Decision Support System Development

Download Report

Transcript Decision Support System Development

Decision Support System
Development
อ. นฤเศรษฐ์ ประเสริ ฐศรี , อ.สาธิต แสงประดิษฐ์
สาขาวิชาภูมิสารสนเทศ
คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
เนือ้ หา (1/2)
แนวทางการพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ
 ทีมงานในการพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ
 ระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจทีพ
่ ฒ
ั นาโดยผู้ใช้ ระดับต่ าง ๆ
 การติดตั้งระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ
 เครื่องมือทีใ่ ช้ ในการพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ
 แนวทางสู่ ความสาเร็ จในการพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ
 ปัจจัยทีม
่ ีผลต่ อการพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ

เนือ้ หา (2/2)
กลยุทธ์ ในการพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ
 การรวมระบบ (System Integration)
 รู ปแบบทัว่ ไปของการรวมระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ
 รู ปแบบการรวมระบบ ES และ DSS
 การรวมระบบระหว่ าง EIS, DSS และ ES
 ระบบ DSS ที่ชาญฉลาด
 การจัดการแบบจาลอง และสร้ างแบบจาลองทีช
่ าญฉลาด

แนวทางการพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ
วงจรการพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle: SDLC)
 Parallel Development
 Rapid Application Development (RAD)

 Phased Development
 Prototyping
 Throw-Away Prototyping

Object-Oriented Analysis and Design
*******ปรับปรุ ง
วงจรการพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle:
SDLC)








การวางแผน (Planning)
การวิเคราะห์ (Analysis)
การออกแบบ (Design)
การพัฒนาระบบ (Implementation)
การทดสอบ (Testing)
การตรวจสอบข้ อผิดพลาด (Debugging)
การติดตั้งระบบ (Installation)
การดูแลรักษาระบบ (Maintenance)
Planning
Analysis
Design
Implementation
Testing
Debugging
Installation
Maintenance
วงจรการพัฒนาระบบ
Computer-Aided System Engineering Tools: CASE Tools

โปรแกรมประยุกต์ หรื อ ซอฟต์ แวร์ ชนิ ดหนึ่ งของเทคโนโลยีสารสนเทศ ทีช่ ่ วย
พัฒนาระบบ คอยสนับสนุ นการทางานในแต่ ละขั้นตอนของการพัฒนา ด้ วยการ
เตรี ยมฟังก์ ชันการทางานต่ าง ๆ ที่ช่วยให้ การทางานแต่ ละขั้นตอนมี ความรวดเร็ ว
และมีคุณภาพมากขึน้ เช่ น Oracle Enterprise Development Suit, Rational
Rose, Logic Works Suite เป็ นต้ น โดยที่ CASE Tools ถูกแบ่ งออกเป็ น 2 ช่ วง
อ้างอิงจาก SDLC คือ
 Upper-CASE ช่ วยงานในขั้นตอนต้ นๆของการพัฒนาระบบ เช่ น การวางแผน การวิเคราะห์
และการออกแบบ
 Lower-CASE ช่ วยงานในขั้นตอนสุ ดท้ ายในการพัฒนาระบบ เช่ น การออกแบบ การพัฒนา
การตรวจสอบ และการดูแลรักษาระบบหลังการติดตั้ง
Development Methodology
Parallel Development
 Rapid Application Development (RAD)

 Phased Development
 Prototyping
 Throw-Away Prototyping
Parallel Development
แบ่ งระบบทั้งหมดออกเป็ นระบบย่ อย จาแนกตามองค์ ประกอบ
หลักของระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ ได้ แก่
ระบบการจัดการข้ อมูล (Data Management System)
 ระบบการจัดการแบบจาลอง (Model Management System)
 ระบบจัดการองค์ ความรู้ (Knowledge Management System)
 ระบบจัดการสื่ อประสานกับผู้ใช้ (User Interface Management System)

จากนั้นเริ่ มพัฒนาระบบย่ อย ไปพร้ อม ๆ กัน จนเสร็ จ แล้ ว นามา
รวมเป็ นระบบใหญ่ 1 ระบบ
Rapid Application Development (RAD)

เป็ น Methodology ที่ว่าด้ วยการปรั บระยะในวงจรการพัฒนาระบบ ให้ มีข้ั นตอน
การท างานที่ ร วบรั ด มากขึ้น มี ก ารเลื อ กเครื่ อ งมื อ (Tools)
และเทคนิ ค
(Techniques) ต่ า งๆ เพื่ อ ช่ วยในการพั ฒ นาระบบสนั บ สนุ น การตั ด สิ น ใจนั้ น
ดาเนินการได้ อย่ างรวดเร็ว อีกทั้งผู้ใช้ ระบบยังสามารถทดลองใช้ โปรแกรมต้ นแบบ
เพื่ อ บอกนั ก พั ฒ นาระบบได้ ว่ า ระบบที่ อ อกแบบมานั้ น ถู ก ต้ อ งหรื อ ไม่ และมี
ข้ อผิดพลาดใดเกิดขึน้ บ้ าง

ข้ อเสี ย คือ การเปลี่ยนแปลงความต้ องการของผู้ใช้ อยู่ตลอดเวลา เนื่องจากผู้ใช้ ได้
ทดลองใช้ โปรแกรมต้ นแบบทีส่ ามารถสร้ างและแก้ไขได้ โดยง่ าย
Phased Development
Analysis
Planning
Design
Analysis
Implementation
Analysis
Design
Implementation
System
Vorsion 2
System
Vorsion 1
*******ปรับปรุ ง
Phased Development

เป็ นวิธีการพัฒนาโดยแบ่ งระบบออกเป็ น Version เพื่อพัฒนาครั้ งละ
Version ตามลาดับ
 Version 1 จะพัฒนาตามความต้ องการที่สาคัญที่สุดก่ อน โดยนาความต้ องการ
เหล่ านั้นมาวิเคราะห์ (Analysis) ออกแบบ (Design) และพัฒนาระบบ
(Implement) จนเป็ น Version 1 ที่สามารถติดตั้งและใช้ งานจริงได้ แล้ วจึงเริ่ม
พัฒนาระบบ Version 2 ต่ อไป
 Version 2 จะนาระบบจาก Version 1 มาวิเคราะห์ ความต้ องการอีกครั้ ง และ
เพิม่ ความต้ องการใหม่ เข้ าไป จากนั้นจึงออกแบบ และพัฒนาเป็ น Version 2
ปฏิบัติเช่ นนีไ้ ปจนกระทัง่ ได้ Version ทีส่ มบูรณ์ ทสี่ ุ ด
 ข้ อดี ผู้ใช้ สามารถใช้ ระบบได้ อย่ างรวดเร็ ว แม้ ว่าระบบ Version 1 จะยังไม่
สามารถทางานได้ ครอบคลุมหน้ าทีท่ ุกส่ วนงานก็ตาม
 ข้ อเสี ย ผู้ใช้ ต้องรอระบบทีส
่ มบูรณ์ (ต่ อจาก Version 1)
การจัดทาต้ นแบบ (Prototyping)
การพัฒนาต้ นแบบ หรื อระบบขนาดเล็ก ที่สามารถใช้ งานระบบได้
บางส่ วน เพื่ อ ให้ ส ามารถตรวจสอบความต้ อ งการของผู้ ใ ช้ ได้ อ ย่ าง
รวดเร็ ว ทาให้ เราทราบทิศทางในการพัฒ นาระบบว่ า ด าเนิ น ไปอย่ า ง
ถูกต้ อง ตรงกับความต้ องการ
สาเหตุของการนา Prototype มาใช้ พฒ
ั นาระบบ
สามารถพัฒนาได้ ตรงตามความต้ องการของผู้ใช้
 การยอมรับจากผู้ใช้ งานระบบ
 การพัฒนาระบบแบบมีส่วนร่ วม (Joint Application Development
Method: JAD) ระหว่ าง ผู้ใช้ ผู้พฒ
ั นาระบบ และผู้บริหาร
 ต้ นทุนต่า และใช้ เวลาในการพัฒนาระบบน้ อย

Prototype –base Methodology
วิธีการพัฒนาที่นักพัฒนาระบบสามารถดาเนินการในขั้นตอน วิเคราะห์ ออกแบบ
พั ฒ นาระบบไปพร้ อมๆ กั น แล้ วสร้ างเป็ นตั ว ต้ นแบบของระบบ (System
Prototype) ที่สามารถทางานได้ จริ งในบางส่ วนของระบบหรื อทีละส่ วน ซึ่ งอาจ
เรี ยกว่ า “ระบบต้ นแบบ” แล้ วนาตัวต้ นแบบของระบบนั้ นเสนอให้ ผ้ ูใช้ ระบบได้
ทดลองใช้ งาน เพื่อเก็บความต้ องการที่เหลือ และข้ อคิดเห็นของระบบ จากนั้นนา
ความต้ องการที่เพิ่ม และข้ อคิดเห็นมาวิเคราะห์ และออกแบบ และพัฒนาต้ นแบบ
ส่ วนที่ 2 จากนั้นจึงนาไปให้ ผ้ ูใช้ งานทดลองใช้ และปรั บปรุ งไปเรื่ อยๆจนกว่ าจะ
เสร็ จสิ้ นสมบู รณ์ เป็ นต้ นแบบที่ทางานได้ สมบู รณ์ จึงเรี ยกต้ นแบบนั้นว่ า “ระบบ
ใหม่ ”
ข้ อเสี ย การสร้ างต้ นแบบของระบบทีละส่ วน
ด้ วยความเร็วในขณะทีม่ ีการรวบรวม วิเคราะห์ และ
ออกแบบไปพร้ อมๆ กัน ทาให้ ขาดความรอบคอบ
ในการตระหนักถึงปัญหาที่จะเกิดขึน้ ตามมา เมือ่ ติดตั้ง
และใช้ งานระบบ
Prototyping
Planning
Analysis
Design
Implementation
Reject
*******ปรับปรุง
Accept
System
Prototype
Implementation
System
ข้ อดี คือ ใช้ เวลาน้ อยในการพัฒนา
ระบบผู้ใช้ งานสามารถทดลองใช้ งาน
ต้ นแบบก่ อนติดตั้งระบบ ทาให้ สามารถระบุ
ข้ อผิดพลาดและความต้ องการที่แท้ จริงได้
Throw-Away Prototyping
Planning
Accept
Design
Analysis
Design
Design
Prototype
Implementation
Implementation
System
Reject
*******ปรับปรุง
Throw-Away Prototyping

เป็ นการพัฒนาแบบ Prototyping ในส่ วนของ การสร้ างต้ นแบบระบบ
โดย Prototype ที่ได้ จะไม่ ใช่ ต้นแบบระบบที่จะนาไปใช้ งานจริ ง แต่ ทา
เพือ่ เก็บรวบรวมข้ อมูลความคิดเห็นและความต้ องการของผู้ใช้ (Design
Prototype) อาจเรียกว่ า “ต้ นแบบใช้ แล้วทิง้ (Throw-Away Prototype)”
การจัดทาต้ นแบบ (Prototyping)

การพัฒนาระบบแบบมีส่วนร่ วม (Joint Application Development
method: JAD) ระบบงานที่ได้ ผ่านการยอมรับจากผู้ใช้ แล้ ว เนื่องจากแต่
ละขั้ น ตอนของการพั ฒ นาระบบ ต้ อ งอาศั ย ความร่ วมมื อ ระหว่ า ง
นักพัฒนาระบบ ผู้ใช้ และผู้บริหาร
การจัดทาต้ นแบบ (Prototyping)

ข้ อดี

ข้ อเสี ย
 ใช้ เวลาในการพัฒนาระบบน้ อย
 ขาดความเข้ าใจเกี่ยวกับเป้ าหมายและ
 ใช้ เวลาในการรอผลตอบสนองจากผู้ใช้
ค่ าใช้ จ่ายในการพัฒนาระบบ
 ยากต่ อ การควบคุ ม ความสอดคล้ อ ง
ของส่ วนประกอบต่ าง ๆ ของระบบ
 ต้ องทาการทดสอบบ่ อยครั้ง
 ยากต่ อการบารุ งรักษา (Maintenance)
ไม่ มาก
 ช่ วยให้ ผ้ ูใช้ สามารถเข้ าใจระบบดีขน
ึ้
 ค่ าใช้ จ่ายน้ อย
ทีมงานในการพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ
ผู้ใช้ งานระบบ (Users)
 นักวิเคราะห์ ระบบและออกแบบระบบ (System Analyst)
 โปรแกรมเมอร์ (Programmer)
 ผู้เชี่ ยวชาญทางด้ านเทคนิค (Technical Expert)
 ผู้บริหารโครงการ (Project Manager)

ระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจทีพ่ ฒ
ั นาโดยผู้ใช้ ระดับต่ าง ๆ


ระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจทีพ่ ฒ
ั นาโดยผู้ใช้ (End User-Developed DSS)
เช่ น ผู้ใช้ งานใช้ MS Excel ในการช่ วยตัดสิ นใจ
เหมาะสาหรับปัญหาทีไ่ ม่ มีความซับซ้ อน หรือเป็ นปัญหาทีม่ ีโครงสร้ าง
ระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจทีพ่ ฒ
ั นาโดยทีมงานเฉพาะ (Team-Developed DSS)
เหมาะสาหรั บระบบขนาดใหญ่ ที่ใช้ แก้ ปัญหาที่มีความซั บซ้ อนสู ง ปัญหาที่ไม่ มี
โครงสร้ าง และปัญหากึง่ โครงสร้ าง
การติดตั้งระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ
การติดตั้งแบบทันทีทนั ใด (Direct Installation)
 การติดตั้งแบบขนาน (Parallel Installation)
 การติดตั้งแบบนาร่ อง (Pilot Installation)
 การติดตั้งแบบทยอยติดตั้งเป็ นระยะ (Phase Installation)

การติดตั้งแบบทันทีทันใด (Direct Installation)
เป็ นวิธีการติดตั้งระบบงานใหม่ ทนั ที และยกเลิกการใช้ งานระบบเก่าโดย
ทันทีเช่ นเดียวกัน
ยกเลิกการใช้ งานระบบเดิม
 ข้ อดี

 เสี ยค่ าใช้ จ่ายน้ อย

ข้ อเสี ย
ระบบเก่า
ระบบใหม่
 มีความเสี่ ยงสู ง
ติดตั้งระบบใหม่
เวลา
การติดตั้งแบบขนาน (Parallel Installation)

เป็ นวิธีการติดตั้งที่มีค่าใช้ จ่ายค่ อนข้ างสู ง เนื่องจากมีการดาเนินการ 2
ระบบไปพร้ อม ๆ กัน
ยกเลิกการใช้ งานระบบเดิม
ระบบเก่า
ติดตั้งระบบใหม่
ระบบใหม่
ใช้ ระบบใหม่ พร้ อมกับระบบเก่า
เวลา
การติดตั้งแบบนาร่ อง (Pilot Installation)
เป็ นวิธีการที่มีการใช้ งานระบบใหม่ เพียงหน่ วยเดียวขององค์ กร เพือ่ เป็ น
การนาร่ อง แล้วค่ อยปรับเปลีย่ นทั้งองค์ กร เมื่อระบบใหม่ ลงตัวแล้ว
 เช่ นแรกๆ ใช้ ระบบใหม่ ในแผนกจัดซื้อแผนกเดียวก่ อน
 ข้ อดี

 เสี ยค่ าใช้ จ่ายน้ อยกว่ า 2 วิธีแรก
ติดตั้งระบบใหม่
ระบบเก่า
ระบบใหม่
เวลา
ใช้ ระบบใหม่ แต่ ระบบเก่ ายังคงใช้ งานอยู่
การติดตั้งแบบทยอยติดตั้งเป็ นระยะ (Phase Installation)

เป็ นวิธีการที่มีการใช้ ระบบงานใหม่ เพียงบางส่ วนก่ อนระยะหนึ่ งควบคู่
ไปกับระบบงานเก่ า แล้ วจึงค่ อย ๆ ทยอยใช้ ระบบงานใหม่ เพิ่มขึ้ นที่ละ
ส่ วน จนครบทุกส่ วนของระบบงานใหม่ อย่ างเต็มรู ปแบบ ซึ่ งมีลกั ษณะ
คล้ ายระบบนาร่ อง คือ เริ่ มจากจุดเดียวก่ อน แตกต่ างกันตรงทีว่ ิธีแบบ
ทยอยติดตั้งเป็ นระยะ จะไม่ คานึงถึงสถานที่ แต่ คานึงถึง ระบบงานย่ อย
โดยการติดตั้งทีละระบบ อาจจะเป็ นการกระจายไปตามสาขาต่ าง ๆ ที่ มี
การใช้ งานระบบงานย่ อยนั้น เมื่อระบบงานย่ อยนั้นสมบูรณ์ แล้ว จึงเริ่ ม
นาระบบงานย่ อยต่ อไปมาใช้ งาน
การติดตั้งแบบทยอยติดตั้งเป็ นระยะ (Phase Installation)
ระบบเก่า A
ระบบใหม่ Phase 1
ระบบเก่า B
ติดตั้งระบบใหม่
ระบบใหม่ Phase 2
ระบบใหม่ Phase 3
เริ่มใช้ ระบบใหม่
Phase 1
เวลา
เริ่มใช้ งานระบบใหม่ Phase 3
ขนานกับ Phase 2
เริ่มใช้ งาน Phase 2 ขนานกับระบบเก่า และระบบใหม่ Phase 3
เครื่องมือทีใ่ ช้ ในการพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ

ระดับของเครื่องมือสาหรับพัฒนาระบบ DSS
 (DSS Primary Tools)
 (DSS Generator Tools)
 (Specific DSS)
ประเภทของเครื่องมือทีใ่ ช้ พฒ
ั นาระบบ DSS
 การคัดเลือกเครื่องมือทีใ่ ช้ พฒ
ั นาระบบ DSS

เครื่องมือเริ่มต้ นสาหรับพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ
(DSS Primary Tools)
ภาษาโปรแกรม (Programming Language)
 โปรแกรมทางด้ านกราฟิ ก (Graphic Program)
 โปรแกรมในการเรียบเรียงและรวบรวมสารสนเทศ (Editor Program)
 ระบบสอบถามข้ อมูล (Query System)
 เครื่องมือสร้ างตัวเลขสุ่ ม (Random Number Generator)
 ฯลฯ

เครื่องมือสาหรับสร้ างระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ (DSS
Generator Tools)

เป็ นซอฟต์ แวร์ สาเร็จรู ปที่ใช้ พฒ
ั นาระบบ DSS ได้ อย่ างง่ ายดาย รวดเร็ว
และประหยัด โดยซอฟต์ แวร์ จะมีความสามารถในการสร้ างแบบจาลอง
สร้ างรายงาน และแสดงผลกราฟิ ก เช่ น Microsoft Excel, OLAP
System, LINGO, LINDO เป็ นต้ น
โปรแกรมระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ (Specific DSS)

“DSS Application” ซอฟต์ แวร์ ที่ได้ จากการดาเนินการพัฒนาระบบจน
ครบทุ ก ขั้ น ตอน ซึ่ ง จะได้ โ ปรแกรมส าหรั บ สนั บ สนุ น การตั ด สิ น ใจ
โดยเฉพาะ
ความสั มพันธ์ ระหว่ างเครื่องมือสามระดับที่ใช้ พัฒนาระบบ
สนับสนุนการตัดสิ นใจ
Specific DSS
DSS Generator (Spreadsheet…)
DSS Primary Tools (Language…)
รู ปแสดงความสั มพันธ์ ระหว่ างเครื่องมือทั้ง 3 ระดับ ที่ใช้ ในการพัฒนาระบบ DSS
ประเภทของเครื่องมือทีใ่ ช้ พฒ
ั นาระบบ DSS

พัฒนา DSS โดยใช้ โปรแกรมภาษาทัว่ ๆ ไป (Programming Language)
 Visual Basic, COBOL, …, Etc.

ภาษายุค 4 GL
 โปรแกรมภาษาเชิ งวัตถุ (Object-Oriented Language)
 โปรแกรมกระดานคานวณ (Spreadsheet)
 โปรแกรมภาษาทางด้ านการเงิน (Financial Language)

การประมวลผลเชิ งวิเคราะห์ แบบออนไลน์ (Online Analytical Processing:
OLAP)
ประเภทของเครื่องมือทีใ่ ช้ พฒ
ั นาระบบ DSS

เครื่องมือสาหรับสร้ างระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ (DSS Generator)
 Microsoft Excel, Lotus Note 1-2-3

เครื่ องมื อ ส าหรั บ สร้ างระบบสนั บ สนุ น การตัด สิ น ใจเพื่อแก้ ปัญ หาเฉพาะอย่ า ง
(Specific DSS)
 วิเคราะห์ ด้านการเงิน การตลาด หรือ การผลิต เป็ นต้ น


CASE Tools เป็ นเครื่ องมือที่ใช้ พัฒนาระบบ DSS ที่มีขนาดใหญ่ และมีความ
ซับซ้ อนมาก
เครื่ องมือผสมผสาน (Mixed Tools) เป็ นการนาเครื่ องมือต่ าง ๆ ข้ างต้ นมา
ประยุกต์ ใช้ เพือ่ สร้ างระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ
การคัดเลือกเครื่องมือที่ใช้ พฒ
ั นาระบบ DSS
อุปสรรคในการคัดเลือกเครื่องมือ





นักพัฒนาระบบ ยังไม่ มีข้อมูลเกี่ยวกับความต้ องการสารสนเทศและผลลัพธ์ ที่ผ้ ูใช้
ต้ องการได้ รับจากระบบอย่างเพียงพอ
การคัด เลือกเครื่ องมือ เนื่ องจากความหลากหลายของโปรแกรมสนั บ สนุ นการ
ตัด สิ นใจส าเร็ จรู ปมีจ านวนมาก จึ งจ าเป็ นต้ องมีการศึ กษาความเหมาะสมของ
เครื่องมือแต่ ละชนิด
ราคาของเครื่องมือทีใ่ ช้ พฒ
ั นาระบบ
การเชื่อมโยงระหว่ างระบบย่อยหลาย ๆ ระบบ
ความคิดเห็นที่ไม่ ตรงกันของทีมงาน
แนวทางสู่ ความสาเร็จในการพัฒนาระบบสนับสนุนการ
ตัดสิ นใจ
การวัดผลความสาเร็จของการพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ
 สาเหตุของความล้ มเหลวในการพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ

การวัดผลความสาเร็จของการพัฒนาระบบสนับสนุนการ
ตัดสิ นใจ






ระยะเวลาในการพัฒนาระบบ
ค่ าใช้ จ่ายในการพัฒนาระบบ
ทัศนคติขององค์ กรที่มีต่อระบบ
ความพึ ง พอใจของผู้ บ ริ ห ารที่ มี ต่ อ
ระบบ
การใช้ งานระบบ
ผลตอบแทนทีไ่ ด้ รับ (กาไร)




การให้ ความร่ วมมื อ ของผู้ ใช้ ใน
ระหว่ างการพัฒนาระบบ
การฝึ กอบรมผู้ใช้ งานระบบ
การสนับสนุนจากผู้บริหารระดับสู ง
แหล่งสารสนเทศทีน่ ามาใช้
สาเหตุของความล้ มเหลวในการพัฒนาระบบสนับสนุนการ
ตัดสิ นใจ




ไม่ มี ก ารวางเป้ าหมายที่ชั ด เจนของ
ระบบก่อนพัฒนา
ไม่ มีก ารกาหนดทีมงานก่ อนเริ่ มต้ น
โครงการพัฒนาระบบ
ผู้ บ ริ ห ารโครงการ ควบคุ ม หลาย
โครงการ
ขาดการติดต่ อประสานงานระหว่ าง
ผู้ บ ริ ห า ร โ ค ร ง ก า ร แ ล ะ เ จ้ า ข อ ง
โครงการ

ผู้ บ ริ ห ารหรื อ ผู้ ใ ช้ งานระบบไม่ ใ ห้
ความร่ วมมือ
ปัจจัยทีม่ ผี ลต่ อการพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ

ปัจจัยทางด้ านเทคนิค (Technical Factor)
ระบบทีด่ ตี ้ องไม่ ซับซ้ อน เร็ว



ปัจจัยทางด้ านพฤติกรรม (Behavioral Factor)
พฤติกรรมของผู้ใช้ ต่อระบบงาน บางองค์ กรบุคลากรที่คุ้ยเคยกับเทคโนโลยี
จะสามารถเรียนรู้ ระบบใหม่ เร็ว
นอกจากนีย้ งั รวมถึงการยอมรับ และการต่ อต่ อต้ านระบบใหม่ ของ User
ปัจจัยขั้นตอนการทางาน (Process Factor)
เช่ น พัฒนาระบบทีเ่ ป็ นไปได้ และมีความสาคัญก่อน
ปัจจัยด้ านความเกีย่ วข้ องของผู้ใช้ ระบบ (User Involvement)
ปัจจัยทีม่ ผี ลต่ อการพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ




จริยธรรม (Ethic)
สภาพแวดล้ อมภายนอก (External Environment)
ข้ อมูลกฎหมาย เศรษฐกิจ การเมือง ทีม่ ีผลต่ อการพัฒนาระบบงาน
ปัจจัยด้ านโครงสร้ างขององค์ กร (Organizational Factor)
แหล่ งทรัพยากรในองค์ กร เช่ น LAN Client Server
ความสั มพันธ์ ระหว่ าง User และทีมงามพัฒนาระบบ
ปัจจัยทุกด้ านทีเ่ กีย่ วกับโครงการ (Project-Related Factor)
กลยุทธ์ ในการพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ
แบ่ งระบบใหญ่ เป็ นระบบย่ อย
 การทา Prototype
 พยายามสร้ างระบบทีม
่ ีการใช้ งานง่ าย
 หลีกเลีย่ งการเปลีย่ นแปลงเนือ
้ งาน
 พยายามโน้ มน้ าวฝ่ ายบริ หาร ให้ สนับสนุนการพัฒนาระบบ
 จูงใจให้ ผ้ ูใช้ ระบบมีส่วนเกีย่ วข้ องกับการพัฒนาระบบใหม่

การรวมระบบ (System Integration)
Functional
Integration เป็ นการรวมหน้ า ที่ ก ารท างานต่ า ง ๆ ที่
พัฒนาขึน้ มาให้ เป็ นระบบเดียวกันได้ เช่ น รวมการทางานของจดหมาย
อิเล็กทรอนิกส์ กระดาษคานวณอิเล็กทรอนิกส์ การเชื่ อมโยงฐานข้ อมูล
ภายนอก การน าเสนอกราฟ และจั ด เก็ บ ข้ อ มู ล ให้ อ ยู่ ภ ายในเครื่ อง
คอมพิวเตอร์ เครื่องเดียว หรืออยู่ภายใต้ เครือข่ ายเดียวกัน
 Physical Integration เป็ นการรวม ฮาร์ ดแวร์ ซอฟต์ แวร์ และอุปกรณ์
ติดต่ อสื่ อสาร ให้ สามารถทางานร่ วมกันได้

วัตถุประสงค์ ของการรวมระบบ
เพือ่ เพิม่ ประสิ ทธิภาพการทางานของเครื่องมือสนับสนุนการทางานใด ๆ
ให้ มากขึน้
 เพือ
่ ยกระดับความสามารถของโปรแกรมประยุกต์ ใดๆ ให้ เพิม่ มากขึน้

รู ปแบบทัว่ ไปของการรวมระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ
DSS ที่ 1.2
DSS ที่ 2
DSS ที่ 2.4
DSS ที่ 4
DSS ที่ 1
DSS ที่ 1.3
DSS ที่ 3
DSS ที่ 3.4
DSS ที่ 3.1
DSS ที่ 3.2.1
DSS ที่ 3.2.2
DSS ที่ 3.3
DSS ที่ 3.4
รู ปแบบการรวมระบบ ES (Expert System) และ DSS
ES (Expert System) คือ ระบบผู้เชี่ยวชาญ
DSS (Decision Support System) คือ ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
ฐานข้ อมูล
ฐานองค์ ความรู้
ฐานแบบจาลอง
ระบบจัดการ
ฐานข้ อมูล
Intelligence
กลไก
การสรุปความ
Supervisor
ระบบจัดการ
ฐานแบบจาลอง
ระบบค้ นหา
องค์ ความรู้
ศูนย์ จัดการความฉลาด
ส่ วนประสานกับผู้ใช้
ด้ วยภาษามนุษย์
Knowledge Engineer
ผู้ใช้
ตัวอย่างแสดงการรวมของระบบ
ES เป็ นองค์ ประกอบแยกส่ วนอยู่
ภายใน DSS โดย ES เป็ นศูนย์ กลาง
การรวมระบบระหว่ าง EIS, DSS และ ES
การนาผลลัพธ์ กลับมาใช้ ใหม่
(Feedback)
วิเคราะห์ และ
ประเมินค่ า
รายงานสถานะ
EIS
Database
Model
Knowledge
Input
ผลการพยากรณ์
ระบบจัดการ
ฐานแบบจาลอง
ระบบจัดการ
ฐานข้ อมูล
ES
HW/SW
กระบวนการ
ตัดสิ นใจ
คาแนะนา
ในการทางาน
การนาผลลัพธ์ กลับมาใช้ ใหม่
(Feedback)
Process
Output
ความหมายของ EIS

ระบบสารสนเทศสาหรั บผู้บริ หารระดับสู ง (Executive Information
System: EIS) หมายถึง ระบบสารสนเทศที่มีพืน้ ฐานการทางานด้ วย
ระบบคอมพิวเตอร์ ที่ช่วยให้ ผู้บริ หารระดับสู งสามารถเข้ าถึง รวบรวม
วิเคราะห์ และประมวลผล สารสนเทศ ทั้งภายในและนอกองค์ กรตาม
ต้ องการได้ อย่ างสะดวก รวดเร็วยิง่ ขึน้ เช่ น
 การกาหนดนโยบาย
 การวางแผน
 การจัดตั้งงบประมาณ
ความหมายของ EIS

ระบบสารสนเทศระดับองค์ กร (Enterprise Information System: EIS)
หมายถึง ระบบที่ส นั บสนุ น การใช้ สารสนเทศร่ ว มกัน ทั้ง องค์ ก รตาม
ความต้ องการในแต่ ละส่ วนงาน สาหรับผู้ใช้ ต้ังแต่ ระดับปฏิบัติการจนถึง
ระดับสู ง และสามารถทางานร่ วมกับองค์ กรอื่น ได้ ซึ่ งจัดว่ าเป็ นส่ วน
สาคัญของระบบ Enterprise Resource Planning (ERP)
*******ปรับปรุง
จากรู ปการรวมระบบระหว่ าง EIS, DSS และ ES
EIS = (Executive/Enterprise Information System)
ระบบสารสนเทศสาหรับผู้บริหารระดับสู ง (Executive Information System: EIS)
ระบบสารสนเทศระดับองค์ กร (Enterprise Information System: EIS)
ES = (Expert System) คือ ระบบผู้เชี่ยวชาญ
DSS = (Decision Support System) คือ ระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ
การรวม EIS, DSS และ ES ทาได้ หลายวิธี แต่ โดยส่ วนใหญ่ แล้ วจะจัดให้ ระบบ EIS
เป็ นระบบที่ทาหน้ าที่ในการสร้ างสารสนเทศเพื่อใช้ เป็ นข้ อมูลนาเข้ าสู่ ระบบ DSS
จากนั้นเมื่อ DSS ประมวลผลเรียบร้ อยแล้ วผลลัพธ์ ที่ได้ จะถูกส่ งกลับไปเป็ นข้ อมูล
นาเข้ าสู่ ระบบ EIS อีกครั้ งหนึ่ง เพื่อทาการแปลและอธิบายผลลัพธ์ ดังกล่ าวด้ วย
ระบบ ES
ระบบ DSS ที่ชาญฉลาด (1/3)

Active (Symbiotic) DSS เป็ นการพัฒนาให้ ระบบ DSS ฉลาดมากขึน้ ไม่ ได้ เป็ น
เพียงเครื่องมือที่ใช้ ในการคานวณหาผลลัพธ์ หรือแสดงผลเท่ านั้น (Passive DSS)
โดยที่ Active DSS สามารถเป็ นผู้ช่วยทีช่ าญฉลาด ในหลายหน้ าทีด่ ้ วยกัน ดังนี้
 สามารถทาความเข้ าใจขอบเขตทั้งหมดของปัญหาได้
 สามารถประมวลผลปัญหาทีเ่ กิดขึน
้ ได้
 เชื่ อมโยงปัญหาไปสู่ แนวทางแก้ ปัญหาได้
 สามารถแปลผลลัพธ์ ได้
 สามารถอธิบายผลลัพธ์ และการตัดสิ นใจได้
ระบบ DSS ที่ชาญฉลาด (2/3)

Self-Evolving DSS เป็ นแนวทางการพัฒนา DSS ที่อยู่บนพืน้ ฐานการใช้
งานของผู้ ใช้ ระบบ ด้ วยการท าให้ ระบบสามารถตระหนั ก ได้ ว่ า
สถานการณ์ ในปั จจุบันของตน คือ อะไร และควรมีการปรั บปรุ งแก้ไข
อย่ างไร เพื่อให้ สอดคล้ องกับการใช้ งานของผู้ใช้ แต่ ละคน โดยมีเครื่องมือ
ดังนี้
 มีเมนูคาสั่ งแบบไดนามิค (Dynamic Menu) เพือ่ รองรับผู้ใช้ แต่ ละระดับ
 มีส่วนประสานกับผู้ใช้ แบบไดนามิค (Dynamic
User Interface) เพื่อ
ตอบสนองผู้ใช้ แต่ ละระดับ
 มีระบบจัดการฐานแบบจาลองทีส
่ ามารเลือกแบบจาลองได้ เหมาะสมกับปัญหา
ระบบ DSS ที่ชาญฉลาด (3/3)

การจัดการปัญหา (Problem Management)
 การค้ นหาสาเหตุของปัญหา (Problem Finding) อาศัยระบบจัดการองค์ ความรู้
 การนาเสนอปัญหา (Problem Representation) อาศัยระบบจัดการแบบจาลอง
 การตรวจสอบสารสนเทศ (Information Surveillance) อาศัยระบบจัดการองค์
ความรู้ และแบบจาลอง
 การสร้ างแนวทางแก้ ปัญหา (Solution Generation) อาศั ยระบบจัดการองค์
ความรู้ และการสร้ างแนวความคิดทาหน้ าทีใ่ นการสร้ างแนวทางแก้ไขปัญหา
 การประเมินแนวทางเลือกในการแก้ ปัญหา (Solution Evaluation) อาศัยระบบ
จัดการองค์ ความรู้
การจัดการแบบจาลอง และสร้ างแบบจาลองทีช่ าญฉลาด


การวิเคราะห์ ปัญหาและเลือกแบบจาลอง เป็ นการวิเคราะห์ ถึงปัญหาที่เกิ ดขึน้ แล้ ว
ท าการเลื อ กแบบจ าลองที่ จ ะใช้ ใ นการอธิ บ ายและแก้ ไ ขปั ญ หาได้ อ ย่ า งถู กต้ อ ง
เหมาะสม ไม่ ว่าจะเป็ นแบบจาลองทางคณิตศาสตร์ หรือทางด้ านสถิติ
การสร้ างแบบจาลอง โดยอาศั ยเทคนิคในการค้ นพบองค์ ความรู้ (Knowledge
Discovery)
 แบบจาลองแบบ Normative เช่ น การหาค่ าผลลัพธ์ ทด
ี่ ที สี่ ุ ด (Optimization)
 แบบจาลองเชิงบรรยาย (Descriptive) เช่ น การจาลองสถานการณ์ (Simulation)


การใช้ แบบจาลอง จาเป็ นต้ องมีการกาหนดค่ าพารามิเตอร์ ตัวแปรที่ใช้ ตัดสิ นใจ
หรือฟังก์ชันทีเ่ กีย่ วข้ อง
การแปลผลลัพธ์
 ผู้ใช้ อาจแปลเอง หรือใช้ ระบบผู้เชี่ ยวชาญ (ES) ช่ วยในการแปลได้
*******ปรับปรุง