เพื่อน ๆ คะ คอมพิวเตอร์ เป็ นอุปกรณ์ที่ใช้ในการ ประมวลผลข้อมูลให้เป็ นสารสนเทศ จุดเด่นก็คือ สามารถจัดการข้อมูล คิดคานวณตัวเลขจานวนมาก ได้อย่างรวดเร็ วและแม่นยา เก็บข้อมูลได้มาก สามารถเรี ยกค้นหรื อ คัดแยกได้อย่างถูกต้องและ รวดเร็ วด้วยนะคะ คลิกทีน่ ี่ ตามไปดูเลยค่ ะ รัชนี ภิญโญพันธุ์ โรงเรี ยนนวมินทราชินูทิศ.

Download Report

Transcript เพื่อน ๆ คะ คอมพิวเตอร์ เป็ นอุปกรณ์ที่ใช้ในการ ประมวลผลข้อมูลให้เป็ นสารสนเทศ จุดเด่นก็คือ สามารถจัดการข้อมูล คิดคานวณตัวเลขจานวนมาก ได้อย่างรวดเร็ วและแม่นยา เก็บข้อมูลได้มาก สามารถเรี ยกค้นหรื อ คัดแยกได้อย่างถูกต้องและ รวดเร็ วด้วยนะคะ คลิกทีน่ ี่ ตามไปดูเลยค่ ะ รัชนี ภิญโญพันธุ์ โรงเรี ยนนวมินทราชินูทิศ.

เพื่อน ๆ คะ คอมพิวเตอร์ เป็ นอุปกรณ์ที่ใช้ในการ
ประมวลผลข้อมูลให้เป็ นสารสนเทศ จุดเด่นก็คือ
สามารถจัดการข้อมูล คิดคานวณตัวเลขจานวนมาก
ได้อย่างรวดเร็ วและแม่นยา เก็บข้อมูลได้มาก
สามารถเรี ยกค้นหรื อ คัดแยกได้อย่างถูกต้องและ
รวดเร็ วด้วยนะคะ
คลิกทีน่ ี่ ตามไปดูเลยค่ ะ
รัชนี ภิญโญพันธุ์
โรงเรี ยนนวมินทราชินูทิศ สตรี วทิ ยา พุทธมณฑล
แต่เจ้าคอมพิวเตอร์ของเราทางานเองไม่ได้นะคะ
คอมพิวเตอร์จะทางานตามชุดคาสัง่ หรื อโปรแกรม ตาม
หลักการที่จอห์น วอน นอยแมนเสนอและใช้กนั มาจนถึง
ปัจจุบนั คือ คอมพิวเตอร์มีหน่วยความจาสาหรับเก็บ
ซอฟต์แวร์(software) และข้อมูล การทางานของ
คอมพิวเตอร์จะทางานตามโปรแกรมที่กาหนดไว้ก่อน
ล่วงหน้าแล้วตัวเครื่ องคอมพิวเตอร์ตลอดจนอุปกรณ์ต่างๆ
เรี ยกว่า ฮาร์ดแวร์ (hardware) นัน่ เอง
เราไปดูแผนภูมิการทางานของคอมพิวเตอร์กนั เลยนะคะ
คลิกที่นี่ค่ะ
รัชนี ภิญโญพันธุ์
โรงเรี ยนนวมินทราชินูทิศ สตรี วทิ ยา พุทธมณฑล
แผนภูมิการทางานของคอมพิวเตอร์
เพื่อน ๆ อยากรู้ เรื่ องใด
คลิกได้เลยค่ะ
หน่ วยความจารอง
หน่ วยรับเข้ า
หน่ วยประมวลผลกลาง
CPU
หน่ วยความจาหลัก
รัชนี ภิญโญพันธุ์
โรงเรี ยนนวมินทราชินูทิศ สตรี วทิ ยา พุทธมณฑล
หน่ วยส่ งออก
ออกจากระบบ
หน่วยรับเข้า
เมาส์ (mouse)
หน่ วยรับเข้ าเป็ นอุปกรณ์ที่นาข้อมูล
หรื อโปรแกรมเข้าไปเก็บไว้ใน
หน่วยความจาหลักและใช้
ในการประมวลผล อุปกรณ์รับเข้า
มีหลายประเภท เช่น
จอสัมผัส (touch screen)
แป้ นพิมพ์ (keyboard)
เครื่ องกราดตรวจ (scanner)
ย้อนกลับ
เครื่ องอ่านอักขระหมึกแม่เหล็ก
(Magnetic-Ink Character Recognition MICR)
รัชนี ภิญโญพันธุ์
โรงเรี ยนนวมินทราชินูทิศ สตรี วทิ ยา พุทธมณฑล
แป้ นพิมพ์ (Keyboard)
แป้นพิมพ์ (keyboard) เป็ นอุปกรณ์
ที่ทาหน้าที่รับข้อมูลโดยรับข้อมูล
จากการกดแป้ นบนแผงแป้ นอักขระ
แล้วส่ งรหัสให้กบั คอมพิวเตอร์
แผงแป้ นอักขระมาตรฐานที่นิยม
ใช้กนั มาก ในขณะนี้มีจานวนแป้ น
104 แป้ น ถึงแม้จะมีจานวนแป้ น
มากแล้วแต่การป้ อนข้อมูล ก็ยงั มี
ตัวยกแคร่ (shift) สาหรับใช้ควบคู่
กับตัวอักษรอื่น เช่น กดแป้ น shift
เพื่อเลือกตัวอักษรภาษาอังกฤษ
ตัวเล็กหรื อ ตัวใหญ่ เป็ นต้น
เพื่อน ๆ คะ แผงแป้ นอักขระที่ใช้ในประเทศไทย
สามารถใช้พิมพ์ตวั อักษรภาษาไทยได้ เนื่องจาก มี
การพัฒนาซอฟต์แวร์ที่ทางานภาษาไทย แต่ถา้ เพื่อนๆ
จะใช้คอมพิวเตอร์ให้คล่องก็ตอ้ งฝึ กพิมพ์และจาตัว
อักษรบนแป้ นพิมพ์ให้ได้นะคะ
รัชนี ภิญโญพันธุ์
โรงเรี ยนนวมินทราชินูทิศ สตรี วทิ ยา พุทธมณฑล
ย้อนกลับ
เครื่ องกราดตรวจ (scanner)
เครื่องกราดตรวจ (scanner) เป็ นอุปกรณ์
รับข้อมูลโดยใช้เทคโนโลยีของการ
ผ่านแสง เพื่อทาการถ่ายรหัส
สัญลักษณ์ หรื อรู ปภาพ แล้วให้
คอมพิวเตอร์นาไปประมวลผลต่อไป
scanner ที่นิยมใช้กนั ทัว่ ไปได้แก่
เครื่ องกราดตรวจรายหน้า (page
scanner) และ เครื่ องอ่านรหัสแท่ง
(bar code reader)
รัชนี ภิญโญพันธุ์
โรงเรี ยนนวมินทราชินูทิศ สตรี วทิ ยา พุทธมณฑล
ย้อนกลับ
เครื่ องกราดตรวจรายหน้า (page scanner)
เครื่ องกราดตรวจรายหน้า (page scanner)
เป็ นอุปกรณ์ที่ใช้อ่านรู ปภาพหรื อ
ตัวหนังสื อ เช่น ภาพถ่าย และ
สัญลักษณ์ต่าง ๆ เป็ นต้น
เพื่อน ๆ สามารถนาภาพหรื อเอกสาร มา
scan ที่เครื่ อง page scanner แล้วนามาใช้
ทางานในเครื่ องคอมพิวเตอร์ได้เลยนะคะ
รัชนี ภิญโญพันธุ์
โรงเรี ยนนวมินทราชินูทิศ สตรี วทิ ยา พุทธมณฑล
ย้อนกลับ
เครื่ องอ่านรหัสแท่ง (bar code reader)
เครื่ องอ่านรหัสแท่ง (bar code reader)
เป็ นอุปกรณ์รับเข้าที่ใช้สาหรับอ่าน
รหัสแท่ง (bar code) ซึ่ งเป็ นแถบเส้น
ที่ประกอบด้วยเส้นขนาดแตกต่างกัน
ใช้แทนรหัสข้อมูลต่าง ๆ การอ่าน
จะใช้แสงส่ องแถบเส้นทาให้เกิด
การสะท้อนเพื่อรับรหัสเข้ามา
ตีความหมาย
แถบนี้ติดกับสิ นค้าเกือบทุกชนิด ปั จจุบนั
นิยมใช้ในห้างสรรพสิ นค้า ซึ่งสามารถบอก
รหัสสิ นค้า ราคา และออกใบเสร็จรับเงิน
ได้โดยอัตโนมัติ สะดวกมากค่ะ
รัชนี ภิญโญพันธุ์
โรงเรี ยนนวมินทราชินูทิศ สตรี วทิ ยา พุทธมณฑล
ย้อนกลับ
เครื่ องอ่านอักขระหมึกแม่เหล็ก
(Magnetic-Ink Character Recognition MICR)
เครื่องอ่ านอักขระหมึกแม่ เหล็ก (Magnetic-Ink
Character Recognition MICR) ที่พบเห็น
ได้บ่อยครั้งคือ เครื่ องอ่านตัวเลขที่พิมพ์อยู่
บนตัว๋ สัญญาใช้เงิน ตัวเลขเหล่านี้มีลกั ษณะ
พิเศษที่ทาให้เครื่ องอ่านได้ เนื่องจากแต่ละ
วันธนาคารต้องรับและออกตัว๋ สัญญาใช้
เงินเป็ นจานวนมาก จึงมีการใช้เครื่ องอ่าน
ตัวเลขช่วยในการอ่าน หรื อเครื่ องอ่านตัว
เลขที่สานักงาน ไปรษณี ยใ์ ช้เพื่อช่วยแยก
จดหมายตามรหัสไปรษณี ย ์
ย้อนกลับ
เครื่ องอ่านอักขระหมึกแม่เหล็ก
ตัวเลขที่พิมพ์อยูบ่ นตัว๋ สัญญาใช้เงินที่ตอ้ งใช้
เครื่ องอ่านอักขระแม่เหล็ก
รัชนี ภิญโญพันธุ์
โรงเรี ยนนวมินทราชินูทิศ สตรี วทิ ยา พุทธมณฑล
จอสั มผัส (touch screen)
จอสั มผัส (touch screen) สามารถเป็ นได้ท้ งั
หน่วยรับเข้าและหน่วยส่ งออก จอภาพ
สามารถรับข้อมูลไปประมวลผลได้โดยการ
สัมผัสบนบริ เวณจอภาพ บริ เวณจอภาพของ
จอสัมผัสประกอบด้วยตาข่ายของลาแสง
อินฟาเรด เมื่อมีวตั ถุมาสัมผัสบนจอภาพจะมี
การส่ งสัญญาณไฟฟ้ า ซึ่งสามารถระบุ
ตาแหน่งบนจอภาพให้กบั โปรแกรมที่กาลัง
ทางานอยูไ่ ด้ การใช้งานจอสัมผัส
มีความสะดวก แต่อาจผิดพลาดจากการระบุ
ตาแหน่งบนจอภาพ ถ้าตาแหน่งบนจอภาพ
มีขนาดเล็กเกินไป จอสัมผัสประยุกต์
ใช้กบั งานหลายอย่าง
เพื่อน ๆ จะเห็นการใช้งานจอสัมผัสใน
การจองตัว๋ ชมภาพยนตร์ การจองที่นงั่
เพื่อรับประทานอาหาร
รัชนี ภิญโญพันธุ์
โรงเรี ยนนวมินทราชินูทิศ สตรี วทิ ยา พุทธมณฑล
ย้อนกลับ
เมาส์ (Mouse) แทร็กบอล (track ball) และ
ก้ านควบคุม (joystick)
แทรกบอล คือลูกกลิ้งไปมาวาง
เมาส์ เป็ นอุปกรณ์รับเข้า ที่สามารถ
เลื่อนตัวชี้ไปยังตาแหน่งที่ตอ้ งการ บน
จอภาพ เลือกคาสัง่ เลื่อน Icon เป็ นต้น
ในปัจจุบนั เมาส์มีหลายรู ปแบบให้ผใู้ ช้
สามารถเลือกได้ ตามความต้องการ
เมาส์
ก้านควบคุม มีลกั ษณะเป็ น
ก้านโยกได้หลายทิศทาง ขณะ
โยกตัวชี้บนเครื่ องคอมพิวเตอร์
จะเปลี่ยนทิศทาง ซึ่งเป็ นอุปกรณ์
ที่ใช้ในการเล่นเกม
ก้านควบคุม
ในเบ้า เราสามารถบังคับลูกกลิ้ง
ให้หมุนเพื่อควบคุมการทางาน
ตัวชี้บนจอคอมพิวเตอร์ ซึ่ งใช้กบั
เครื่ องคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก ซึ่ง
สะดวกเนื่องจากใช้พ้นื ที่นอ้ ย
แทรกบอล
รัชนี ภิญโญพันธุ์
โรงเรี ยนนวมินทราชินูทิศ สตรี วทิ ยา พุทธมณฑล
ย้อนกลับ
หน่ วยความจารอง
หน่ วยความจารอง (Secondary
Storage) เปรี ยบเสมือนสมุดบันทึก
สาหรับเก็บโปรแกรมและข้อมูล ไว้
ใช้ในโอกาสต่อไป เช่น
แผ่นบันทึก (floppy disk หรื อ diskette)
ฮาร์ดดิสก์ (hard disk)
แผ่นซี ดี (Compact Disk : CD )
ย้อนกลับ
แฮนด์ดีไดร์ฟ (handy drive)
รัชนี ภิญโญพันธุ์
โรงเรี ยนนวมินทราชินูทิศ สตรี วทิ ยา พุทธมณฑล
ฮาร์ ดดิสก์ (hard disk)
ฮาร์ ดดิสก์ (harddisk) จะประกอบด้วยแผ่นบันทึก
แบบแข็งที่เคลือบสารแม่เหล็กหลายแผ่นเรี ยงซ้อนกัน
หัวอ่านของเครื่ องขับจะมีหลายหัว ในขณะที่แผ่นบันทึก
แต่ละแผ่นหมุน หัวอ่านจะเคลื่อนที่เข้าออกเพื่ออ่าน
ข้อมูลที่เก็บบนพื้นผิวแผ่น การเก็บข้อมูลในแต่ละแผ่น
จะเป็ นวง เรี ยกแต่ละวงของทุกแผ่นว่าไซลินเดอร์
(cylinder) แต่ละไซลินเดอร์จะแบ่งเป็ นเซกเตอร์ แต่ละ
เซกเตอร์เก็บข้อมูลเป็ นชุดๆ
ฮาร์ดดิสก์เป็ นอุปกรณ์เก็บข้อมูลที่มีความจุสูงมาก
ขนาดของฮาร์ดดิสก์มีความจุเป็ นกิกะไบต์ เช่น
ฮาร์ดดิสก์ความจุ 15 กิกะไบต์ การเขียนอ่านข้อมูลบน
ฮาร์ดดิสก์จะกระทาเป็ นเซกเตอร์ และเขียนอ่านได้เร็ว
มาก เวลาที่ใช้ในการวัดการเข้าถึงข้อมูลมีหน่วยเป็ น
มิลลิวนิ าที
รัชนี ภิญโญพันธุ์
โรงเรี ยนนวมินทราชินูทิศ สตรี วทิ ยา พุทธมณฑล
ย้อนกลับ
แผ่ นบันทึก
แผ่นบันทึก (floppy disk หรือ
diskette) ไมโครคอมพิวเตอร์ ส่วน
ใหญ่มีเครื่ องขับแผ่นบันทึกอย่างน้อย
หนึ่งตัว แผ่นบันทึกที่ใช้ในปั จจุบนั
มีขนาด 3.5 นิ้ว ตัวแผ่นบันทึก
เป็ นแผ่นบางฉาบผิวด้วยสารแม่เหล็ก
อยูใ่ นกรอบพลาสติกแข็ง เพื่อป้ องกัน
การขีดข่วน
รัชนี ภิญโญพันธุ์
โรงเรี ยนนวมินทราชินูทิศ สตรี วทิ ยา พุทธมณฑล
ย้อนกลับ
floppy disk หรื อ diskette
แผ่นซีดี
แผ่ นซีดี (Compact Disk : CD ) วิวฒั นาการ
ของการใช้หน่วยความจารองได้กา้ วหน้าขึ้นเป็ น
ลาดับ ปัจจุบนั ได้มีการประดิษฐ์แผ่นซี ดี ใช้ในการ
เก็บข้อมูลจานวนมาก การเก็บข้อมูลบนแผ่นซีดี
ใช้หลักการทางแสง
ในปัจจุบนั เทคโนโลยีการผลิตแผ่น
ซีดีได้กา้ วหน้าขึ้น จนสามารถเขียน
ข้อมูลบนแผ่นซีดีได้เหมือน
ฮาร์ดดิสก์ เรี ยกว่า
อ
อปติคลั ดิสก์ (optical disk)
รัชนี ภิญโญพันธุ์
โรงเรี ยนนวมินทราชินูทิศ สตรี วทิ ยา พุทธมณฑล
ย้อนกลับ
แฮนด์ดีไดร์ฟ
แฮนด์ ดไี ดร์ ฟ (handy drive หรื อ team
drier) สามารถเก็บและลบข้อมูลได้ตาม
ต้องการและถ่ายโอนข้อมูลได้อย่าง
รวดเร็ ว handy drive นี้มีขนาดเล็ก น้ าหนัก
เบา พกพาได้สะดวก ปั จจุบนั สามารถเก็บ
ข้อมูลได้มากถึง 4 GB
ย้อนกลับ
handy drive ตอนนี้ราคาถูกลง และ
มีให้เลือกหลายขนาดมากมาย
ออกแบบรู ปร่ างสวย ๆ น่าใช้
รัชนี ภิญโญพันธุ์
โรงเรี ยนนวมินทราชินูทิศ สตรี วทิ ยา พุทธมณฑล
หน่ วยความจาหลัก
หน่ วยความจาหลัก (Primary Storage Unit)
มีหน้าที่ ในการเก็บ ข้อมูล และโปรแกรม ที่
จะให้ ซีพียู เรี ยกไป ใช้งานได้ เช่น
ROM (Read Only memory)
RAM (Random access memory)
ย้อนกลับ
รัชนี ภิญโญพันธุ์
โรงเรี ยนนวมินทราชินูทิศ สตรี วทิ ยา พุทธมณฑล
RAM
ROM
ROM (Read Only memory) หมายถึง
หน่วยความจาที่จะถูกอ่านได้อย่างเดียว
เท่านั้น โดยจะเก็บคาสัง่ หรื อโปรแกรม
ไว้อย่างถาวร แม้ปิดเครื่ องก็จะไม่ถูกลบ
ย้อนกลับ
RAM (Random access memory)
หมายถึงหน่วยความจาที่ใช้ในการ
จดจาข้อมูลหรื อคาสัง่ ขณะที่เครื่ อง
ทางาน ซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงข้อมูล
หรื อคาสัง่ ได้ตลอดเวลาที่ยงั เปิ ดเครื่ อง
แต่เมื่อปิ ดเครื่ องข้อมูลและโปรแกรม
จะถูกลบหายไป
รัชนี ภิญโญพันธุ์
โรงเรี ยนนวมินทราชินูทิศ สตรี วทิ ยา พุทธมณฑล
หน่ วยประมวลผลกลาง
หน่ วยประมวลผลกลาง (Central Processing
Unit : CPU) ทาหนาที่ เป็ น ศูนย์กลางควบคุม
การทางานของระบบคอมพิวเตอร์ท้งั หมด โดย
นาข้อมูลจากอุปกรณ์รับข้อมูลมาทางาน
ประมวลผลข้อมูลตามคาสัง่ ของโปรแกรม และ
ส่ งผลลัพธ์ออกไปหน่วยแสดงผล
CPU
ปัจจุบนั เทคโนโลยีทางด้านการผลิตวงจรอิเล็กทรอนิกส์
ก้าวหน้ามากจนถึงขั้นสามารถผลิตวงจรหน่วย
ประมวลผลกลางทั้งวงจรไว้ในชิพเพียงตัวเดียวได้ ชิพ
หน่วยประมวลผลกลางนี้ มีชื่อเรี ยกว่า
ไมโคร
โพรเซสเซอร์ แบ่งออกเป็ น 2 หน่วย คือ
หน่ วยควบคุม (Control Unit)
ย้อนกลับ
หน่ วยคานวณและตรรกะ หรือ ALU
(Arithmetic and Logic Unit)
รัชนี ภิญโญพันธุ์
โรงเรี ยนนวมินทราชินูทิศ สตรี วทิ ยา พุทธมณฑล
หน่ วยคานวณและ
ตรรกะ หรือ ALU
หน่ วยควบคุม
หน่ วยควบคุม (Control Unit) ทาหน้าที่
ประสานงานและควบคุมการทางานของ
ระบบคอมพิวเตอร์ ทางานคล้ายสมองคน
ควบคุมให้อุปกรณ์รับข้อมูลส่ งข้อมูลไปที่
หน่วยความจา
หน่ วยคานวณและตรรกะ หรือ ALU
(Arithmetic and Logic Unit) ทาหน้าที่คานวณ
ทางเลขคณิ ตและเปรี ยบเทียบทางตรรกะเพื่อ
การตัดสิ นใจ โดยรับข้อมูลจากหน่วยความจา
มาเก็บชัว่ คราว เพื่อทาการคานวณหรื อ
เปรี ยบเทียบ
รัชนี ภิญโญพันธุ์
โรงเรี ยนนวมินทราชินูทิศ สตรี วทิ ยา พุทธมณฑล
ย้อนกลับ
หน่ วยส่ งออก
หน่ วยส่ งออก (Output) ทาหน้าที่แสดงผลลัพธ์
หรื อสารสนเทศที่ได้จากการประมวลผล
ในรู ปที่มนุษย์สามารถเข้าใจ อุปกรณ์ส่งออก ที่
ใช้ใน ระบบคอมพิวเตอร์ ที่นิยม
ทัว่ ไปคือ
จอภาพ (monitor)
เครื่ องพิมพ์ (printer)
ย้อนกลับ
รัชนี ภิญโญพันธุ์
โรงเรี ยนนวมินทราชินูทิศ สตรี วทิ ยา พุทธมณฑล
จอภาพ (monitor)
จอภาพ (monitor) มีลกั ษณะเป็ นจอภาพเหมือนจอโทรทัศน์ทวั่ ไป การส่ งออกของข้อมูลจะ
ปรากฏบนจอภาพ ซึ่ งแสดงได้ท้งั ตัวอักษร ตัวเลข เครื่ องหมายพิเศษ และยังสามารถแสดงรู ปภาพ
ได้ดว้ ย จอภาพ มี 2 แบบคือ ซีอาร์ที (Cathode Ray Tube : CRT) ใช้เทคโนโลยีของหลอดรังสี
อิเล็กตรอน เช่นเดียวกับจอโทรทัศน์ในการทาให้เกิดภาพ และจอแบบแอลซี ดี (Liquid Crystral
Display : LCD) ใช้เทคโนโลยีของการบรรจุของเหลวไว้ภายในจอ เช่นเดียวกับหน้าปั ดนาฬิกาใน
ระบบตัวเลข การแสดงผลบนจอภาพจะแสดงด้วยจุดเล็กๆ ตามแนวนอนและแนวตั้ง แต่เดิม
จอภาพแสดงผลได้เพียงสี เดียว พัฒนาการต่อมาทาให้การแสดงผลเป็ นสี หลายสี ได้ นอกจากนี้ยงั มี
ความละเอียดมากขึ้น เช่น จอภาพที่ใช้กบั คอมพิวเตอร์ในปั จจุบนั แสดงผลในภาวะกราฟิ กได้อย่าง
น้อยในแนวนอน 800 จุด ในแนวตั้ง 600 จุด และแสดงสี ได้ถึงล้านสี ขนาดของจอภาพจะวัดความ
ยาวตามเส้นทแยงมุม จอภาพโดยทัว่ ไปจะมีขนาด 15 นิ้ว หรื อ 17 นิ้ว การแสดงผลของจอภาพ
ควบคุมโดยแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ซ่ ึงอยูภ่ ายในเครื่ องคอมพิวเตอร์
รัชนี ภิญโญพันธุ์
โรงเรี ยนนวมินทราชินูทิศ สตรี วทิ ยา พุทธมณฑล
ย้อนกลับ
เครื่องพิมพ์ (printer)
เครื่องพิมพ์ (printer) เป็ นอุปกรณ์
ที่ใช้กบั คอมพิวเตอร์ เป็ นอุปกรณ์
ส่ งออก ซึ่งมีหลายประเภท
ตามเทคโนโลยีการพิมพ์
เครื่ องพิมพ์ที่พิมพ์ลงบนกระดาษ
ที่นิยมใช้ มี 4 ประเภท คือ
เครื่องพิมพ์รายบรรทัด
(line printer)
เครื่องพิมพ์แบบจุด
(dot matrix printer)
เครื่องพิมพ์เลเซอร์
(laser printer)
เครื่องพิมพ์แบบพ่นหมึก
(inkjet printer)
รัชนี ภิญโญพันธุ์
โรงเรี ยนนวมินทราชินูทิศ สตรี วทิ ยา พุทธมณฑล
ย้อนกลับ
เข้าสู่ ระบบ
รัชนี ภิญโญพันธุ์
โรงเรี ยนนวมินทราชินูทิศ สตรี วทิ ยา พุทธมณฑล