กลุุ่่มที่ 4 ซอฟต์แวร์ ปี 54

Download Report

Transcript กลุุ่่มที่ 4 ซอฟต์แวร์ ปี 54

หน่ วยที่ 4
ซอฟต์ แวร์
ความหมายของซอฟต์ แวร์
ซอฟต์ แวร์ (Software) หมายถึง ชุดคาสัง่
หรื อโปรแกรมที่ใช้สงั่ งานให้คอมพิวเตอร์ทางาน
ตามลาดับขั้นตอนการทางานที่เขียนขึ้นด้วยภาษา
ของคอมพิวเตอร์ คาสัง่ เหล่านี้เรี ยงกันเป็ น
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
ประเภทของซอฟต์ แวร์
ซอฟต์ แวร์ ระบบ (systems software)
ประกอบด้วย
1. ระบบปฏิบตั ิการ
2. Utility โปรแกรมอรรถประโยชน์
3. Divide driver
4. ตัวแปลภาษา
ซอฟต์ แวร์ ประยุกต์
(application software)
1. ซอฟต์ แวร์ ทั่วไป /ซอฟต์ แวร์ พนื้ ฐาน
2. ซอฟต์ แวร์ เฉพาะด้ าน /ซอฟต์ แวร์ ระดับสู ง
1. ซอฟต์ แวร์ ระบบ
ซอฟต์แวร์ระบบ หมายถึง ชุดคาสัง่ หรื อ
โปรแกรมที่ทาหน้าที่ในการควบคุมการทางาน
ของคอมพิวเตอร์รวมทั้งอุปกรณ์ต่าง ๆ และเป็ น
ตัวกลางประสานงานระหว่างผูใ้ ช้กบั
คอมพิวเตอร์
1.1 ระบบปฏิบัติการ
ทาหน้าที่ควบคุมดูแลการทางานภายใน
ระบบคอมพิวเตอร์ และเป็ นตัวกลางในการ
ประสานการทางานของฮาร์ดแวร์ และ
ซอฟต์แวร์ต่าง ๆ เพื่อตอบสนองความ
ต้องการของผูใ้ ช้อย่างมีประสิ ทธิภาพ
ประเภทของระบบปฎิบัติการ
1. ระบบปฏิบัติการแบบฝังตัว ติดตั้งอยูใ่ น
หน่วย ความ จารอม ใช้กบั คอมพิวเตอร์
ขนาดเล็กและมือถือ เช่น Palm OS, Pocket
PC 2002
2. ระบบปฏิบตั ิการแบบเครื อข่าย/
ระบบปฏิบตั ิการไคลแอนต์เซิร์ฟเวอร์
(Client/Server)
ทาหน้าที่ควบคุมการทางานของคอมพิวเตอร์ที่
มีการเชื่อมต่อกัน โดยติดตั้งไว้ที่ตวั เครื่ องแม่
ข่าย (Network Server) เช่น Window NT,
Window XP, UNIX
3. ระบบปฏิบัติการบนเครื่องเดีย่ ว
ติดตั้งบนเครื่ องคอมพิวเตอร์แบบตั้ง
โต๊ะ เป็ นระบบปฏิบตั ิการที่สาคัญและ
มีผใู ้ ช้งานมากที่สุด เช่น Dos, OS/2,
Mac OS
ตัวอย่ างของระบบปฏิบัติการ
ดอส (DOS)
มีลักษณะการทางานเป็ นแบบงานเดี่ยว (Single-tasking)
เริ่มมีใช้ ครั้งแรกบนเครื่อ IBM PC ปี ค.ศ. 1981 เรียกว่ า
โปรแกรม PC DOS และบริษัทไมโครซอฟต์ ก็พัฒนา
MS-DOS ขึน้ มาใช้ กับกับเครื่ องคอมพิวเตอร์ ทั่ วไปและ
ได้ รับความนิยมอย่ างแพร่ หลาย
ดอสมีลกั ษณะการทางานแบบ Command Line
ซึ่งดอสจะติดต่ อกับผู้ใช้ ด้วยการพิมพ์ คาสั่ ง ที่แบ่ ง
คาสั่ งออกเป็ น คาสั่ งภายนอก และคาสั่ งภายใน ไม่
มีกราฟฟิ กให้ ใช้ เรียกว่ า ทางานในโหมดตัวอักษร
(Text Mode)
C:\>dir c:\windows\*.Doc
ข้ อดี ใช้ ทรัพยากรของระบบน้ อย เช่ น มี
ฮาร์ ดดิสก์ มีหน่ วยความจาน้ อย ซีพยี ูร่ ุน
เก่ า ๆ
ข้ อเสี ย ผู้ใช้ ใช้ งานไม่ สะดวกเพราะ
ต้ องจาและพิมพ์คาสั่ งให้ ถูกต้ อง
โปรแกรมจึงจะทางาน
ตัวอย่ างการทางาน
คาสัง่ DIR (Directory) ใช้เพื่อแสดงรายชื่อไฟล์ (Filename)
ใน Disk Drive หรื อไดร์ฟ a: สามารถพิมพ์คาสัง่ ได้ดงั นี้
วินโดว์ (Windows)
 ปี
ค.ศ. 1990 บริษัทไมโครซอฟต์ ผลิตวินโดว์ 3.0
 ใช้ การทางานระบบกราฟิ กเพือ
่ ให้ ผู้ใช้ ใช้ งานง่ าย
และสะดวก เรียกว่ า GUI (Graphic User
Interface) โดยใช้ ภาพเล็ก ๆ เรียกว่ า ไอคอน
(Icon) และใช้ เมาส์ แทนคีย์บอร์ ด
• สามารถท าให้ คอมพิว เตอร์ ท างานได้ ม ากกว่ า
หนึ่ งโปรแกรมในขณะเดีย วกัน เรี ยกว่ า มั ล ติ
ทาสกิง้ (Multitasking)
• แต่ วนิ โดว์ กย็ งั คงต้ องอาศัยระบบปฏิบัติการดอส
ทาการบูตเครื่องเพือ่ เริ่มต้ นระบบก่อน
วินโดว์ 95 (Windows 95)
• ปี ค.ศ. 1995 ใช้ กบั เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ ทั่วไป
มีลกั ษณะฮาร์ ดแวร์ และหน่ วยความจาสู งกว่ าดอส
• มีรูปแบบการติดต่ อกับผู้ใช้ (User Interface) เป็ น
กราฟิ กทาให้ ง่ายและสะดวกต่ อการใช้ งานการใช้ งาน
ควบคุมโปรแกรมโดยใช้ เมาส์ เป็ นส่ วนใหญ่ ผู้ใช้
ไม่ ต้องจาคาสั่ ง
• มีความสามารถคือ เตรี ยมโปรแกรมสาหรั บการ
ควบคุ มการเชื่ อ มต่ อ อุป กรณ์ ภายนอกไว้ จานวนมาก
สามารถตรวจสอบอุปกรณ์ ทนี่ ามาเชื่อมต่ อใหม่ ได้ อย่ าง
อัตโนมัติ การทางานในลักษณะนี้เรียกว่ า Plug and
Play
• ลั ก ษณะเด่ น คื อ มี ค วามสามารถเชื่ อ มโยงเข้ า สู่ ใน
ระบบเครือข่ ายแบบจุดต่ อจุด (Peer-to-Peer) เพื่อใช้
ทรัพยากรของระบบเครือข่ ายร่ วมกัน
วินโดว์ 98 (Windows 98)
• ถูกพัฒนามาจากวินโดว์ 95 สามารถทางาน
แบบหลายงาน (Multi-Tasking OS) มีผู้ใช้ ใน
ระบบเพียงคนเดียวแบบ Single-User OS
• ติดต่ อกับผู้ใช้ แบบ GUI
• ปรับปรุงพัฒนาระบบการทางานต่ าง ๆ ให้ มีความ
ง่ ายและสะดวกเพิ่มมากขึ้น มีรูป แบบให้ สวยงาม
อัตโนมัติยงิ่ ขึน้
• สามารถเชื่ อมต่ อกับระบบเครื อข่ ายอินเตอร์ เน็ต
ได้ ส ะดวกยิ่ ง ขึ้น มี โ ปรแกรมส าหรั บ การสื บ ค้ น
ข้ อ มู ล ทางอิ น เตอร์ เน็ ต มาพร้ อม คื อ โปรแกรม
Internet Explore
ข้ อดี คือ ผู้ใช้ สามารถใช้ งานได้ อย่ างสะดวกมากกว่ า
วินโดว์ 95 มีซอฟต์ แวร์ ประยุกต์ ต่าง ๆ สนั บสนุ น
การทางานเป็ นจานวนมาก รองรั บการใช้ งานด้ า น
อินเตอร์ เน็ตได้ ดี
ข้ อเสี ย ต้ องการทรั พยากรของระบบ ได้ แก่ หน่ วย
ประมวลผล หน่ วยความจา ฮาร์ ด ดิสก์ อุป กรณ์
มัลติมีเดียสู ง คอมพิวเตอร์ ที่มีประสิ ทธิภาพต่าไม่
สามารถติตตั้งวินโดว์ 98 ได้
วินโดว์ ME (Millennium Editor)
• วางขาย ก.ย. 2000 เป็ นระบบปฏิบัติการที่ถูก
พัฒนาขึน้ มาเพือ่ แก้ไขจุดบกพร่ องของวินโดว์
98 ลักษณะการทางานคล้ายกับวินโดวส์ 98
• เหมาะสาหรับใช้ งานตามบ้ านเพราะสนับสนุน
ระบบมัลดิมีเดียทีส่ มบูรณ์ แบบ
• สามารถสร้ างภาพเคลือ่ นไหว วีดีโอ และเกมส์ มาก
ขึน้
• สนับสนุนการเชื่อมต่ อระบบเครือข่ ายอินเทอร์ เน็ต
ลักษณะการทางานบางอย่ างจะคล้ ายกับวินโดว์ 2000
เช่ น การติดตั้งซอฟต์ แวร์ ใหม่ วินโดว์ ME ผู้ใช้ ไม่
ต้ อ งบู ท เครื่ อ งใหม่ แต่ ฟั ง ค์ ชั่ น การท างานยั ง คง
เหมือนกับวินโดว์ 98
วินโดว์ 2000 (Windows 2000)
• เกิดมาเพือ่ ตอบสนองต่ อ ระบบเครือข่ าย
• OS ที่สร้ างขึน้ มาเป็ น GUI ตั้งแต่ ต้น การ
ทางานระบบ Multi-Tasking และ Multi-User
ใช้ งานได้ ดกี ว่ าตระกูลวินโดว์ 95 และ 98
• ควบคุมขบวนการทางานของแต่ ละโปรแกรมได้ ดี
ขึน้ เหมาะสาหรับใช้ ในงานสานักงานมากกว่ าที่จะใช้
ที่บ้าน
• จุดเด่ นของวินโดว์ 2000 คือ การต่ อเชื่อมระบบ
เครือข่ ายและระบบรักษาความปลอดภัยที่มี
ประสิ ทธิภาพสู งและสนับสนุน Multilanguage
วินโดว์ XP (Windows XP)
• ถูกพัฒนาโดยการผสมผสนาน Windows 2000
และ Windows NT ทาให้ Windows XP แตกต่ าง
จากวินโดว์ ร่ ุ นก่ อน ๆ โดยสิ้นเชิง เช่ น หน้ าตาของ
Desktop เปลีย่ นไป การสนุบสนุนฮาร์ ดแวร์
หลากหลายขึน้ การทางานมีประสิ ทธิ ภาพและมี
ความเสถียรมากขึน้
• วินโดว์ ที่Windows XP มี 2 รุ่ น คือ
1. Windows XP Home Edition ซึ่งเหมาะ
สาหรับผู้ใช้ ตามบ้ านทีไ่ ม่ เชื่อมต่ อกับเครือข่ าย
2. Windows XP Professional Edition
ซึ่ ง เหมาะกับ ผู้ ใ ช้ ง านในองค์ ก รตั้ ง แต่ ข นาดเล็ก ถึ ง
ขนาดใหญ่ ที่ใช้ เชื่อมต่ อระบบเครือข่ ายได้
• ข้ อเสี ยของ Windows XP คือต้ องใช้
ทรัพยากรมาก เช่ น ซีพยี ู เพนเทียม 300 MHz
ขึน้ ไป แรมไม่ ต่ากว่ า 128 MB ฮาร์ ดดิสก์ เหลือ
พืน้ ที่ว่างมากกว่ า 1.5 GB
วินโดว์ NT (Windows NT)
• เป็ นระบบปฏิบัติการที่มีความสามารถในการจัดการ
เครื อข่ ายระยะใกล้ (LAN)
โดยจัดการด้ านการ
ติดต่ อสื่ อสารระหว่ างคอมพิวเตอร์ และการรักษาความ
ปลอดภัยในเครื อข่ ายได้ เป็ นอย่ างดี เหมาะสาหรั บ
ติดตั้งบนเครื่องแม่ ข่าย (Server)
• วินโดว์ เอ็นทีเวอร์ ชั่นพิเศษเรียกว่ า Windows NT
Advanced Server เป็ นระบบปฏิบัติการที่สามารถ
ทางานหลาย ๆ งานพร้ อมกันได้ และขยายขีด
ความสามารถให้ รองรับงานด้ านเน็ตเวิร์กขนาดใหม่
ยูนิกซ์ (Unix)
• ถูกพัฒนาโดยนักวิทยาศาสตร์ ที่ Bell
บริษัท AT&T
ของ
• เป็ นระบบปฏิ บั ติ ก ารที่ แ พร่ หลายมากบน
เครื่ อ งมิ นิ ค อมพิ ว เตอร์ เครื่ อ งเมนเฟรม และ
เวิร์กสเตชั่น
• เป็ นระบบปฏิบัตกิ ารที่ใหญ่ และค่ อนข้ างสลับ
ซับซ้ อน
• มีความสามารถสู งสามารถใช้ งานในลักษณะมัลติ
ทาสกิง้ และแบบมัลติยูสเซอร์
• ใช้ ในการควบคุมการทางานของศูนย์ คอมพิวเตอร์ ที่
มีการเชื่อมลูกข่ ายคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ ต่อพวง
เป็ นจานวนมาก มักใช้ กบั ระบบเครือข่ ายขนาดใหญ่
และมีการเชื่อมต่ อเครือข่ ายในระยะไกล
ลีนุกซ์ (Linux)
• เป็ นระบบปฏิบัติการที่แจกฟรี (Open Source)
บนเครือข่ ายอินเทอร์ เน็ต
• สามารถท างานได้ หลาย ๆ งานพร้ อมกั น
เป็ นมัลติทาสกิง้ และมัลติยูเซอร์ สามารถทางาน
บนเครือข่ ายด้ วยความรวดเร็ว
• เริ่มแรกระบบปฏิบัตกิ ารลีนุกซ์ ได้ ถูกพัฒนาขึน้ ใช้
กับเครื่อง PC แต่ ปัจจุบันลีนุกซ์ ได้ ถูกปรับปรุ งให้ ใช้
กับเครื่องแมกอินทอซ และอีกหลายแพลทฟอร์ ทา
ให้ มีผู้สีนุกซ์ เพิม่ มากขึน้
แมค โอเอส เอ็กซ์ (Mac OS X)
เป็ นระบบปฏิบัติการของแมคอินทอซ มีความสามารถ
ในการทามัลติทาสกิง้ และสามารถใช้ งานต่ าง ๆ กัน เช่ น
ท าการพิม พ์ ใ นขณะที่ใ ช้ เ ครื่ อ งคอมพิว เตอร์ อยู่ ก็ไ ด้
เหมาะกั บ งานในด้ า นเดสทอปพั บ ลิ ซ ซิ่ ง (Desktop
Publishing) ซึ่ งหมายถึง การออกแบบและพิมพ์
เอกสารหนั ง สื อ โดยใช้ โปรแกรมคอมพิ ว เตอร์
เปรียบเสมือนโรงพิมพ์ต้งั โต๊ ะ
2. ยูทลิ ตี หี้ รือโปรแกรมอรรถประโยชน์
(Utility Program)
เป็ นโปรแกรมพิเศษที่ออกแบบมาเพือ่ ช่ วย
การทางานภายในเครื่องให้ สามารถทางานได้ ง่าย
ขึน้ และทางานได้ ตลอดเวลาโดยไม่ มีปัญหาใด ๆ
เกิดขึน้ เช่ น ฮาร์ ดดิสก์เสี ย ไวรัสเข้ าเครื่อง
ยูทลิ ตี ที้ จี่ าเป็ นสาหรับการใช้ งานได้ แก่
1. โปรแกรมปรับแก้ ปัญหา
2. โปรแกรมป้ องกันไวรัส
3. โปรแกรมยกเลิกการติดตั้ง
4. โปรแกรมสารองข้ อมูล
5. โปรแกรมบีบอัดไฟล์
Disk Cleanup
เป็ นยูทิลิต้ ีที่ใช้สาหรับเพิม่ เนื้อที่บนฮาร์ดดิสก์โดย
อัตโนมัติ โดยการลบไฟล์ที่ไม่จาเป็ นออก
Disk Defragmenter
เป็ นยูทิลิต้ ีที่ใช้สาหรับจัดระเบียบการใช้เนื้อที่ของ
ไฟล์ต่างๆ บนฮาร์ดดิสก์
3. ดีไวซ์ ไดรเวอร์ (Device Driver)
ใช้ ตดิ ต่ อระหว่ างอุปกรณ์ ต่าง ๆ ของเครื่อง เช่ น เมาส์
เครื่อพิมพ์ ให้ สามารถติดต่ อกับระบบคอมพิวเตอร์ ได้
เรียกว่ า “ไดรเวอร์ ” ระบบปฏิบัติ การจะทาการโหลด
ดีไวซ์ ไดรเวอร์ ทุกตัวลงสู่ หน่ วย ความจาเพือ่ ให้
อุปกรณ์ สามารถทางานได้ เช่ น ไดรเวอร์ ของเมาส์
ไดรเวอร์ ของพริ้นเตอร์
4. ตัวแปลภาษา (Language transtator)
โปรแกรมเมอร์ จะเขี ย นโปรแกรมสั่ ง เครื่ อ งด้ ว ย
ภาษาเครื่อง (Machine Language) ซึ่งเป็ นเรื่องน่ าเบื่อ
และยุ่งยาก เพือ่ ให้ ง่ายและสามารถติดต่ อกับการใช้ เครื่อง
ให้ ดีขึ้น จึงมีการสร้ างตัวแปลภาษาเพื่อใช้ เป็ นเครื่ องมือ
สาหรั บพัฒนาซอฟต์ แ วร์ ประยุก ต์ ใหม่ ๆ โดยทาหน้ าที่
แปลภาษาให้ อยู่ในรู ปตัวเลข 0 กับ 1 เพื่อให้ คอมพิวเตอร์
ทางาน
ประเภทตัวแปลภาษา
1. คอมไพเลอร์ (Compiler)
ทาหน้ าที่แปลภาษาระดับสู งให้ เป็ นภาษาเครื่ อง
ทางานด้ วยการแปลโปรแกรมต้ นฉบับทั้งโปรแกรมเก็บ
ไว้ เมื่ อ มี ก า ร เรี ย ก ใ ช้ จ ะต ร วจ ส อ บค า สั่ ง ว่ า มี
ข้ อผิดพลาดกับโปรแกรมต้ นฉบับหรือไม่ ถ้ ามี จะบอก
ข้ อผิดพลาดให้ แก้ ไข ถ้ าไม่ มีข้อผิดพลาดก็จ ะทาตาม
คาสั่ งนั้นทันที
การใช้ คอมไพเลอร์ จึงทาให้ ต้องใช้ เนือ้ ที่ใน
หน่ วยความจามากว่ าอินเทอร์ พรีทเตอร์ ภาษาที่
ใช้ คอมไพเลอค์ แปล ได้ แก่ ภาษา C , COBOL,
FORTRAN, PL/1, TURBO BASIC,
PASCAL
2. อินเตอร์ พรีทเตอร์ (Interperter)
เป็ นโปรแกรมที่ ใ ช้ แปลภาษาระดั บ สู ง ให้ เ ป็ น
ภาษาเครื่อง การแปลจะแปลทีละคาสั่ งและทางานตาม
คาสั่ งนั้นทันที และจะหยุดทางานเมื่อพบข้ อผิดพลาด
แล้ วรายงานข้ อผิดพลาดออกมาทาให้ การแก้ ไขทาได้
รวดเร็ว และง่ าย เมื่อได้ รับการแก้ ไขก็จะเริ่ม แปลคาสั่ ง
ใหม่ ทุกครั้ งทาให้ การทางานล่ าช้ าจึงมีการทางานแบบ
ลักษณะแบบวนซ้า (Loop)
ภาษาที่ใช้ อนิ เตอร์ พรีทเตอร์ แปล เช่ น ภาษา BASICA,
GWBASIC, dBase
3. แอลแซมเบอร์ (Assember)
เป็ นตัวแปลภาษาแอสแซมบลีซึ่งเป็ นภาษา
ระดับต่าให้ เป็ นภาษาเครื่อง
ซอฟต์ แวร์ ประยุกต์
(Application Software)
เป็ นโปรแกรมที่โปรแกรมเมอร์ เขียนขึ้น เพื่อ
ใช้ ในการทางานเฉพาะอย่ าง โดยเขียนด้ วยภาษา
คอมพิวเตอร์ ภาษาใดภาษาหนึ่ง เพือ่ ให้ คอมพิวเตอร์
ท างานประมวลผลให้ ไ ด้ ผ ลลั พ ธ์ ที่ ต้ อ งการ เช่ น
ระบบเงินเดือน ระบบสิ นค้ าคงคลัง
ประเภทของซอฟต์ แวร์ ประยุกต์ มี 2 ประเภท
1. ซอฟต์ แวร์ ทั่วไป / ซอฟต์ แวร์ พนื้ ฐาน (General
Purpose Application Software / Basic
Application Software
2. ซอฟต์ เฉพาะด้ าน / ซอฟต์ แวร์ ระดับสู ง(Seceific
Purpose Application Software / Advanced
Application Software
1. ซอฟต์ แวร์ ทวั่ ไป / ซอฟต์ แวร์ พนื้ ฐาน
เ ป็ น ซ อ ฟ ต์ แ ว ร์ ที่ นิ ย ม ใ ช้ บ น
ไมโครคอมพิวเตอร์ ท้ังที่ทางานหรือที่บ้านเพือ่ ใช้
ส าหรั บ การท างานหรื อ เพื่ อ การศึ ก ษา อาจมี
โปรแกรมเป็ นลักษณะแพ็กเก็จที่บรรจุหลาย ๆ
โปรแกรมอยู่รวมกันเช่ น ชุด MS-Office
ซอฟต์ แวร์ ทนี่ ิยมใช้
1. ซอฟต์ แวร์ เบราว์ เซอร์ (Brower)
ใช้ติดต่อกับเว็บไซต์ ใช้ในการเปิ ดและโอนย้ายไฟล์ แสดง
ข้อความ รู ปภาพ เช่น Microsoft Internet Explore,
Netscape Navigator
2. ซอฟต์ แวร์ ประมวลคา
(word processing)
ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการสร้าง
แก้ไข บันทึกและพิมพ์
เอกสารที่ประกอบด้วย
ตัวอักษรเป็ นหลัก เช่น
จดหมาย, รายงาน
3. ซอฟต์ แวร์ ตารางทางาน (Spreadsheet software)
ใช้ในการจัดเรี ยง วิเคราะห์ และสร้างกราฟ
ข้อมูลประกอบด้วยตัวเลขเป็ นหลัก
4. ซอฟต์ แวร์ จดั การฐานข้ อมูล(database)
เรี ยกว่า ระบบการจัดการฐานข้อมูล (DBMS) ใช้สร้าง
ฐานข้อมูล ที่เก็บในรู ปตารางหลาย ๆ ตารางที่เชื่อมโยง
กันเรี ยกว่า ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
5. ซอฟต์ แวร์ นาเสนอ (presentation )
ใช้รวบรวมวัตถุ (ข้อความ รู ปภาพ รู ปวาด)
หลาย ๆ ชนิดมาสร้างงานเพื่อให้เกิดความน่าสนใจ
2. ซอฟต์ เฉพาะด้ าน / ซอฟต์ แวร์ ระดับสู ง
ถูกพัฒนาขึน้ มาให้ ใช้ สาหรับงานเฉพาะด้ าน เช่ น โปรแกรม
บัญชี โปรแกรมควบคุมหุ่นยนต์ ซึ่งในการพัฒนาจะ
เลือกใช้ ภาษาทีเ่ หมาะสมกับงานเช่ น ปาสคาล โคบอล
เบสิ ก ภาษาซี ซอฟต์ แวร์ เฉพาะด้ านได้ แก่
1. ซอฟต์ แวร์ กราฟิ ก
2. ซอฟต์ แวร์ สื่อประสม (Multimedia)
3. ซอฟต์ แวร์ สร้ างเว็บไซต์
4. ซอฟต์ แวร์ ปัญญาประดิษฐ์ และผู้เชี่ยวชาญ
1. ซอฟต์ แวร์ กราฟิ ก
เป็ นโปรแกรมกราฟิ กเฉพาะทีผ่ ้ ูเชี่ยวชาญสามารถใช้ ความรู้
ทางด้ านศิลปะเข้ ามาประยุกต์ ใช้ กบั คอมพิวเตอร์ แบบตั้งโต๊ ะ
เพือ่ สร้ างงานสิ่ งพิมพ์ต่าง ๆ ซอฟต์ แวร์ กราฟิ ก ได้ แก่
1. โปรแกรมการจัดการพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์ แบบตั้งโต๊ ะ
2. โปรแกรมลงสี ภาพ
3. โปรแกรมแก้ ไขภาพ
4. โปรแกรมวาดภาพ
1.1 โปรแกรมการจัดพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์ แบบตั้งโต๊ ะ
เป็ นโปรแกรมทีร่ วมข้ อความและภาพกราฟิ กไว้ เพื่อสร้ าง
ผลงานประเภทสื่ อสิ่ งพิมพ์
เช่ น วารสาร แผ่ นพับ
หนังสื อพิมพ์ หนังสื อเรียน
โปรแกรมทีใ่ ช้ ได้ แก่
Adobe PageMaker,
Adobe inDesign
1.2 โปรแกรมลงสี ภาพ
เป็ นโปรแกรมทีใ่ ช้ อุปกรณ์ เสมือนการลงสี ภาพจริง ๆ และ
สามารถวาดภาพดิจิทลั และสร้ างภาพบิตแมท ซึ่งเป็ นภาพ
ทีส่ ร้ างขึน้ จากจุดต่ าง ๆ
นับพันจุด และจุดนั้นเรียกว่ า
ฟิ กเซล โปรแกรมทีใ่ ช้
เช่ น Paintbrush
1.3 โปรแกรมแก้ไขภาพ
เป็ นโปรแกรมใช้ สาหรั บแก้ ไขและปรั บปรุ งภาพให้ ดีขึน้ ซึ่ ง
โปรแกรมมักมีตัวกรอง (Fitter) หลายแบบ ทาให้ สามารถใส่
ลูกเล่ นพิเศษและลวดลายเข้ าไปในภาพได้ รวมทั้งมีอุปกรณ์
ในการลงสี เหมือนแปรง
และปากกาให้ ใช้ โปรแกรม
ทีใ่ ช้ เช่ น
Adobe Photoshop
1.4 โปรแกรมวาดภาพหรือโปรแกรมเขียนภาพ
เป็ นโปรแกรมทีใ่ ช้ สาหรับวาภาพดิจิทลั และแก้ ไขภาพ
เวกเตอร์ โปรแกรมทีใ่ ช้ เช่ น CorelDraw,
Adobe IIIustrator ,
Macromedis FreeHand
2. ซอฟต์ แวร์ สื่อประสม
ใช้ สาหรับการสร้ างงานนาเสนอที่มีลักษณะเนื้อหามี
ลาดับขั้นตอน โดยรวมสื่ อหลาย ๆ แบบเข้ าด้ วยกัน ในการ
น าเสอนครั้ ง หนึ่ ง เช่ น วี ดี ทั ศ น์ เสี ย งเพลง เสี ยงพู ด
กราฟิ กและข้ อ ความ มั ก พบในวี ดี โ อเกม ท าให้ เ กิ ด มี
ลักษณะโต้ ตอบกับผู้ใช้ (Interactivity) ทาให้ ผ้ ูใช้ สามารถ
เลือกสารสนเทศที่ต้องการาจะชม และควบคุมขั้นตอนใน
การชมสารสนเทศนั้ นได้ ด้วยตนเอง โปรแกรมที่ใช้ เช่ น
Auotrware, Macromedia Direetor
โปรแกรมค้ นหาข้ อมูล
โปรแกรมทีช่ ่ วยในการค้ นหา
ข้ อมูลจากแหล่ งข้ อมูลต่ าง ๆ
บนเครือข่ ายจากอินเตอร์ เน็ต
เป็ นซึ่งข้ อมูลทีไ่ ด้ จะอยู่ในรู ปแบบสื่ อประสม คือ สามารถ
ดูภาพ อ่ านข้ อความ ฟังเสี ยงและดูวดี โอภายในเว็บไซต์ ได้
โปรแกรมทีใ่ ช้ เช่ น WWW, อาร์ ซี (Archie) โกเฟอร์
(Gopher)
โปรแกรมด้ านการติดต่ อสื่ อสาร
เป็ นโปรแกรมที่ใช้ ในการติดต่ อสื่ อสาร
กับผู้อนื่ ได้ สะดวก รวดเร็วและ
ประหยัดเวลาและค่ าใช้ จ่าย โดย
สามารถและเปลีย่ นความคิดเห็นและ
ข่ าวสารแก่ กนั สามารถโอนย้ าย
แฟ้มข้ อมูล สามารถคุยโต้ ตอบกันได้
เช่ น Newsgroup, FTP, ICQ, MS
Chat
3. ซอฟต์ แวร์ สร้ างเว็บไซต์
เป็ นโปรแกรมสาหรับการออกแบบเว็บไซต์ ที่เป็ นรู ปแบบ
สื่ อผสมแบบโต้ ตอบของการสื่ อสาร โดยสร้ างแฟ้ มเอกสาร
แสดงเนือ้ หาของเว็บ
4. ซอฟต์ แวร์ ปัญญาประดิษฐ์ และผู้เชี่ยวชาญ
เป็ นสาขาหนึ่ ง ของวิท ยาการคอมพิว เตอร์ ที่ พ ยายามพัฒ นา
ระบบคอมพิวเตอร์ ให้ สามารถจาลองประสาทสั มผัส กระบวนการคิดและ
ท่ าทางต่ าง ๆ ของมนุ ษย์ และการใช้ ประสาทสั มผส เช่ น การมองเห็ น
หรือการจับสิ่ งของต่ าง ๆ แบ่ งออกได้ 2 ประเภท
1. ความเป็ นจริงเสมือน (Virtual reality : VR)
เป็ นการจาลองความจริ งให้ อยู่ในรู ปแบบ 3 มิติโดยใช้ คอมพิวเตอร์ สร้ าง
ขึน้ และมีอุปกรณ์ ที่มีเซนเซอร์ ควบคุมเฉพาะที่สวมบนศีรษะและถุงมือ
เพือ่ รับข้ อมูลการเคลือ่ นไหวสาหรับจาลองทางเลือกเสมือนความเป็ นจริง
ทางกายภาพ เช่ น การจาลองการบิน การจาลองการผ่ าตัด และเกม
2. ฐานความรู้ / ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Knowledge based / Expert
system)
เป็ นการคัดลอกความสามารถพิเศษของมนุษย์ มาเก็บไว้ ยังคอมพิวเตอร์
เพื่อใช้ คอมพิวเตอร์ ทาการตัดสิ นใจ หรื อวิเคราะห์ ปัญหาให้ เ หมือนกับมี
ผู้ เ ชี่ ย วชาญมาท าการตั ด สิ น ใจเอง การเก็ บ ความรู้ ของมนุ ษ ย์ เ ข้ า สู่
ฐานความรู้ คือ การรวบรวมค่ าความจริง (facts)และสร้ างกฎ (ruler) เพือ่
เชื่ อมโยงความสั มพันธ์ ของค่ าความจริ งเหล่ านั้น ซึ่ งผู้เชี่ ยวชาญสามาร
สร้ าง ฟัซซีลอจิก (fuzzy logic) เป็ นการเปิ ดโอกาสให้ ผู้ใช้ สามารถตอบ
คาถามเหมือนกับความรู้สึกได้
3. หุ่นยนต์ ศาสตร์ (Robotics)
เป็ นการสร้ างเครื่องจักรทีถ่ ูกควบคุมด้ วยคอมพิวเตอร์ ทสี่ ามารถเลีย่ น
แบการเคลือ่ นไหวของสิ่ งต่ าง ๆ ได้ แบ่ งออกเป็ น 3 ประเภท
1. หุ่นยนต์ ทสี่ ามารถรับรู้ได้ โดยปกติจะมีกล้องติดอยู่
2. หุ่นยนต์ โรงงาน เช่ น หุ่นยนต์ ผลิตรถยนต์
3. หุ่นยนต์ ทเี่ คลือ่ นทีไ่ ด้ เช่ น หุ่นยนต์ เก็บกู้ระเบิด หุ่นยนต์
ค้ นหาผู้ประสบภัย
ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer Language)
ภาษาคอมพิวเตอร์ คือ ภาษาที่ผู้เขียนโปรแกรมใช้ เขียนขุดคาสั่ ง
เพื่อสั่ งให้ เครื่ องทางานตามที่ผู้ใช้ ต้องการ ซึ่งภาษาคอมพิวเตอร์ ที่
ใช้ งานอยู่ในปัจจุบันแบ่ งเป็ นหลายประเภทแต่ ละประเภทก็มีความ
เหมาะสมกับ การใช้ ง านที่ แ ตกต่ า งกัน ภาษาคอมพิว เตอร์ แ บ่ ง
ออกเป็ น 3 ประเภท
1. ภาษาเครื่อง (Machine Language)
2. ภาษาระดับต่า (Low Language)
3. ภาษาระดับสู ง (High Language)
1. ภาษาเครื่อง (Machine Language)
คือ ภาษาที่เขียนขึน้ โดยใช้ รหัสเลขฐานสอง คือ 0 กับ 1 มาเรียง
กัน เป็ นสั ญญาณสั่ งให้ คอมพิวเตอร์ ทางาน
2. ภาษาระดับต่า (Low Language)
คือ ภาษาที่เขียนโดยการนาอักษรภาษาอังกฤษมาแสดงเป็ นรหัส
หรือคาย่ อ เพือ่ สั่ งให้ เครื่องคอมพิวเตอร์ ทางานหรือเรียกว่ า ภาษา
สั ญญาลักษณ์ (Symbolic Language) เช่ น ภาษาแอสแซมบลี
(Assembly Language) ซึ่งต้ องมีตัวแปลภาษาที่เรียกว่ า แอสแซม
เบลอร์ (Assembler) เป็ นตัวเปลีย่ นสั ญญาลักษณ์ ให้ เป็ นภาษาเครื่อง
3. ภาษาระดับสู ง (High Language)
คือ ภาษาที่เขียนขึน้ โดยการใช้ ภาษาที่มนุษย์ สามารถเข้ าใจได้ และ
ใช้ งานได้ ง่าย การเขียนภาษาไม่ ขึ้นอยู่กับการทางานของเครื่ อง
เพียงผู้เขียนสามารถเข้ าใจกฎเกณท์ ในการเขียนภาษาแต่ ละภาษา
ให้ ดกี ส็ ามารถสั่ งเครื่องคอมพิวเตอร์ ให้ ทางานได้ ซึ่ งลักษณะคาสั่ ง
จะคล้ ายกับภาษาอังกฤษและต้ องอาศั ยโปรแกรมแปลภาษา 2 ตัว
คื อ อิ น เทอร์ พรี ท เตอร์ และ คอมไพเลอร์ ในการแปลเป็ น
ภาษาคอมพิวเตอร์ เพือ่ ให้ คอมทางาน
ยุคของภาษาโปรแกรม
ยุคที่ 1 ภาษาเครื่ อง
ยุคที่ 2 ภาษาระดับต่า หรื อ ภาษาสัญญาลักษณ์
ยุคที่ 3 ภาษาระดับสูง
ยุคที่ 4 ภาษาเชิงคาถาม หรื อภาษาระดับสูงมาก สร้างมาสาหรับ
แก้ไขปั ญหาเฉพาะทาง แบ่งเป็ นภาษาสื บค้น และตัวสร้าง
โปรแกรมประยุกต์
ยุคที่ 5 ภาษาธรรมชาติ หรื อ ภาษาระดับสูงสุ ด พัฒนาให้สามารถ
ใช้ภาษาที่มนุษย์คุน้ เคย เช่น อังกฤษ ญี่ปุ่น จึน ฯลฯ เพื่อติดต่อกับ
คอมพิวเตอร์ ได้ ปั จจุบนั กาลังอยูร่ ะหว่างการพัฒนา
ภาษาคอมพิวเตอร์ ทไี่ ด้ รับความนิยม
ภาษาเบสิ ก (BASIC)
พัฒนาโดย John Kemeny และ Thomas Kurtz ในปี ค.ศ.
1963 เป็ นภาษาถูกออกแบบให้ ใช้ งานง่ าย เหมาะสาหรับผู้ที่
เริ่มต้ นศึกษาการเขียนโปรแกรม จึงเป็ นภาษาที่นิย มนามาใช้
ในการสอนวิช าการเขี ย นโปรแกรมคอมพิว เตอร์ เ บื้อ งต้ น
นิยมใช้ กับเครื่ องไมโครคอมพิวเตอร์ และมินิคอมพิ วเตอร์
ตัวอย่ างโปรแกรม เช่ น GW-BASIC, QuickBASIC
วิชวลเบสิ ก (Visual Basic)
พัฒนาโดยบริษัทไมโครซอฟต์ รุ่ นแรกออกจาหน่ ายในใน
เดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1991 ภาษาวิชวลเบสิ กเป็ นการนา
โครงสร้ างของภาษาเบสิ กมาใช้ แต่ พฒ
ั นาหน้ าจอสาหรับ
ออกแบบส่ วนติ ด ต่ อกั บ ผู้ ใช้ งานโปรแกรม (User
Interface) จึงทาให้ เป็ นภาษาที่เข้ าใจได้ ง่าย และเหมาะ
สาหรับการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ ทวั่ ไป
ภาษาโคบอล (COBOL)
พัฒนาช่ วงต้ นของ ค.ศ. 1960 ด้ วยความร่ วมมือของรัฐบาล
สหรัฐอเมริกา องค์ การธุรกิจ และมหาวิทยาลัยชั้นนา ภาษา
โคบอลเป็ นภาษาที่มีคาสั่ งคล้ ายคลึงกับภาษาอังกฤษ ทาให้
เข้ าใจง่ าย ถูกออกแบบมาเพื่อใช้ งานด้ านทางธุ รกิจและด้ าน
อุตสาหกรรม นิยมใช้ กับงานธุ รกิจขนาดใหญ่ เช่ น งานด้ าน
บัญชี งานเก็บประวัติข้อมูล เหมาะกับไฟล์ ข้อมูลขนาดใหญ่
แต่ มีข้อเสี ยคือ การทางานค่ อนข้ างช้ า และไม่ เหมาะกับงาน
คานวณที่สลับซับซ้ อน
ภาษาปาสคาล (PASCAL)
นักคณิตศาสตร์ ชาวฝรั่งเศส ชื่อ Blaise Pascal เป็ นผู้สร้ าง
ปาสคาลเป็ นภาษาที่มีโครงสร้ างทีด่ เี ยีย่ ม ทาให้ การทางาน
ของโปรแกรมมีประสิ ทธิภาพดีมาก เทอร์ โบปาสคาล
(Turbo Pascal) เป็ นรุ่นทีน่ ิยมเพราะมันสามารถบอก
ข้ อผิดพลาดของการเขียนโปรแกรมเพือ่ ให้ แก้ไขโปรแกรม
ได้ ง่าย แต่ มันก็มีข้อยกเว้ นและมีเครื่องหมายมาก ทาให้ ลด
ความคล่องตัวในการใช้ งานลงไป
ภาษาฟอร์ แทรน (FORTRAN)
เ ป็ น ภ า ษ า ที่ เ ห ม า ะ ใ น ง า น ด้ า น วิ ท ย า ศ า ส ต ร์
วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ซึ่งเป็ นงานที่มั กใช้ การ
ประมวลผลที่ซั บ ซ้ อน เหมาะกับ งานที่ เ กี่ยวข้ องกั บ การ
คานวณ ลักษณะของภาษาอยู่ ในลัก ษณะที่คล้ ายกับ สู ต ร
หรือสมการทางคณิตศาสตร์ ภาษาฟอร์ แทรนไม่ เหมาะกั บ
งานพิมพ์ หรืองานที่ต้องการเก็บข้ อมูลเป็ นไฟล์ เพราะคาสั่ ง
ด้ านนีม้ นี ้ อย ปัจจุบันไม่ นิยมใช้
ภาษา C และ C++
เป็ นภาษาที่เขียนโปรแกรมแบบโครงสร้ าง มีรูปแบบคาสั่ ง
ค่ อนข้ างอิสระ มีคาสั่ งและฟั งก์ ชันมาก การเขี ยนคาสั่ งใน
ภาษาซี จะใช้ คาสั่ งสั้ น กะทัตรัด จึงทาให้ ภาษาซีทางานเร็ว
สามารถใช้ งานได้ หลายประเภท สามารถควบคุมฮาร์ ดแวร์
ได้ ภาษาซี ถูกนามาใช้ ในการเขียนโปรแกรมสาเร็ จรู ป และ
ในการพัฒนาโปรแกรมหลายอย่ าง เช่ น UNIX,
CU
Writer, Word processors
ภาษา HTML
เป็ นภาษาที่มกี ฎเกณฑ์ และโครงสร้ างเฉพาะตัว ใช้ สาหรับ
เขียนเว็บเพจบนอินเตอร์ เน็ต โดยสามารถเขียนเชื่อมโยงกับ
เอกสารในรูปของข้ อความ รูปภาพ วีดโี อ และเสี ยงได้
ภาษาจาวา (Java)
ภาษาที่พฒ
ั นาโดยบริษทั Sun Microsystems ภาษาจาวาเป็ น
ภาษาโปรแกรมเชิงวัตถุทมี่ โี ครงสร้ างของภาษาคล้ าย C++
มีลกั ษณะเด่ นคือ สามารถทางานได้ บนระบบปฏิบัติ การที่
แตกต่ างกัน นาไปใช้ ในการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ ทวั่ ไป
ภาษาอัลโกล (ALGOL)
เป็ นภาษาโครงสร้ างใช้ กั บ งานด้ า นวิ ท ยาศาสตร์ และ
คณิ ต ศาสตร์ ลั ก ษณะภาษาคล้ า ยกั บ ภาษาฟอร์ แทรน
ลักษณะโปรกรมจะแยกออกเป็ นส่ วน ๆ เรี ยกว่ าโปรแกรม
ย่ อย เหมาะสาหรั บใช้ กับงานที่ตรรกะซั บซ้ อน ค่ อนข้ าง
ยุ่งยากแก่ การศึกษาและการนาไปใช้
ภาษาพีแอลวัน (PL/I)
เป็ นภาษาที่ พั ฒ นาเพื่ อ ใช้ งานธุ ร กิ จ และวิ ท ยาศาสตร์
โดยรวมเอาข้ อ ดี ข องภาษาฟอร์ แ ทนที่ ส ามารถท าการ
ค านวณได้ ดี กับ ภาษาโคบอลที่ ส ามารถจั ด ไฟล์ แ ละท า
รู ป แบบรายงานได้ ร วม เข้ า ด้ ว ยกั น ภาษาพี แ อลวั น
ต้ องการเนื้อที่ในหน่ วย ความจามากจึงต้ องใช้ กั บเครื่ อง
ขนาดใหญ่ ที่ มี ง านใหญ่ ๆ ที่ ต้ อ งการความเร็ ว ในการ
ประมวลผล
ไวรัสคอมพิวเตอร์
คือ โปรแกรมหรื อชุดคาสัง่ ที่ทาหน้าที่บอกให้
คอมพิวเตอร์ทางานตามโปรแกรม โดยส่ วน
มากจะทาลายแฟ้ มข้อมูล แผ่นดิสก์ หรื อ
ฮาร์ดดิสก์
อาการที่ติดไวรัส






การทางานช้าลง
มีขอ้ ความประหลาด ๆ เกิดขึ้นบนหน้าจอ
ขนาดไฟล์ใหญ่ข้ ึน
เครื่ องหยุดการทางานไปเฉย ๆ โดยไม่มีสาเหตุ
ไฟล์โปรแกรมถูกลบทาให้เรี ยกใช้งานไม่ได้
เครื่ องบูตขึ้นมาใหม่ในขณะที่ทางาน
ประเภทไวรัส
1. ประเภททีอ่ ยู่ใน Boot Sector ไวรัสตัวนี้จะถูก
โหลดเข้าไปซ่อนตัวในหน่วยความจา จะแพร่
กระจายต่อไปยังแผ่นดิสก์ จะทาลายได้ดว้ ยวิธี
ฟรี ฟอร์ตแมต (Preformat) เช่น Stoned, Print
Sereen Invader, Bloody, Asuze
2. ประเภทที่เกาะติดไฟล์ .COM หรือ .EXE ที่
เก็บงานไว้ในแผ่นดิสก์ ซึ่งจะเกาะติดส่ วนหัว
หรื อท้ายไฟล์ทาให้ไฟล์มีขนาดใหญ่ข้ ึน ไม่
สามารถโหลดไฟล์ข้ ึนมาใช้งานได้และไฟล์น้ นั
จะเสี ยไปในที่สุด เช่น Keypreds, Taiwan 3,
Friday13
3. ประเภททีอ่ ยู่ในหน่ วยความจาชั่วคราว
(RAM) มักมาจะการใช้โปรแกรมหรื อเล่นเกมส์
โดยจะเข้าสู่หน่วยความจาและแพร่ กระจายไป
ยังแผ่นดิสก์อื่น ๆ ที่นามาใช้กบั เครื่ อง มันจะไม่
เกิดปฏิกิริยาใด ๆ จนกว่าจะถึงเวลาที่กาหนดไว้
ให้เริ่ มงาน
4. ประเภทเกาะติดไฟล์ทมี่ นี ามสกุล .DOC
หรือ .DOT ไวรัสประเภทนี้จะเริ่ มทางานทันที
โดยมีการฝังตัวอยูใ่ นหน่วยความจา ไวรัสจะ
ทาให้โปรแกรมกระโดดข้ามไปที่ไวรัสซึ่ งอยู่
ท้ายโปรแกรมก่อน แล้วจึงมาทางานตาม
โปรแกรมปกติ เช่น Word_Cab, Word_Johny