System Analysis and Design

Download Report

Transcript System Analysis and Design

Systems Analysis Design
&
Operation in GIS
โดย
รศ. พรรณิภา ไพบูลย์ นิมิตร
Outline


บทที่ 1 ระบบ (System)
 แนวคิดเกีย
่ วกับระบบ (System Concepts)
 ระบบสารสนเทศ (Information System)
บทที่ 2 วงจรการพัฒนาระบบ (The System Development Lift
Cycle : SDLC)
2
Outline

บทที่ 3 การวิเคราะห์ ระบบ (System Analysis)
 เครื่ องมือในการวิเคราะห์
ผังการไหลข้ อมูล (Data Flow Diagrams )
 พจนานุ กรมข้ อมูล (Data Dictionary)
 ผังโครงสร้ างข้ อมูล (Data Structure Diagram)
 ผังโครงสร้ าง (Structure Chart)

3
Outline

บทที่ 4 การออกแบบระบบ (System Design):DFD
และ การออกแบบฐานข้ อมูลและแฟ้มข้ อมูล (Database and File Design)




บทที่ 5 พจนานุกรมข้ อมูล (Data Dictionary)
บทที่ 6 การออกแบบส่ วนติดต่ อกับผู้ใช้ (User Interface) : I/O design
บทที่ 7 การพัฒนาระบบ/ซอฟต์ แวร์ (System/Software Development)
บทที่ 8 การส่ งเสริมดูแล และ ประเมิน(System Implementation and
Evaluation)
4
Outline

บทที่ 9 โครงการ (Project)






การเริ่มต้ นโครงการ (Project initiation)
การคัดเลือกโครงการ (Selecting Project)
การรวบรวม ข้ อมูลเพือ่ ตัดสิ นใจ (Determining Resources)
การทดสอบความเป็ นไปได้ (Testing Project Fecsibility)
การวางแผนและควบคุมกิจกรรม (Activity Planning and Control)
บทที่ 10 การประยุกต์ การวิเคราะห์ และ ออกแบบในเชิง
ภูมิศาสตร์
5
บทที่ 1
ระบบ (System)

ระบบคือกลุ่มขององค์กรประกอบต่างๆที่ทางานร่ วมกันเพื่อบรรลุ
วัตถุประสงค์ ระบบหนึ่งๆอาจประกอบด้วยระบบย่อย (Subsystem)เช่น
แผนก โดยแต่ละส่ วนมีหน้าที่เฉพาะ และ ทางานต่างหน้าที่กนั แต่การ
ทางานประสานกัน

ตัวอย่าง:
>> ระบบร่ างกาย
>> ระบบธนาคาร
6
คุณลักษณะของระบบ

คุณลักษณะของระบบ แบบเป็ น 2 ส่ วน
ระบบเปิ ด (Open System)
เป็ นระบบที่ตอ้ งอาศัยปั จจัยภายนอกมาช่วยควบคุมการทางาน เช่น
คาแนะนาจากลูกค้า
 ระบบปิ ด (Close System)
เป็ นระบบที่มีการควบคุมการทางาน และ การแก้ไขด้วยตัวของระบบเอง ระบบ
นี้ตอ้ งมี มาตรฐาน (Standards) รองรับอยู่ เช่น การทางานของ เครื่ องพิมพ์ที่มี
ตัวเซนเซอร์

7
การควบคุมระบบ
การควบคุม (System Control)
ขบวนการตรวจสอบระบบว่า ระบบปฏิบตั ิงานอย่างมีประสิ ทธิภาพ และ
ได้ผลตามวัตถุประสงค์ ระบบที่ดีตอ้ งมีการควบคุมการทางาน
 การควบคุมประกอบด้วย





มาตรฐานการปฏิบตั ิงาน (Standard)
การวัดผลการปฏิบตั ิงานจริ ง (Measuring)
การเปรี ยบเทียบระหว่างการปฏิบตั ิงานจริ ง กับ มาตรฐาน (Comparing)
การป้ อนกลับของผลการเปรี ยบเทียบ (Feedback)
8
ภาพการควบคุมระบบ
Actual
performance
... System Components...
OUTPUT
INPUT
Actual
Standard
Means of Comparison
Feedback of result of comparison
9
การควบคุมระบบ
ตัวอย่าง การควบคุมของระบบเปิ ด
บริ ษทั ขายสิ นค้า หรื อ บริ การ ในราคาสูงแต่คุณภาพต่า ยอดขาย คือ ตัว
Feedback จาเป็ นต้องมีการปรับปรุ งสิ นค้า หรื อ วิธีการผลิต
 ตัวอย่าง การควบคุมของระบบปิ ด
บริ ษทั มีการควบคุมการสัง่ ซื้อสิ นค้า โดย เมื่อสิ นค้าในมือ
มี
จานวนต่ากว่าที่ กาหนด จะออกรายการสัง่ ซื้อสิ นค้าทันที การควบคุม
ระบบปิ ด ที่ดี ต้องมี การตรวจในตัวเอง(Self recguration) และการ
ปรับปรุ งในตัว (Self adjustment)

10
Business System
ระบบธุรกิจ

ระบบธุรกิจ



องค์กรที่ประกอบขึ้นจากระบบธุระกิจหลายๆระบบ เช่น การตลาด การขาย
การผลิต ขนส่ ง การเงิน ระบบบัญชี แผนกบุคคล
แต่ละส่ วนมีระบบย่อย (Subsystem) ภายในอีก เช่น ระบบบัญชี มี เจ้าหนี้
ลูกหนี้
แต่ละส่ วนทางานร่ วมกันเพื่อหวังกาไร
11
Information System
ระบบสารสนเทศ

ระบบสารสนเทศ
 ระบบที่ใช้การประมวลข้ อมูลของระบบงาน เพื่อผลิต ข้อมูลรายงาน
หรื อ สารสนเทศที่เป็ นประโยชน์ต่อการตัดสิ นใจ
 ระบบสารสนเทศมีระบบย่อย เช่น ระบบฮาร์ ดแวร์ ระบบซอฟท์แวร์
สื่ อบันทึก และ ฐานข้อมูล
 การประยุกต์ระบบสารสนเทศ มี ขบวนการ โปรแกรม ฐานข้อมูล
และแฟ้ มข้อมูล
 ระบบสารสนเทศ เป็ นระบบที่สนับสนุ นการทางานของทุกระบบ
เช่น ระบบธุรกิจ ระบบGIS
12
การประมวลข้ อมูล
Data Processing

การประมวลผล (Processing) คือ การกระทาต่อ
ข้อมูลดิบ(Raw data) ในลักษณะใดก็ได้ เพื่อให้ได้
ข้อมูลสนเทศ (Information)
13
ความหมาย

RAW DATA: ข้อมูลดิบที่รวบรวมจากเอกสารต้นฉบับ
นามาใช้ประมวลผลให้เกิดข้อสรุ ป
 ลักษณะข้อมูล : ตัวเลข ตัวอักษร ภาพ เสี ยง
 ข้อมูลที่ดี = ถูกต้อง + ปั จจุบน
ั + สมบูรณ์
14
ความหมาย

PROCESSING: การกระทาอย่างใดอย่างหนึ่งต่อข้อมูล
เพื่อให้เกิดข้อสรุ ป

INFORMATION: ข้อมูลที่ผา่ นการประมวลผลแล้ว
สามารถนามาใช้ใน การตัดสิ นใจ
15
ประเภทของการประมวลผล
การประมวลผลด้วยมือ (Manual Data Processing)
 การประมวลผลอัตโนมัติ (Automatic Data Processing)



Batch processing
Online processing
16
Batch VS Online Processing

Batch processing
ข้อมูลไม่ทนั สมัย
 การบันทึกข้อมูลเป็ นแบบ
Sequential ทาให้
เสี ยเวลา
 รายงานล่าช้า ไม่ทน
ั สมัย
 I/O device ไม่ติดกับ

CPU

Online processing
ข้อมูลทันต่อเหตุการณ์
 การบันทึก แบบ Direct

Access
สามารถทารายงานได้ทนั ที่
 I/O device ติดกับ

CPU
17
ขั้นตอนการประมวลผลด้ วยคอมพิวเตอร์
การเก็บข้อมูล (Data Collection)
 การประมวลผลข้อมูล (Data Processing)
 ผลลัพธ์ (Information / Output)

Data
Collection
Data
processing
Information
18
Data Collection
การเก็บข้อมูลจากแหล่งข้อมูล: สังเกต วัดค่า เอกสาร
 การเปลี่ยนสภาพข้อมูล โดยการเข้ารหัสข้อมูล เช่น รหัส
นักศึกษา พิกดั
 ประหยัดเนื้ อที่ในการเก็บข้อมูล
 ให้ความเร็ วในการค้นหา

19
Data Collection
เปลี่ยนสื่ อบันทึก
 การตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล

Verify
 Validation

* Range Check
* Relation Check

การแก้ไขข้อมูล Edit
20
วิธีการเก็บข้ อมูลจากเอกสาร แบบสารวจ

แบบสารวจค่าใช้จ่ายนักศึกษา
รหัส 3305000 เพศ 1( ) ชาย 2 ( ) หญิง จังหวัดทีเ่ กิด สุ โขทัย
ชื่อ มรกต
นามสกุล เขียวงาม
ผู้อุปการะ 1. ( ) บิดา 2. ( ) มารดา 3. ( )อื่นๆ...............
รายได้ ของนักศึกษาต่ อเดือน
1. ต่ากว่า 1000
2. 1000-2000 3. 2001-3000
4. 3001- 4000
5. 4001-5000 6. มากกว่า 5000
ค่ าใช้ จ่ายของนักศึกษาต่ อเดือน
1. ต่ากว่า 1000
2. 1000-2000 3. 2001-3000
4. 3001- 4000
5. 4001-5000 6. มากกว่า 5000
21
การจัดเก็บข้ อมูลทางภูมศิ าสตร์

เนื่องจากข้อมูลทางภูมิศาสตร์ มีการเก็บข้อมูลอยู่ 2 แบบ คือ


ข้ อมูลเชิงพืน้ ที่ (Spatial data) เป็ นข้ อมูลทีส่ ามารถอ้ างอิงกับตาแหน่ งทาง
ภูมศิ าสตร์ (Geo—referenced) ทางภาคพืน้ ดิน เช่ น พิกดั ต่ างๆ
ข้ อมูลทีไ่ ม่ อยู่ในเชิงพืน้ ที่ (Non-spatial data) เป็ นข้ อมูลทีเ่ กีย่ วข้ องกับ
คุณลักษณะต่ างๆ ในพืน้ ทีน่ ้ันๆ (Attributes) เช่ น ความยาวของแม่ นา้
ประชากรในเขตพืน้ ที่ นั้น
22
ข้ อมูลเชิงพืน้ ที่
(Spatial data)

การเก็บข้อมูลด้วยมือ


คือ การเก็บข้อมูลมาจากการสารวจ (Survey) นามาเขียนเป็ นแผนที่บนแผ่นใส
ของแต่ละแผนที่ เช่น แผนที่ทางหลวง แผนที่เขตการปกครอง แล้วนามาทับ
ซ้อนกัน
การเก็บข้อมูลด้วยระบบคอมพิวเตอร์

คือการจัดเก็บข้อมูลในระบบการจัดการฐานข้อมูล มีการใช้เทคโนโลยีอื่นๆเข้า
มาช่วย เช่น


การสารวจระยะไกล (Remote Sensing)
การสารวจพิกดั เชิงภูมิศาสต์ (Global Positioning System)
23
ข้ อมูลเชิงพืน้ ที่
(Spatial data)


ข้อมูลที่เก็บระบบคอมพิวเตอร์ ข้อมูลต้องถูกจัดให้เป็ นระเบียบ เพื่อให้
คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้ เรี ยกว่า DATA ORGANIZATION
อุปกรณ์ที่ช่วยเปลี่ยนข้อมูลบนแผนที่ให้อยูใ่ นรู ป Digital (ตัวเลข) คือ



Digitizer คือเครื่องถ่ ายทอดขอบเขตต่ างๆ บนแผนทีใ่ ห้ กบั เครื่องคอมพิวเตอร์
ซึ่งจะเป็ นขั้นตอนทีเ่ สี ยเวลามากขั้นตอนหนึ่ง
Scanner
VDO Camera กล้องถ่ ายวีดที ศั น์
24
ภาพเครื่องมือ
Scanner
เครื่องอ่ านพิกดั (Digitizer)
เครื่องอ่ านอักขระด้ วยแสง (Optical Character Reader)
25
DATA ORGANIZATION
บิต
ตัวอักษร
ขอบเขตข้อมูล
ระเบียน
แฟ้ มข้อมูล
ฐานข้อมูล
Bit
Data item or CHARACTOR
Field
Record
File
Database
26
ภาพแสดงฐานข้ อมูล

DATABASE
Database
File
Record
field
Record
Field
File
File
Record
Character
27
ฐานข้ อมูล

การนาข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กนั มารวมไว้ดว้ ยกัน
ข้อมูลมีลกั ษณะเป็ นมาตรฐาน
 มีชุดเดียว ใช้งานได้ท้ ง
ั หน่วยงาน
 มีระบบตรวจสอบป้ องกัน และ เป็ นอิสระจากโปรแกรม
 มีภาษาสอบถาม ( Qurey Language) เช่น SQL


ต้องมีระบบจัดการฐานข้อมูล
(Database Management System: DBMS)
28
แฟ้มข้ อมูล (File)
ใช้บนั ทึกข้อมูลเรื่ องใดเรื่ องหนึ่ง
 ปกติมก
ั ใช้กบั งานประยุกต์ หรื อ โปรแกรมเพียงอย่างเดียว
 โปรแกรมต้องรู ้โครงสร้างของแฟ้ มข้อมูล
 สื่ อที่ใช้เก็บข้อมูล เทป แผ่นดิสเกตต์ ซี ดีรอม

29
ภาพ File, Record, Field

Dept Emp.#
Hour
Rate
5
28
35
8.75
5
19
40
11.25
3
23
37
9.5
3
17
40
8.75
Fields
File
Record
30
ประเภทของแฟ้มข้ อมูล

Batch processing



Transaction File
Master File
Online Processing

Interactive
31
การประมวลผลข้ อมูล
DATA PROCESSING
การประมวลผลอาจทาด้วยมือ หรื อ คอมพิวเตอร์
 ข้อมูลถูกเก็บไว้ในคอมพิวเตอร์
 นาข้อมูลมาประมวลผลเพื่อให้ได้มาซึ่ งสารสนเทศ

คานวณ ค้นหา ออกรายงาน เรี ยงลาดับ ปรับปรุ ง
 ออกยอดสรุ ป

32
Information System
ระบบสารสนเทศ

ประเภทของระบบสารสนเทศ




ระบบประมวลผลเชิงรายการ (Transaction Processing System: TPS)
ระบบสารสนเทศเพือ่ การจัดการ (Management Information System)
ระบบสารสนเทศและข่ าวสารเพือ่ การตัดสิ นใจ (Decision Support System)
ระบบสารสนเทศเชิงภูมศิ าสตร์ (Geography Information System: GIS)
33
Transaction Processing System: TPS
ระบบประมวลผลเชิงรายการ

ระบบประมวลผลเชิงรายงาน




ระบบที่ใช้ประมวลผลกับภารกิจประจาของหน่วยงานต่างๆ ปรับปรุ ง จัดการ
กับการเปลี่ยนแปลงของธุรกิจ เช่น การสั่งซื้ อ การฝากเงิน การวางบิล
สรุ ปผลการค้าแต่ละวัน
ออกรายงานที่เกิดขึ้นอยูภ่ ายใต้รูปแบบคงที่ และ ชัดเจน
ลักษณะข้อมูลที่ใช้ประมวลผล
34
Transaction Processing System: TPS
ระบบประมวลผลเชิงรายการ

ระบบประมวลผลเชิงรายการ

ลักษณะข้อมูลที่ใช้ประมวลผล
* มีปริ มาณมาก
*รายการเปลี่ยนแปลงมีลกั ษณะคล้ายคลึงกัน
* ขบวนการเปลี่ยนแปลง และประมวลผลเป็ นแบบคงที่ และ ชัดเจน
* มีเงื่อนไขยกเว้นเพียงเล็กน้อย

การประมวลผลระบบนี้จึงนิ ยมใช้คอมพิวเตอร์
35
ตัวอย่ าง: การประมวลผลเชิงรายงาน
ลูกค้า
ใส่ หมายเลขบัญชี
ใส่ รหัสลับ
ใส่ ยอดเงินถอน
ระบบ
ตรวจสอบหมายเลขบัญชี
ตรวจสอบรหัสรับ
ตรวจยอดเงินถอนกับยอดจากัดการถอน
ตรวจยอดเงินถอนกับยอดเงินในบัญชี
บันทึกรายการเปลี่ยนแปลงจ่ายเงิน
ออกใบรายการเปลี่ยนแปลงอย่างย่อ
รับเงินและใบรายการ เตรี ยมรับรายการเปลี่ยนแปลงต่อไป
36
Management Information System: MIS
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
ระบบสารสนเทศเพือ่ การจัดการ หรือ ระบบสารสนเทศในเชิง
วิเคราะห์ ผล


ระบบสารสนเทศที่นาเอาข้อมูลระดับปฏิบตั ิงานมาประมวลผล ให้ได้
สารสนเทศที่สามารถนามาตัดสิ นใจ เพื่อให้การปฏิบตั ิ การบรรลุถึง
เป้ าหมาย และ วัตถุประสงค์ขององค์กร
สารสนเทศที่เกิดจากการวิเคราะห์เป็ นระยะ (อาทิตย์ เดือน ไตรมาส)
โดยเปรี ยบเทียบระหว่างผลลัพธ์ กับ ความคาดหวัง สามารถนามาทา
การปรับเปลี่ยนแผนการดาเนินการ(ระยะกลาง) และ แก้ไขปั ญหา
ระดับกลางได้ พร้อมสร้างข้อมูลเพื่อช่วยพยากรณ์ผลลัพธ์ที่อาจ
เกิดขึ้นในอนาคต
37
Management Information System: MIS
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ

ตัวอย่าง: ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ


MIS นาข้อมูลระดับ TPS มาจัดทารายงานเงินฝาก เงินถอน ของแต่ละสาขา
เพื่อสามารถควบคุมสัดส่ วนการกู้ ยอดเงินสารอง ดอกเบี้ยจ่าย และ อื่นๆ
MIS วิเคราะห์กาไร ขาดทุน จากขายแต่ละเดือน กับ ยอดเป้ าหมายที่กาหนดไว้
หากผลไม่ตรงตามเป้ า ต้องหาสาเหตุ เพื่อทาการแก้ไข หรื อ ส่ งเสริ ม
38
Decision Supporting System: DSS
ระบบสารสนเทศและข่าวสารเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ

Decision Supporting System


ระบบสารสนเทศสาหรับช่วยผูบ้ ริ หารที่ตอ้ งตัดสิ นใจโดยอาศัยแนวคิด ที่
ซับซ้อน มีการประเมินเหตุการณ์ดว้ ยความยุง่ ยาก เรี ยกว่า เป็ นระดับการ
ตัดสิ นใจแบบแนวทางไม่แน่นอน
DSS ต้องมีความยืดหยุน่ เพียงพอที่จะตอบสนองความต้องการของ ผูใ้ ช้กลุ่มนี้
สาเหตุที่ตอ้ งมีความยืดหยุน่ เพราะข้อมูลที่ใช้ตดั สิ นใจ ส่ วนใหญ่ไม่ชดั เจน และ
ต้องอาศัยข้อมูลอื่นๆจากภายนอก
39
Decision Supporting System: DSS
ระบบสารสนเทศและข่าวสารเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ

ระดับการตัดสิ นใจ


Structured : เป็ นลักษณะการตัดสิ นใจแบบตรงไปตรงมา โดยใช้ที่ขอ้ มูลเด่นชัด
(ข้อมูลจากภารกิจประจาวัน)จึง ง่ายต่อ การตัดสิ นใจ เช่น ตัดสิ นสั่งซื้ อสิ นค้า
โดย มีรายงาน ยอดสิ นค้า ในมือเป็ นข้อมูล
Semi-structured : การตัดสิ นใจที่ตอ้ งวิเคราะห์หาเหตุผล เช่น การตัดสิ นใจ
ขยายธุรกิจเนื่องจากเห็นช่องทาง โดย มีขอ้ มูลภายใน และวิเคราะห์เหตุการณ์วา่
มีโอกาสดี หรื อ การตัดสิ นใจหาแหล่งเงินทุน โดย วิเคราะห์วา่ ต้นทุนต่า
40
Decision Supporting System: DSS
ระบบสารสนเทศและข่าวสารเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ

ระดับการตัดสิ นใจ


Unstructured: การตัดสิ นใจที่ตอ้ งอาศัยแนวความคิดที่สลับซับซ้อน ต้องมีการ
ประเมินเหตุการณ์ดว้ ยความยุง่ ยาก ดังนั้นการตัดสิ นใจ ต้องอาศัย ความชานาญ
ความนึกคิด ไม่มีเหตุที่ชดั เจนเพียงพอ ที่จะ ช่วยการตัดสิ นใจ จึงต้องอาศัย
ข้อมูลและข่าวสารหลากหลายชนิด
ตัวอย่างเช่น รับผูจ้ ดั การใหม่ ได้ขอ้ มูลจากการสัมภาษณ์ และ คาแนะนา จาก
คนรู้จกั
41
Information System
42
ระบบสารสนเทศเชิงภูมศิ าสตร์
Geography Information System: GIS


เนื่องจากระบบแบบ TPS และ MIS ที่มีอยูท่ วั่ ไปไม่สามารถประยุกต์ใช้
กับงานทางภูมิศาสตร์ได้โดยตรง เพราะ
ระบบสารสนเทศเชิงภูมิศาสตร์ แตกต่างจากระบบสารสนเทศอื่นๆ
ตรงที่ GIS มีการเก็บข้อมูลอยู่ 2 แบบ คือ



ข้อมูลเชิงพื้นที่ (Spatial data)
ข้อมูลเชิงคุณลักษณะ (Non Spatial data)
จึงต้องมีการนาเอาข้อมูลทั้ง 2 แบบ นี้ มาใช้ร่วมกันจึงจะเกิด
ประสิ ทธิภาพมากที่สุด
43
ระบบสารสนเทศเชิงภูมศิ าสตร์
Geography Information System: GIS
ระบบสารสนเทศเชิง
ภูมิศาสตร์ GIS
ข้ อมูลเชิงพืน้ ที่
(Spatial data)
ข้ อมูลเชิงคุณลักษณะ
(Non Spatial data)
44
นักวิเคราะห์

นักวิเคราะห์
คือบุคคลที่ศึกษาถึงปั ญหาของระบบ พร้อมทั้งแยกแยะปั ญหา อย่างมี
หลักเกณฑ์ และ ใช้ปรับปรุ งระบบใหม่

หน้าที่ของนักวิเคราะห์





ศึกษาโครงสร้างของระบบเก่า
ศึกษาโครงสร้างขององค์กร
ศึกษาโครงสร้างของข้อมูล การไหลของข้อมูล
ศึกษาขบวนการ(Process) ทาการวิเคราะห์ปัญหา
วางแผนแก้ไขระบบเก่า หรื อ ระบบใหม่
45
นักวิเคราะห์

คุณสมบัติของนักวิเคราะห์








มีความรู ้ทางภาษาคอมพิวเตอร์ อย่างน้อย 1 ภาษา
สามารถตัดสิ นใจเกี่ยวกับการออกแบบ
สามารถให้คาแนะนาด้านเทคนิค แก่ ผูเ้ กี่ยวข้อง
ต้องเข้าใจระบบ และบุคคลในระบบที่ศึกษา และ กาลังพัฒนา
เป็ นตัวกลางระหว่างผูใ้ ช้ระบบ และ ผูพ้ ฒั นาระบบ
เป็ นผูต้ ิดตั้งระบบ ตรวจสอบระบบว่าตรงตามวัตถุประสงค์
มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี
มีประสพการณ์
46
นักวิเคราะห์

ขอบเขตความรับผิดชอบของนักวิเคราะห์



การวิเคราะห์ระบบ
การวิเคราะห์ระบบ และ ออกแบบ
การวิเคราะห์ระบบ ออกแบบ และ การเขียนโปรแกรม
47
ผู้ใช้ ระบบ (User)

ประเภทของผูใ้ ช้ (End User)


Hand-on
Indirect


User-Manager
Senior-Manager
48