคล้ายจอโทรทัศน์ แบ่ งเป็ น 3 ประเภท
จอภาพแบบ VGA (Video Graphics Array) มีความละเอียด 800 x 6
จอภาพแบบ SVGA (Pronounced Super VGA) มีความละเอียด 8
จอภาพแบบ SVGA (Pronounced Super VGA) มีความ
ละเอียด 1024 x 768 จุด
เครื่องพิมพ์ (printer )
เครื่องพิมพ์เป็ นอุปกรณ์ ทสี่ าคัญสาหรับนาข้ อมูลทีป่ ระมวลผลแล้วพิมพ์ลงบน
กระดาษตามทีต่ ้ องการ คุณภาพของงานพิมพ์เอกสารโดยใช้ เครื่องคอมพิวเตอร์
ส่ วนหนึ่งขึน้ กับประสิ ทธิภาพของเครื่องพิมพ์
เครื่องพิมพ์ทใี่ ช้ กนั ในปัจจุบันมีหลายแบบ คือ เครื่องพิมพ์แบบจุด และ แบบ เลเซอร์
ชนิดของคอมพิวเตอร์ ที่นิยม
คอมพิวเตอร์ แบบตั้งโต๊ ะ (desktop computer) เป็ นไมโคร
คอมพิวเตอร์ ทมี่ ีขนาดเล็กถูกออกแบบมาให้ ต้งั บนโต๊ ะ มีการแยก
ชิ้นส่ วนประกอบเป็ น ซีพยี ู จอภาพ และแผงแป้งอักขระ
แล็ปท็อป ( Laptop )
แล็ปท็อปคอมพิวเตอร์ (laptop computer)
เป็ นไมโครคอมพิวเตอร์ ขนาดเล็กที่วางใช้ งานบนตักได้ จอภาพทีใ่ ช้ เป็ น
แบบแบนราบชนิดจอภาพผนึกเหลว (Liquid Crystal Display : LCD)
นา้ หนักของเครื่องประมาณ 3-8 กิโลกรัม
โน้ ตบุ๊ค ( Notebook )
โน้ ตบุ๊คคอมพิวเตอร์ (notebook computer)
เป็ นไมโครคอมพิวเตอร์ ที่มีขนาดและความหนามากกว่ าแล็ปท็อป
นา้ หนักประมาณ 1.5-3 กิโลกรัม จอภาพแสดงผลเป็ นแบบราบชนิด
มีท้งั แบบแสดงผลสี เดียว หรือแบบหลายสี โน้ ตบุ๊คทีม่ ีขายทัว่ ไปมี
ประสิ ทธิภาพ เมหือนกับแล็ปท็อป
ปาล์มท็อป ( Palmtop )
Palm
ปาล์มท็อปคอมพิวเตอร์ (palmtop computer)
เป็ นไมโครคอมพิวเตอร์ สาหรับทางานเฉพาะอย่ าง เช่ นเป็ นพจนานุกรม
เป็ นสมุดจนบันทึกประจาวัน บันทึกการนัดหมายและการเก็บข้ อมูลเฉพาะ
บางอย่ าง ที่สามารถพกพาติดตัวไปมาได้ สะดวก
จบการนาเสนอ
THE END
อยู่ตวั เดียวเหงาจัง
โบ็วๆๆๆๆๆ
สบายดีไหมเจ้ าหมาน้ อย
สบายดึฮับพีว่ วั
อินเตอร์ เน็ตเป็ นเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ ขนาดมหึมา
ที่เชื่อมโยงเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ เล็กๆทั่วโลก
เข้ าไว้ ด้วยกัน
ข้ อมูลข่ าวสารมหาศาลจะอยู่ในระบบเครือข่ ายนี้
โดยทีเ่ ราสามารถเข้ าถึงข้ อมูลเหล่านีไ้ ด้ เมื่อเรา
ติดต่ อ(ONLINE)เข้ าสู่ ระบบ
เมื่อไรทีค่ อมพิวเตอร์ ของคุณต่ อเข้ าสู่
อินเตอร์ เน็ต เครื่องของคุณก็จะเป็ น
เสมือนแมงมุมตัวหนึ่ง
กลางใยแมงมุมขนาดมหึมา
ซึ่งใยแมงมุมแต่ ละเส้ นจะส่ งข้ อมูล
จากคอมพิวเตอร์ เครื่องอืน่ ๆ
เข้ าสู่ เครื่องของคุณ
อินเตอร์ เน็ตเป็ นระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์
ที่พฒ
ั นามาจากระบบARPANET
ซึ่งเป็ นเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ ที่ใช้ ใน
กระทรวงกลาโหม
ของUSA
ทศวรรษ1960
กระทรวงกลาโหมUSAสร้าง
เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ที่สามารถ
เชื่อมโยงข้อมูลถึงกันในระบบได้
โดยหากข้อมูลใดถูกทาลาย ก็จะยัง
มีขอ้ มูลคงอยูใ่ นเครื่ องอื่นๆ
เครื อข่ายนี้เรี ยกว่าARPANET
ทศวรรษ1970
ทศวรรษ1980
คอมพิวเตอร์ ตามมหาวิทยาลัย
และบริษัทต่ างๆทัว่ USAได้ เชื่อมต่ อ
เข้ าด้ วยกันเพือ่ การค้ นคว้ าวิจัย
มีการจัดตั้งเครือข่ ายNFSNET
เพือ่ แลกเปลีย่ นข้ อมูลทีไ่ ม่ เกีย่ วข้ องกับ
การค้ า
ทศวรรษ1990
เครือข่ ายเปิ ดกว้ างสาหรับทุกคน
ทั้งบริษทั ธุรกิจ และผู้ใช้ คอมพิวเตอร์
ตามบ้ าน
การใช้ E-MAILและWWW
เป็ นที่นิยม อินเตอร์ เน็ตขยายตัว
อย่ างรวดเร็ว
มันคืออะไร
คือการรวมกันของเน็ตเวิร์กและองค์องค์ยอ่ ยๆ
มันเชื่อมกันได้อย่างไร
Backbone
REGIONAL
NETWORK
REGIONAL
NETWORK
ISP
จากบ้าน ไปได้อย่างไร
ต้องผ่าน ISP ถึงจะเข้าสู่ Internet ได้
Internet
สายโทรศัพท์
สูงสุด 56kbps
แก้ปัญหาความช้า
ISDN (Integrated Services
Digital Network) เป็ นดิจิตอล
โมเด็ม ไม่ใช้อานาล็อก
ADSL (Asymmetric Digital
Subscriber Line) ใช้สายโทรศัพท์คู่
กับ ADSL Modem
Cable Modem ใช้ Cable Modem
ในการเชื่อมต่อผ่านทางทีวีเคเบิล
Lease Line คือ T1, T3
ภาษาที่ใช้หรื อ Protocol
ใช้ TCP/IP โดย
• TCP เป็ นตัวที่จะแตกข้อมูลออกเป็ น packet
• IP จะเป็ นตัวกาหนดจุดหมาย
• TCP จะประกอบ packet
ให้กลายเป็ นข้อมูลอีกทีหนึ่ง
1011101010
TCP
DATA
DATA
IP
IP
TO 208.162.20.8
TO 208.162.20.8
TO 208.162.20.8
TO 208.162.20.8
TCP
1011101010
TO 208.162.20.8
I
P
• เพือ่ ให้ สามารถอ้ างถึงคอมพิวเตอร์ แต่ ละเครื่อง
ได้ จึงต้ องมีการให้ ชื่อแก่ คอมพิวเตอร์
• มีลกั ษณะเป็ นตัวเลข 4 ตัวทีแ่ ยกด้ วยจุดเช่ น
137.42.6.72
• พัฒนาไปสู่ DNS
I
P
DNS
Mahidol.ac.th
Mahidol ชื่อขององค์ กร
Ac แสดงว่ าองค์ กรประเภทใด
Th ชื่อประเทศ
Com - Commercial Organization
Mil - Military
Edu - Education
Net - Network
Gov Government
Org - Nonprofitorganization
au ออสเตรเลีย
at ออสเตรี ย
ca แคนาดา Country Code
cl ชิลี
de เดนมาร์ก
fr ฝรั่งเศส
nl เนเธอร์แลนด์
Jp ญี่ปุ่น
kr เกาหลีใต้
es สเปน
se สวีเดน
uk สหราชอาณาจักร
us สหรัฐอเมริ กา
การเชื่อมต่ อคอมพิวเตอร์ ของคุณเข้ าสู่ อนิ เตอร์ เน็ต
– มีวธิ ี การมากมายที่คุณสามารถเลือกใช้ได้ดงั ต่อไปนี้
» -การเชื่อมต่อแบบ dial-in
» -ต่อผ่าน LAN
» -ต่อเชื่อมด้วยสายไฟเบอร์ ออปติคของเคเบิลทีวี
เมื่อคุณต้องการเข้าสู่โลกอินเตอร์เน็ต
คุณต้องมี
- คอมพิวเตอร์
- โมเด็มเชื่อมต่อกับสายโทรศัพท์
- PASSWORDเชื่อมต่อกับผูใ้ ห้บริ การINTERNET(ISP)
- BROWSER หรื อโปรแกรมที่ตอ
้ งการเล่นINTERNET
- เช่น NETSCAPE , INTERNET EXPLORER , IAQ
การให้บริ การInternet
ในกรณี ที่เครื่ องของคุณไม่ได้เชื่อมต่อกับอินเตอร์เน็ต
แบบถาวร คุณจะต้องจ่ายค่าบริ การอินเตอร์เน็ตแก่บริ ษทั
ที่ให้บริ การ ซึ่งเราเรี ยกบริ ษทั เหล่านี้วา่ ผูใ้ ห้บริ การ
อินเตอร์เน็ต (Internet service providers)
่ ลายบริ ษทั เช่น
ซึ่งปัจจุบนั มีอยูห
เมื่อคุณติดตั้งอุปกรณ์ และซอฟต์แวร์เรี ยบร้อยแล้ว
คุณก็พร้ อมที่
จะเข้ าสู่
อินเตอร์ เน็ต
เป็ นครั้งแรกแต่
ก่ อนอืน่ คุณ
ต้ องโทรศัพท์
ติดต่ อกับ
คอมพิวเตอร์
ของผู้ให้ บริการ
เสี ยก่ อน
การเลือกบริษัทผู้ให้ บริการ
“ผมจะโทรศัพท์ ติดต่ อคอมพิวเตอร์ ของในอัตราค่ า
บริการปรกติหรืออัตราทางไกล” คุณควรสอบถามให้แน่ใจ
ว่าบริ ษทั ที่คุณเลือกใช้บริ การมีจุดที่ติดต่ออินเตอร์เน็ตอยู่
ใกล้ๆหรื อไม่ เพื่อจะได้ไม่ตอ้ งเสี ยค่าโทรศัพท์ทางไกลทุก
ครั้งที่ใช้อินเตอร์เน็ต
ค่ าบริการทั้งหมดมากน้ อยเพียงใด
คุณควรสอบถามว่า คุณ
ต้องเสี ยค่าบริ การรายเดือน
และค่าใช้จ่ายตามจานวน
ที่ใช้บริ การหรื อไม่
คณ
ุ ควรสอบถามว่ า
“คุณให้บริ การสาหรับโมเด็มชนิดที่ผมใช้อยูห่ รื อไม่”
โมเด็มของผูใ้ ห้บริ การควรมีความเร็ วไม่นอ้ ยกว่า
โมเด็มของคุณ
อีเมล์(e-mail)สามารถส่ งข้อความไปให้ใครก็ได้ที่เชื่อมต่ออยู่
กับอินเตอร์เน็ตรวมทั้งบริ การออนไลน์ท้ งั หลาย อีเมล์นบั เป็ น
วิธีที่ยอดเยีย่ มในการติดต่อกับญาติมิตร เพื่อนฝูงที่อยูห่ ่างไกล
ข้อมูลของอีเมล์ถูกส่ งด้วยวิธีการเดียวกับข้อมูลของ
อินเตอร์เน็ตส่ วนใหญ่โปรโตคอล TCP จะแตกข้อความออก
เป็ นแพ็กเก็ตย่อย ๆ ก่อน จากนั้นโปรโตคอลIPของทั้งสองฝั่ง
จะประสานงานกันในการส่ งแพ็กเก็ตไปยังผูร้ ับที่ถูกต้อง
แล้วโปรโตคอล TCP บนเครื่ องปลายทางก็จะประกอบ
แพ็กเก็ตขึ้นมาใหม่ เพื่อให้ผรู ้ ับอ่านข้อความได้ คุณยัง
สามารถแนบ (attach) ไฟล์แบบไบนารี เช่นรู ปภาพไป
กับอีเมล์ได้ ขั้นแรกไฟล์น้ นั ต้องมีการเข้ารหัสเสี ยก่อน
วิธีเข้ารหัสที่นิยม คือ MIME (Multipurpose Internet
Mail Extension)
เมื่อคุณส่ งอีเมล์ไปยังใครคนใดคนหนึ่งบน
อินเตอร์เน็ต ข้อความนั้นจะถูกส่ งไปยังเน็ตเวิร์ก
สารพัดรู ปแบบก่อนที่มนั จะไปถึงเน็ตเวิร์กของผูร้ ับ
ซึ่ งเน็ตเวิร์กนั้นอาจมีรูปแบบอีเมล์ที่ต่างกันออกไป
(www) ประกอบด้วยเอกสารที่เรี ยกว่า เว็บเพจ
(Web page) หลายล้านฉบับ เพจเหล่านี้อาจมีขอ้ ความ
ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และเสี ยงรวมอยูใ่ นนั้น
องค์กรส่ วนใหญ่บนเว็บจะมีชุดของเพจที่โยงถึงกัน
ชุดของเพจเหล่านี้เรี ยกว่า เว็บไซท์(Web site)
ทุกเว็บเพจมีที่อยูข่ องตนเองเรี ยกว่า URL
(Uniform Resource Locator)
ซึ่งเราสามารถค้นหาURL ได้จาก Search Engine
เช่น www.yahoo.com , www.infoseek.com
เบราเซอร์ (Browser) คือ โปรแกรมที่เราใช้ดูเว็บเพจ
เบราเซอร์ 2 โปรแกรมที่มีผใู ้ ช้มากที่สุดได้แก่ ไมโครซอฟ
อินเตอร์เน็ตเอ็กซ์พลอเรอร์ และ เน็ตสเคป เนวิเกเตอร์
วิธีที่ง่ายที่สุด ในการดูWEB PAGE
คือ การพิมพ์ที่อยูล่ งในช่องที่อยูข่ องเบราเซอร์
โดยให้ติดต่อกับเน็ต แล้วเปิ ดเบราเซอร์ พิมพ์URL
เช่น เว็บไซท์ ของโรงเรี ยนเตรี ยมอุดมศึกษา :
http://triamudom.moe.go.th
และกด enter เบราเซอร์จะดาวน์โหลดเพจแรกของ
เว็บไซท์น้ ี เราเรี ยกเพจแรกนี้วา่ โฮมเพจ
คาศัพท์
• Archie : เป็ นแหล่งข้อมูล "อาร์ชี”
• DNS : เป็ นระบบชื่อหลัก หรื อระบบชื่อโดเมน
• E-mail : จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ที่สื่อสารบน
คอมพิวเตอร์
• Host : ศูนย์คอมพิวเตอร์หลักHTML : ระบบสร้าง
ไฟล์ขอ้ มูล www
• HTML : ระบบสร้างไฟล์ขอ้ มูล www
คาศัพท์
• HTTP : ระบบตอบโต้สาหรับการโอนข้อมูล
• Hypertext : คาที่มีขอ้ ความหรื อไฟล์ซ่อนอยู่
เบื้องหลัง
• Icon : รู ปภาพขนาดเล็กที่ใช้แทนไฟล์
• IP address : หมายเลขที่อยูใ่ นเครื อข่าย
อินเทอร์เน็ต
• LAN : เครื อข่ายท้องถิ่น
คาศัพท์
•
•
•
•
•
•
login : การเข้าสู่คอมพิวเตอร์
mail : คาสัง่ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์
Modem : เป็ นอุปกรณ์รับส่ งสัญญาณ
NIC : แผ่นการ์ดเครื อข่าย
Password : รหัสผ่านซึ่งเป็ นความลับ
Server : ศูนย์คอมพิวเตอร์หลักที่ให้บริ การ
คาศัพท์
•
•
•
•
Telix : โปรแกรมสื่ อสารผ่านโมเด็ม
Windows : ระบบจัดการของไมโครคอมพิวเตอร์
www : แหล่งข้อมูลแบบใยแมงมุม
www browser : โปรแกรมภายใต้วนิ โดวส์สาหรับ
เลื่อนดูรายการเพื่อเลือกเชื่อมโยงกับแหล่งข้อมูลใน
ระบบ www
สัญลักษณ์สื่อความรู้สึก
•
•
•
•
:-) คือ ยิม้
:-( คือ ไม่น่าพอใจ
:-t คือ ฉุนเฉี ยว
:-\ คือ ตัดสิ นใจไม่
ถูก
• :-o คือ กาลังช็อค
•
•
•
•
•
•
:-& คือ ลิ้นพัน
| - | คือ ง่วงนอน
:-c คือ ขี้เกียจ
:-# คือ ห้ามพูด
:-< คือ เศร้าใจ
;-) คือ ขยิบตา
สัญลักษณ์สื่อความรู้สึก
• :-x คือ ถูกเซ็นเซอร์
• :-7 คือ หน้าบอกบุญไม่
รับ
• ( - ) คือ ต้องตัดผม
• {(:-) คือ ใส่ หมวก
• (:) - ) คือ ชอบดาน้ า
• }(:-(
คือ ใส่ หมวก
กันลม
• :-} คือ ทาลิปสติก
• @:| คือ ใช้ผา้ โพกหัว
• 8-) คือ ใส่ แว่น
• :-)8 คือ แต่งตัวดี
สัญลักษณ์สื่อความรู้สึก
•
•
•
•
•
•
:-p คือ แลบลิ้น
:-9 คือ ห่อลิ้น
:>) คือ จมูกใหญ่
%-) คือ ตาเหล่
:-Q คือ สูบบุหรี่
:-{ คือ มีหนวด
•
•
•
•
•
•
:-% คือ มีเครา
(-: คือ ถนัดซ้าย
:-0 คือ เป็ นนักพูด
[:|] คือ หุ่นยนต์
:> คือ คนแคระ
0-) คือ ยักษ์ตาเดียว
ศัพท์
สแลง
ศัพท์สแลงที่มกั พบในปัจจุบนั
ได้แก่ foo, bar และ foobar ซึ่ง
เป็ นคาที่ใช้อา้ งอิงถึงสิ่ งใดสิ่ งหนึ่ง
โดยไม่เอ่ยถึงชื่อของสิ่ งนั้นโดย
ตรง แต่ถา้ ต้องการอ้างถึงของสอง
สิ่ งก็จะใช้คาว่า “foo and bar”
มารยาทในการใช้อินเทอร์เน็ต
เครื อข่ายแต่ละแห่งมีระเบียบแตกต่างกัน ผูด้ ูแล
ระบบจะกาหนดข้อปฏิบตั ิให้สมาชิกทุกคนรับ
ทราบและปฏิบตั ิตามแนวทางนั้น นอกจากนี้ผใู้ ช้
งานยังควรทราบถึงมารยาทต่อผูใ้ ช้อื่นในระบบ
มารยาทในการใช้เครื อข่ายนี้เรี ยกตามศัพท์ของ
ผูใ้ ช้อินเทอร์เน็ตว่า Netiquette
ความรู้ -ข่ าวสาร
ความบันเทิง
ธุรกิจ-การประกอบอาชีพ
Website ของโรงเรียนต่ างๆ
Website มหาวิทยาลัยต่ างๆ
Website ของหน่ วยข่ าวต่ างๆ
กระดานข่ าว(web board)
ห้ องสมุดดิจิตอล
Website ความรู้ทวั่ ไป
Http://www.satit_kku.ac.th/
Http://triamudom.moe.go.th/
http://www.mcot.co.th/
Http://www.onec.go.th/
Http://www.school.net.th/
Http://www.nectec.or.th/
Http://lcweb.loc.gov/
http://www.tv3.co.th/
กระดานข่
Website
Website
มหาวิาุดว(web
้ ูททวดิวั่ ยข่
ยาลั
วต่
ยboard)
ต่างๆ
ห้ของหน่
อความร
งสม
จไปยติ านต่
อล
ของโรงเรี
Http://www.nss.org/askastro/
Http://www.fedu.uec.ac.jp/ZzzThai/
Http://master.cpe.ku.ac.th/
Http://www.discovery.com/
Http://www.nasa.gov/
Http://www.chula.ac.th/
Http://www.swu.ac.th/
Http://www.kku.ac.th/
Http://www.npac.syr.edu/
Http://www.learn2.com/
Http://www.sonymusic.com/
Http://www.rs.co.th/
Http://www.grammy.co.th/
Http://www.hollywood.com/
Http://www.billboard.com/
Http://www.midiweb.com/
Http://www.audionet.com/
Http://www.mtv.com/
Http://www.20cenjury.com/
ด ูหนัง-ฟังเพลง Http://entertainment.yahoo.com/
Http://www.pocketmonster.com/
Http://www.happypuppy.com/
Http://download.cnet.com/
Http://www.pokemon.com/
Http://kraven.simplenet.com/
Http://www.disney.com/
เกมและการ์ต ูน Http://www.developer.ivv.nasa.gov/
Http://www.arsenal.co.uk/
Http://www.chelseafc.co.uk/
Http://www.espnet.sportzone.com/
Http://www.sydney.olypic.org/
กีฬา Http://www.manutd.com/
ด ูดวง
Http://www.freeadzlastro.htm/
Http://mindlink.net/yasenow/
Http://www.palmistry.com/
Http://www.facade.com/
Http://users.aol.com/
ศิลปะ Http://art.com/
Http://www.fodors.com/
ท่องเที่ยว Http://www.tat.or.th/
Http://www.womensedge.com/
Http://www.medicinent.com/
Http://www.acmepet.com/
ส ุขภาพอนามัย
Http://www.japanlink.co.jp/
Http://www.geocities.com/
Http://www.infoseek.com/
Http://www.altavista.com/
Http://www.thaiseek.com/
Http://www.metasearch.com/
Http://www.yahoo.com/
Http://www.sanook.com/
Http://www.crawler.com/
Http://www.snap.com/
Http://www.msn.com/
Http://www.mckinley.com/
Http://www.lycos.com/
Http://www.fast.com/
Http://www.hotbot.com/
Http://www.excite.com/
Http://www.orientation.com/
Http://www.hunsa.com/
Http://home.netscape.com/
Http://www.ask.com/
Http://www.go.com/
Http://www.catcha.com/thailand/
เชื่อมต่อกับระบบอื่นๆ Http://www.savvy.com/
โฆษณาผ่านwebsite
Http://www.mp3.com/
ธ ุรกิจบนwebsite
Http://www.shoppingthai.com/
Http://www.amazon.com/
Http://www.pizza.co.th/
บริการด้านพาณิชย์
Http://www.thaiecommerce.net/
Http://www.ecommerce.or.th/
Http://www.tradesiam.com/
Http://home.boa.co.th/
Http://www.sfnb.com/
บริการเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพขององค์กร
Http://www.aia.co.th/
EDUCATION
ENTERTAINMENT
COMMERCE
EDUCATION
การปฏิรูปการศึกษาระบบใหม่ (Child Center)
โครงการเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ เพือ่
โรงเรียนในประเทศไทย
แหล่งข้ อมูล-ความรู้
ห้ องสมุดดิจติ อล
www.lcweb.loc.gov/
NECTEC
Child
center
และคอมพิ
ศูSchoolnet@1509
อินเล็แห่
ย์กเทรอนิ
ทคโนโลยี
งชาติ
วเตอร์
กส์
ENTERTAINMENT
ENTERTAINMENT
COMMUNICATION
Chat
ICQ
Wap
ห้องสนทนา(CHAT)
รู ปแบบหนึ่งของการสนทนาผ่าน INTERNET
แบ่งห้องสนทนาตามหัวเรื่ องของการสนทนา
หรื อสร้างกลุ่มสนทนาขึ้นใหม่เฉพาะกลุ่มสมาชิก
มักใช้นามแฝง ทาให้สามารถแสดงความคิดเห็น
ได้อย่างเต็มที่และความรู ้สึกในการรับผิดชอบ
น้อยลง
อาจเกิดความขัดแย้งกันด้านความคิดเห็นได้
ICQ(I Seek You)
รวบรวมเครื่ องมือ
ต่างๆที่อานวยความ
สะดวกในการใช้งาน
ค้นหาผูใ้ ช้ICQคนอื่นๆ
ตรวจสอบการใช้งาน
ของสมาชิกคนอื่นๆว่า
ใช้งานอยูห่ รื อไม่
ฝากข้อความ สนธนา
คุยโทรศัพท์ และ
อื่นๆมากมาย
Wireless Application Protocol
(WAP)
การประสานระหว่างระบบสื่ อสารไร้สาย(wireless)
กับอินเตอร์เน็ต
หรื อการนาอินเตอร์เน็ตมาแสดงบนโทรศัพท์เคลื่อนที่
WAP ได้รับการคิดค้นและพัฒนาเป็ นเวลาเกือบ 2 ปี
มาแล้ว โดยมีEricsson, Nokia, Motorolaและบริ ษทั
ซอฟแวร์เชื้อสายอเมริ กนั Phone.com เป็ น
ผูร้ ่ วมกาหนดมาตรฐาน ซึ่งในต่างประเทศมีการให้บริ การ
หลายประเทศแล้ว ส่ วนในประเทศไทย คาดว่าคงจะได้
ใช้งานในเร็ ว ๆ นี้
COMMERCE
E-commerce
Electronics Commerce(EC)
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์/อิเล็กทรอนิกส์วาณิชย์
EC คือ รูปแบบหรือแนวทางในการซื้อขายสินค้า
ข้อมูล บริการ ผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รวมทัง้ อินเตอร์เนตด้วย
EC
ระบบข้อมูลระหว่างองค์การ(IOS)
(Interorganizational Information System
ตลาดอิเล็กทรอนิกส์(Electronic Market)
(EM)
เครือข่ายส่วนตัว(Value Added Network หรือ VAN)
เครือข่ายอินทราเนต(Intranet)
เครือข่ายเอ็กซ์ทราเนต(Extranet)
เครือข่ายอินเตอร์เนต(Internet)
เครือข่ายส่วนตัว(Value Added Network หรือ VAN)
ระบบความปลอดภัยสูงเพราะเป็ นเคร์อข่ายเฉพาะองค์กรกับบริษทั
คูค่ า้ เท่านัน้ แต่ลงทุนสูงและขอบเขตของธุรกิจอยูใ่ นวงจากัด
เครือข่ายอินทราเนต
เครือข่ายภายในที่มกี ารใช้งานในองค์กร เป็ นที่นยิ มในหน่วยงานใหญ่
ที่มพี นักงานมาก มักเป็ นการขายสินค้าและบริการให้กบั พนักงาน
เครือข่ายเอ็กซ์ทราเนต
เครือข่ายสามารถเชือ่ มกับเครือข่ายภายในองค์การอื่น ช่วยส่งเสริม
การดาเนินธุรกิจ และจะสัมพันธ์กบั เครือข่ายอินทราเนตมาก
เครือข่ายอินเตอร์เนต
เครือข่ายที่ทกุ คนสามารถเข้าถึงได้ ขอบเขตของตลาดกว้างขึน้ แต่
ยังไม่สมบูรณ์ดา้ นความปลอดภัย
ศูนย์พฒ
ั นาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
(Electronic Commerce Resource Center)
Http://www
ecommerce.or.th
หน่วยงานที่จดั ตัง้ ขึน้ ภายใต้
ศูนย์อิเล็กทรอนิกส์
และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ
สานักงานพัฒนา
วิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยีแห่งชาติ กระทรวง
วิทยาศาสตร์
เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม เพื่อพัฒนา
ระบบพาณิชย์
อิเล็กทรอนิกส์ของไทยให้มคี วามพร้อม
และแข่งขันระดับสากลได้ โดยมีวตั ถุประสงค์หลัก
ในการสร้างความตืน่ ตัวและสร้างบุคลากรทาง
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ของไทย ทัง้ ภาครัฐและเอกชน
ผูป้ ระกอบการขาดความรูค้ วามเข้าใจในระบบ
บุคลากรยังไม่มคี วามพร้อม
ทางการตลาด สื่อไม่สามารถเข้าถึงผูซ้ ื้อโดยตรงได้
ปั ญหาความเชือ่ มัน่ ในระบบความปลอดภัยและคุณภาพ
ค่าบริการค่อนข้างแพง
กลุม่ เป้าหมายยังขาดทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์และ
อินเตอร์เนต
ผูป้ ระกอบการยังกังวลกับกฎหมายที่รบั รองการประกอบการ
ปั ญหาอื่นๆ เช่น การกลัน่ แกล้งในทางธุรกิจ
มีมาตรการการดาเนินพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์อย่างเร่งด่วน
เพื่อให้ผลู้ งทุนมีความมัน่ ใจ
ส่งเสริมการลดต้นทุน ให้มคี ่าใช้จา่ ยตา่
สร้างความมัน่ ใจในระบบความปลอดภัย
มีกฎหมายที่รดั กุม
ส่งเสริมศักยภาพในการแข่งขันกับต่างชาติ
ส่งเสริมศักยภาพความรูด้ า้ นสารสนเทศ
INTERNET เป็ นเทคโนโลยีทมี่ คี วามสาคัญอย่ างยิง่ ในปัจจุบัน
INTERNETให้ ประโยชน์ มากมายหลายด้ าน ไม่ ว่าจะเป็ นด้ าน
ข่ าวสารข้ อมูล,การติดต่ อสื่ อสาร,การศึกษา ,บันเทิง, ธุรกิจการค้ า
ซึ่งทั้งหมดนีล้ ้ วนเกีย่ วข้ องกับชีวติ ประจาวันของเราแทบทั้งสิ้น
เพราะฉะนั้นการมีความรู้ ความเข้ าใจ และสามารถใช้ ประโยชน์
จากINTERNETได้ แม้ เพียงขั้นพืน้ ฐาน ย่ อมเป็ นข้ อได้ เปรียบ
ในการดารงชีวติ ของคุณในโลกยุคIT
อย่ างน้ อย คุณควรสามารถส่ งจดหมายอิเลคทรอนิกส์
และค้ นหาข้ อมูลข่ าวสารจากINTERNETได้
และเมื่อคุณได้ เริ่มสั มผัสINTERNETบ้ างแล้ วคุณจะ
สนุกกับมัน และจะพบว่ ายังมีอะไรอีกมากมายให้
ค้ นหาในโลกINTERNETใบนีอ้ ย่ างแน่ นอน
โอ้ ………
……
หุ่นยนต์ คอมพิวเตอร์
เสนอ
อาจารย์ วชิ ัย พริ้งมาดี
หุ่นยนต์ อุตสาหกรรม
หุ่นยนต์ อาจแยกได้ เป็ น 2
ประเภทใหญ่ ๆ คือ
หุ่นยนต์ ทใี่ ช้ ในบ้ าน
(domestic robot) และ
หุ่นยนต์ อุตสาหกรรม
(industrial robot)
หุ่นยนต์ ใช้ ในบ้ าน
สามารถฟังคาสั่ งที่ตกลง
กันไว้ ล่วงหน้ าได้ ไม่ ว่า
จะเป็ นคาสั่ งให้ ทาอะไร
หุ่นยนต์ ชนิดนี้ ใน
ต่ างประเทศมีใช้ กนั บ้ าง
แล้ว แต่ ในประเทศไทย
มีการสั่ งเข้ ามาศึกษาหา
ความรู้ เท่ านั้น
หุ่นยนต์อุตสาหกรรมนั้น ไม่จาเป็ นต้องมี
รู ปร่ างเหมือนคน แต่มกั จะมีลกั ษณะเป็ นแขนเดียว
ที่สามารถเคลื่อนไหวและหยิบจับอะไรได้
มนุษย์ได้ประดิษฐ์หุ่นยนต์อุตสาหกรรมขึ้น เพื่อช่วย
ในการทางานประเภทต่างๆ ที่สาคัญต่อไปนี้
งานที่ตอ้ งเสี่ ยงภัยและเป็ นอันตรายต่อสุ ขภาพ
งานที่ตอ้ งการความละเอียด ถูกต้องและรวด เร็ ว
งานที่ตอ้ งทาซ้ าๆซากๆ และน่าเบื่อ
หน่าย
หุ่นยนต์ บางตัวอาจจะมีประสาทรู้สึก เช่ น มี
กล้ องโทรทัศน์ ติดเอาไว้ ทาให้ มองเห็นได้ เป็ นต้ น
ในต่ างประเทศ
ใช้ ห่ ุนยนต์ ในโรงงาน
อุตสาหกรรม เพือ่ เพิม่ คุณภาพ และลดต้ นทุน
เพื่อความอยูร่ อดของมนุษย์ท่ามกลางการ
พัฒนาและขยายตัวของสังคม ทาให้มนุษย์ตอ้ ง
พยายามคิดประดิษฐ์และพัฒนาสิ่ งอานวยความ
สะดวกและเครื่ องมือต่างๆ เพื่อเพิ่มปริ มาณการ
ผลิตให้เพียงพอสาหรับการอุปโภคบริ โภค ดังนั้น
หุ่นยนต์และอุปกรณ์อื่นๆ ที่ควบคุมอัตโนมัติดว้ ย
คอมพิวเตอร์ จึงจาเป็ นมากในปัจจุบนั
การพัฒนาเทคโนโลยีเครื่ องจักรกลเพื่อให้
หุ่นยนต์มีความสามารถเฉพาะตัวมากขึ้น
สามารถ
แบ่งได้เป็ นลาดับขั้นดังนี้
การพัฒนายุคที่ 1
การพัฒนายุคที่ 2
การพัฒนายุคที่ 3
การพัฒนายุคที่ 1
เป็ นยุคของเทคโนโลยี
พื้นฐาน ในยุคนี้
หุ่นยนต์สามารถทางาน
ได้ในจังหวะ “
หยิบ” และ “ วาง ”
ชิ้นงานได้เท่านั้น ในยุค
นี้หุ่นยนต์มี
ความสามารถ ขอบเขต
การทางาน ค่อนข้าง
การพัฒนายุคที่ 2 จากเทคโนโลยียคุ แรก การ
เปลี่ยนแปลงการทางานของหุ่นยนต์ค่อนข้างจากัด
และยุง่ ยาก
เกิดการพัฒนาการใช้อุปกรณ์ขบั
เคลื่อนที่เรี ยกว่า เซอร์โว ( servo mechanism )
เพื่อให้สามารถควบคุมหุ่นยนต์และเปลี่ยนแปลง
ชุดคาสัง่ ได้
การพัฒนายุคที่ 3
เป็ นยุคของหุ่นยนต์ที่ใช้
กันอยูใ่ นปัจจุบนั
หุ่นยนต์เหล่านี้ได้รับการ
ออกแบบให้สามารถ
ตัดสิ นใจได้
โดยไม่
ขึ้นอยูก่ บั ชุดคาสัง่ ที่ป้อน
แต่ข้ ึนกับสัญญาณที่รับ
จากอุปกรณ์รับสัญญาณ
หุ่นยนต์ อตุ สาหกรรม
สามารถจาแนกได้ เป็ นกลุ่ม
ต่ างๆ ได้ 6 โดยเรียงลาดับ
การทางานดังนี้
1. มือกลบังคับด้ วยมือ ( manaul manupulator)
เป็ นมือกลที่สามารถทางานได้โดยการบังคับ
ด้วยมือของผูค้ วบคุม โดยที่ผคู้ วบคุมต้องทาหน้าที่
บังคับทางานอยูต่ ลอดเวลา สัญญาณสัง่ จากคัน
บังคับอาจส่ งผ่านอุปกรณ์อย่างใดอย่างหนึ่ง หรื อ
อาจเป็ นสัญญาณวิทยุกไ็ ด้
2. หุ่นยนต์ ทาตามลาดับขั้นตอนทีเปลีย่ นลาดับไม่ ได้
( fixed sequence robot )
เป็ นหุ่นยนต์ ทอี่ อกแบบให้ ทางานโดยมีเครื่อง
ควบคุมแบบซีเควนเซอร์ ( sequencer ) ซึ่งมี
หน้ าที่สั่งงานเรียงตามลาดับ
หรืออาจเป็ นวงจรไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ นิว
แมทิก หรือไฮดรอลิกก็ได้ เมื่อจะทางานที่
เปลี่ยนลาดับขัน้ การทางานใหม่ จะต้ องเปลี่ยน
วงจรควบคุมใหม่
3.หุ่นยนต์ ทางานตามลาดับขัน้ ตอนที่เปลี่ยน
ลาดับได้ ( variable sequence robot)
เป็ นหุ่นยนต์ ทคี ล้ ายกับกลุ่มที่ 2
ต่ างกันที่สามารถปรับเปลี่ยนวงจรที่มีอยู่ได้
โดยง่ าย ทาให้ สะดวกต่ อการเปลี่ยนแปลง
ชุดคาสั่งการทางานมากกว่ าแบบที่ 2
4.หุ่นยนต์ ทางานตามชุดคาสั่ง
การทางานจะทาตามที่ถูกบันทึกไว้ ใน
เครื่องบันทึกความจา การบันทึกความจานัน้
นิยมใช้ วิธีสอนให้ ห่ นุ ยนต์ ทางาน เมื่อสอน
เสร็จหุ่นยนต์ จะทางานเลียนแบบที่เรี ยนมา
นัน้ ได้
5.หุ่นยนต์ ควบคุมด้ วยตัวเลข (numerial
control robot )
ในหุ่นยนต์ แบบนีค้ าสั่งบังคบการทางาน
ของหุ่นยนต์ มีลักษณะเป็ นตัวเลข ( numerial
data ) ชุดคาสั่งที่ใช้ บังคับหุ่นยนต์ อาจอยู่ใน
แถบหรือจานแม่ เหล็กหรืออื่นๆ
6.หุ่นยนต์ คดิ เองได้ (intelligent robot )
เป็ นหุ่นยนต์ ท่ มี ีประสิทธิภาพรั บ
ความรู้สึก เช่ น สามารถมองเห็นได้
สามารถตัดสินใจเกี่ยวกับขัน้ ตอนการทางาน
ได้ เป็ นต้ น
หุน่ ยนต์ที่ใช้ กนั มากที่สดุ ในอุตสาหกรรม
ปั จจุบนั คือหุ่นยนต์ ทางานตามลาดับ
ขัน้ ตอนที่เปลี่ยนลาดับไม่ ได้ ซึง่ วิศวกร
จานวนมากไม่ถือว่าเป็ นหุน่ ยนต์ โดยถือว่า
หุน่ ยนต์ที่แท้ จริงคือหุน่ ยนต์ที่สามารถทางาน
ตังแต่
้ ระดับหุน่ ยนต์ทางานตามชุดคาสัง่ ที่
บันทึกไว้ ขึ ้นไป
หุ่นยนต์ อตุ สาหกรรม ประกอบด้ วยระบบที่
สาคัญ 2 ระบบ คือ
ระบบทางกลของหุ่นยนต์ (mechanism system)
ระบบควบควบคุมหุ่นยนต์ (control system)
หมายถึง ส่ วนที่เป็ นโครงสร้ าง
และส่ วนทีใ่ ห้ กาลังขับเคลือ่ นหุ่นยนต์
ประกอบด้ วยอุปกรณ์ ทใี่ ช้ จับ หยิบ เคลือ่ นย้ าย
และหมุนได้ อย่างอิสระ ใน 2 มิติ หรือ 3 มิติ ระบบ
ทางกลของหุ่นยนต์ ควรมีความมั่นคงและมีนา้ หนัก
น้ อยเพือ่ ประหยัดพลังงานในการเคลือ่ นไหว
ระบบทางกลของหุ่นยนต์ อุตสาหกรรม
ระบบทางกลของหุ่นยนต์ อุตสาหกรรมทีส่ าคัญมี
3 ประการ คือ
ลักษณะโครงสร้ างของหุ่นยนต์
อุปกรณ์ ทใี่ ห้ กาลังขับเคลือ่ นหุ่นยนต์
มือหุ่นยนต์
ลักษณะโครงสร้ างของหุ่นยนต์
อาจจาแนกโครงสร้างของ
หุ่นยนต์ได้ 4 แบบ คือ
ก. โครงสร้ างคาร์ ทีเซียน หรือฉาก (cartesian or
rectangular)
เป็ นโครงสร้างที่
ประกอบด้วยส่ วนต่างๆที่
วางไว้ต้ งั ฉากซึ่งกันและกัน
3ส่ วน ซึ่งทาให้สามารถ
เคลื่อนที่ไปยังจุดที่ตอ้ งการ
ได้
โครงสร้างเชิงขั้ว มีลาตัวที่บิดได้
มีแขนที่หมุนและยืดหดได้
ข. โครงสร้ างทรงกระบอก (cylindrical)
มีแขนเกาะกับ
แกนกลางซึ่งเป็ น
หลัก แขนนั้น
สามารถเคลื่อนที่
ขึ้นลง หมุนรอบ
แกน งอและ
สามารถบิดและ
หดได้
โครงสร้างทรงกระบอก ซึ่ งสามารถหมุนแขนได้รอบตัว
แขนสามารถยืดและหดได้ตามแนวแกนเสาที่รองรับ
แขนสามารถยกขึ้นลงได้ตามระดับความต้องการ
ค. โครงสร้ างเชิงขั้ว(polar)
มีลาตัวที่บิดได้
มีแขนที่หมุน
และยืดหดได้
โครงสร้างเชิงขั้ว
มีลาตัวที่บิดได้
มีแขนที่หมุนและยืดหดได้
ง.โครงสร้ างมนุษย์ (antropomorphic)
โครงสร้างมนุษย์ และลักษณะการเคลื่อนที่ดว้ ย
ระบบไฮดรอลิก และระบบเซอร์โวมอเตอร์กระแสตรง
เป็ นโครงสร้างที่เลียนแบบ
โครงสร้างของมนุษย์ ใน
หุ่นยนต์อุตสาหกรรม ที่มี
ลักษณะเป็ นส่ วนบนของ
ลาตัวมนุษย์ ประกอบด้วย
หัวไหล่ แขนท่อนบน
แขนท่อนล่าง ข้อมือ และ
มือ
อุปกรณ์ ให้ กาลังขับเคลือ่ นของหุ่นยนต์
ในปัจจุบนั มีอุปกรณ์ให้กาลังขับเคลื่อน
หุ่นยนต์อยู่ 3 ชนิด คือ
มอเตอร์ กระแสไฟตรง
นิวแมทิก
ไฮดรอลิก
ก. มอเตอร์กระแสไฟตรง คือ อุปกรณ์ขบั เคลื่อน
หมุนรอบตัวเองได้ ด้วยพลังงานจากกระแส
ไฟตรง เป็ นอุปกรณ์ที่ใช้ได้สะดวก ง่ายต่อการ
ควบคุมและตาแหน่งแม่นยา
ปัญหาสาคัญคือมีกาลังจากัด และมีปัญหา
ในการนาหุ่นยนต์ที่ขบั เคลื่อนด้วยไฟฟ้ าไปใช้ใน
บริ เวณที่มีวตั ถุไวไฟ เช่น งานพ่นสี เป็ นต้น
ข. นิวแมทิก เป็ นระบบที่ขบั เคลื่อนทางตรงทาง
โค้งหรื อหมุนได้ดว้ ยแรงอัดของลม เป็ นอุปกรณ์
ที่ราคาถูก และยุง่ ยากน้อยที่สุด ปัญหาที่สาคัญอยู่
ที่การควบคุมความเร็ ว และตาแหน่ง
ค. ไฮโดรลิก เป็ นระบบที่ขบั เคลื่อนด้วยแรงอัดของ
น้ ามัน เป็ นอุปกรณ์ที่ราคาแพง ให้กาลังสูง มีอุปกรณ์
อยูห่ ลายแบบสามารถเลือกใช้ให้เหมาะสมกับงานได้
เช่น การเคลื่อนที่เป็ นเส้นตรง หรื อแบบหมุน เป็ น
ต้น
ในพ.ศ. 2528 มีแนวโน้มที่จะนามอเตอร์
กระแสไฟตรง มาใช้เป็ นอุปกรณ์ขบั เคลื่อน
หุ่นยนต์อุตสาหกรรมมากขึ้น เนื่องจากได้มีการ
พัฒนามอเตอร์กระแสไปตรงให้ใช้กบั หุ่นยนต์
อุตสาหกรรมได้ดีข้ ึนในด้านความเร็ ว ความ
แม่นยาของการหยุด และการยกน้ าหนัก
มือหุ่นยนต์
มือหุ่นยนต์จะยึดติดกับส่ วนของหุ่นยนต์ที่เป็ น
ข้อมือ (wrist) ซึ่งสามารถหมุนได้อย่างอิสระ 3
แนวแกน คือ
แกนบิดในระนาบที่ต้ งั ฉากกับปลายแขน
แกนเงยขึ้นลงจะหมุนในระนาบตั้งฉากกับพื้น
แกนส่ ายจะหมุนในระนาบที่ขนานกับแกน
อย่างไรก็ตาม ลักษณะการใช้งานส่ วนใหญ่จะ
ทางานเพียง 2 ทิศทางเท่านั้น เช่น หุ่นยนต์ที่ใช้
ในงานเชื่อม ในลักษณะที่สมมาตร จะให้ความ
อิสระของข้อมือเพียง 2 แกนเท่านั้น
แต่ในกรณี งานที่ค่อนข้างยุง่ ยาก อาจใช้
ถึง 3 แกน ข้อสาคัญของข้อมือ โดยจะต้องสร้าง
ให้มีความมัน่ คง และมีน้ าหนักน้อยที่สุด
ระบบควบคุมหุ่นยนต์ อตุ สาหกรรม
ระบบควบคุมเป็ นสิ่ งสาคัญที่สุดของหุ่นยนต์ ทา
หน้าที่เป็ นสมองเก็บข้อมูล สัง่ หุ่นยนต์ให้ทางาน
ตรวจสอบและ ควบคุมตาแหน่งการทางาน ในบางครั้ง
สามารถตรวจสอบ ความผิดปกติของอุปกรณ์ภายใน
ได้
การทางานของอุปกรณ์ควบคุมมี 2
แบบ คือ
การควบคุมแบบวงจรปิ ด
การควบคุมแบวงจรเปิ ด
สาหรับการควบคุมแบบวงจรปิ ดนั้น อุปกรณ์
ควบคุมจะคอยตรวจสอบเปรี ยบเทียบกับ
เป้ าหมาย และควบคุมให้ได้ผลที่ถูกต้อง
ตลอดเวลา หุ่นยนต์แบบนี้จึงจาเป็ นต้องมี
อุปกรณ์ที่ตรวจสอบเป้ าหมายด้วย
แต่ในการควบคุมแบบวงจรเปิ ดอุปกรณ์ควบคุมจะ
ดาเนินการโดยมิได้ตรวจสอบเป้ าหมาย
จะเห็นได้วา่ หุ่นยนต์ที่มีการควบคุมแบบวงจร
ปิ ดจะสร้างได้ยากกว่า แต่ให้ผลที่แน่นอน
ถ้ าเราลองมองไปรอบๆตัว ก็จะพบว่ า ทุกสิ่ งทุกอย่ างก็ตกอยู่ใน
สภาวะของการควบคุมและถูกควบคุมทั้งสิ้น แม้ แต่ สภาวะของ
ธรรมชาติต่างก็พยายามควบคุมกันเอง เพือ่ ให้ พบกันจุดสมดุล
ตลอดเวลา นับแต่ สิ่งทีใ่ กล้ ตวั ทีส่ ุ ด คือการทางานของร่ างกาย
จนกระทัง่ การทางานของหุ่นยนต์ ต่ างก็ต้องอาศัยอุปกรณ์ ควบคุมทั้งสิ้น
ในการควบคุมจาเป็ นต้ องทราบตัวแปรต่ างๆทีม่ าเกีย่ งข้ องอยู่ตลอดเวลา
เช่ น เมื่อต้ องการรองนา้ ให้ ได้ ครึ่งถังพอดี ขั้นแรกจะต้ องนาถังนา้ ไป
เตรียมไว้ ที่ก๊อก ขั้นต่ อไปคือการเปิ ดปิ ดลิน้ (valve) เพือ่ ให้ นา้ ไหลลงถัง
ในขณะเดียวกันเราจะต้ องใช้ สายตาตรวจวัดระดับนา้ หากประมาณ
เกือบได้ ตามเป้าหมาย เราจึงเริ่มปรับลิน้ ก็อก เพือ่ ให้ ปริ มาณการไหล
ลดลงและปิ ดก็อก จนกระทัง่ หยุดไหลเมื่อระดับนา้ ถึงครึ่งถังพอดี คราว
นีล้ องใหม่ ถ้ าบังเอิญ
เผลอปล่ อยให้ นา้ ไหลจนเกินครึ่งถัง สิ่ งที่ต้องกระทาคือ การเทนา้
ส่ วนที่เกินออกจนได้ ระดับตามกาหนด
วิธีการข้ างต้ นนีค้ อื การควบคุมอัตโนมัตแิ บบวงจรปิ ดอย่ าง
สมบูรณ์ ตวั แปรของกระบวนการคือ อัตราการไหลระดับนา้ และ
สถานะของลิน้ ระดับนา้ จะแปรผันไปตามการปิ ดเปิ ดลิน้ อุปกรณ์ ที่
ทาให้ เกิดกระบวนการคือ มือส่ วนอุปกรณ์ ทใี่ ช้ ตรวจสอบตัวแปรและ
ส่ งสั ญญาณกลับคือตา ศูนย์ กลางหรือหัวใจของการควบคุมให้
กระบวนการเป็ นไปตามขั้นตอน และดาเนินไปสู่ เป้าหมาย
ตลอดจนการตัดสิ นใจก็คอื สมอง
หุ่นยนต์ อตุ สาหกรรมนี้ สามารถช่ วยลดต้ นทุนการผลิตของ
ผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม และสามารถทางานแทนมนุษย์ ได้ มากขึน้
เป็ นลาดับ ดังนีน้ ลักษณะของงานที่ มนุษย์ ทาในโรงงาน
อุตสาหกรรมจะค่ อยๆเปลีย่ นไป กล่ าวคือ มนุษย์ จะมีหน้ าทีค่ วบคุม
การทางาน และดูแลซ่ อมแซมหุ่นยนต์ มากกว่ าจะลงมือผลิตเอง
ส่ วนผลในระยะยาว น่ าจะนาไปสู่ สังคมทีม่ นุษย์ ใช้ เวงาทางานน้ อย
กว่ าปัจจุบัน และมีเวลาทากิจกรรมอืน่ ๆ เช่ น เล่ นกีฬา ฟังหรือเล่ น
ดนตรี อ่ านหนังสื อ ฯลฯ มากขึน้
เนื่องจากหุ่นยนต์อาจจะนาไปสู่ระบบการผลิต
ที่มีประสิ ทธิภาพยิง่ ขึ้น สังคมจึงควรจะมีกาลัง
ทางการเงินมากขึ้น และสามารถปรับปรุ ง
สิ่ งแวดล้อม เช่น ดิน พืช น้ า อากาศ ให้มี
คุณภาพดีกว่า ปัจจุบนั ได้มาก