งานนำเสนอ PowerPoint

Download Report

Transcript งานนำเสนอ PowerPoint

เวิลด์ ไวด์ เว็บ คือ ส่ วนหนึ่งของอินเตอร์ เน็ต ซึ่งประกอบขึน้ มาจากแหล่ งเอกสาร
ข้ อมูลขนาดมหาศาลทีเ่ ก็บอยู่ในคอมพิวเตอร์ ทวั่ โลก
เวิลด์ ไวด์ เว็บนี้ เราสามารถเรียกได้
หลายชื่อ เช่ น เว็บ (Web) , WWW
หรือ W3
Web Page
เว็บเพจ (Web Page) คือ หน้ าของเอกสารบนเว็บที่แสดงขึน้ มาบน
หน้ าจอคอมพิวเตอร์ เว็บเพจนีน้ อกจากสามารถบรรจุข้อความต่ าง ๆได้
แล้ วมันยังสามารถบรรจุ
รู ปภาพ เสี ยง และไฟล์
ภาพยนต์ ได้ อกี ด้ วย
Web Site
เว็บไซต์ (Web site) คือ
แหล่ งทีร่ วมหน้ าเว็บเพจทุก
ๆ หน้ าขององค์ กรแห่ งนั้นไว้
ซึ่งเจ้ าของจะปรับปรุงข้ อมูล
เอง โดยเจ้ าของเว็บไซต์
ดังกล่ าวอาจจะเป็ นองค์ กร
ของรัฐหรือเอกชน หรือ
เว็บไซต์ ส่วนบุคคลก็ได้
Web Server
เว็บเซิร์ฟเวอร์ (Web Server)
คือ เครื่องคอมพิวเตอร์ ที่
ต่ อเชื่อมเข้ ากับเครือข่ าย
อินเตอร์ เน็ต และเป็ นเครื่องที่
ทาให้ หน้ าเว็บเพจต่ าง ๆ ปรากฏ
ขึน้ บนอินเตอร์ เน็ต
URL
URL คือ ตาแหน่ งทีอ่ ยู่
ของเว็บไซต์ เป็ นคาย่ อมา
จาก Uniform Resource
Locator โดยทุกเว็บไซต์ จะ
มีทอี่ ยู่เป็ นของตัวเอง
โดยเฉพาะ หากคุณทราบ
URL
ของเว็บไซต์ ใด
แน่ นอน คุณก็จะสามารถ
เข้ าเว็บไซต์ น้ันได้ อย่ าง
รวดเร็วโดยไม่ ต้องค้ นหา
URL ของเว็บเพจทุกที่มกั จะขึ้นต้นด้วย
http (HyperText Transfer Protocol) เสมอ
HyperText
เอกสารของทุกเว็บเพจจะเป็ นเอกสารแบบ
ไฮเปอร์ เท็กซ์ หมายความว่ าภายในเอกสาร
ไฮเปอร์ เท็กซ์ (HyperText) นีจ้ ะมีเน้ น
ข้ อความที่สามารถเชื่อมโยงไปยังข้ อมูล
รายละเอียดของข้ อความนั้น ซึ่งข้ อมูล
ดังกล่ าวทีเ่ ชื่อมโยงไป อาจจะอยู่ภายใน
คอม่องแต่ อยู่ในเครือข่ ายเดียวกันก็ได้ โดย
คอมพิวเตอร์ เครื่องเดียวกันหรืออยู่กนั คนละเครื
ไม่ คานึงถึงว่ าจะอยู่ไกลกันคนละจังหวัดกันหรืออยู่กนั คนละประเทศ ข้ อความที่ถูก
เน้ นภายในเว็บไซต์ น้ัน (ซึ่งโดยมากจะเป็ นการขีดเส้ นใต้ ) จะให้ คุณได้ สามารถท่ อง
ไปยังเว็บเพจหน้ าต่ าง ๆ บนอินเตอร์ เน็ตได้ อย่ างง่ ายดาย เพียงคุณคลิกเมาส์ ที่
ข้ อความดังกล่าวเท่ านั้น
คุณลักษณะของเว็บเพจ
Frame
เว็บเพจส่ วนใหญ่ มักจะมีการ
แสดงหน้ าจอเป็ นกรอบสี่ เหลี่ยม
ซึ่งเรียกว่ า เฟรม (Frame) ในแต่
ละเฟรมก็จะแสดงข้ อมูลเนือ้ หาที่
แตกต่ างกัน โดยสามารถเลือ่ นดู
ข้ อมูลในแต่ ละเฟรมได้ อย่ างอิสระ
ไม่ กระทบต่ อเฟรมอืน่
คุณลักษณะของเว็บเพจ
Form
เว็บไซต์ โดยทัว่ ไปมักจะมี
แบบฟอร์ ม (Form) อยู่ในหน้ าใด
หน้ าหนึ่งภายในเว็บไซต์ โดยข้ อมูล
ส่ วนใหญ่ ทที่ างเว็บไซต์ ต้องการก็
มักจะเป็ นข้ อมูลส่ วนตัวของผู้เข้ า
มาเยีย่ มชมเว็บไซต์ ของบางบริษัท
มักจะมีแบบฟอร์ มทานองนีไ้ ว้ ให้
กรอกเช่ นกัน เพือ่ การสอบถาม
ปัญหาของสิ นค้ าหรือบริการต่ าง ๆ
รวมทั้งการสั่ งซื้อสิ นค้ าด้ วย
คุณลักษณะของเว็บเพจ
Table
เว็บเพจส่ วนใหญ่ เช่ นกันทีม่ ักจะมีการ
แสดงผลข้ อมูลในรู ปแบบตาราง
(Table) ตารางมีประโยชน์ ในการช่ วย
ให้ ข้อมูลทีแ่ สดงดูได้ ง่าย ข้ อมูลภายใน
ตารางโดยทัว่ ไปจะเป็ นพวกรายการ
ข้ อมูล เช่ น ข้ อมูลทางการเงิน รายนาม
ผู้ใช้ โทรศัพท์ ราคาสิ นค้ า เป็ นต้ น และ
ข้ อมูลในตารางก็สามารถใส่ รูปภาพได้
เช่ นเดียวกับข้ อความ
ระบบความปลอดภัยบนเว็บ
มีเว็บไซต์ อยู่หลายแห่ งทีจ่ ะขอข้ อมูลทีเ่ ป็ นความลับส่ วนตัว เช่ น หมายเลขบัตร
เครดิต เพือ่ ให้ บริการหรือขายสิ นค้ าให้ ผู้ใช้ ดังนั้นเว็บไซต์ เหล่ านีจ้ ึงต้ องมีระบบ
รักษาความปลอดภัย
เมื่อผู้ใช้ ส่งข้ อมูล
เข้ าไปใน
อินเตอร์ เน็ตข้ อมูล
ของผู้ใช้ อาจจะ
มีการผ่ านเครื่องคอมพิวเตอร์ หลาย ๆ เครื่องกว่ าจะถึงเครื่องปลายทาง ถ้ าผู้ใช้
ไม่ ได้ เชื่อมต่ อกับเว็บเพจทีม่ ีระบบรักษาความปลอดภัย ก็อาจจะมีใครบางคน
สามารถเข้ ามาดูข้อมูลของผู้ใช้ ได้
เว็บเพจมีระบบรักษาความปลอดภัย
เว็บเพจระบบนีท้ างานร่ วมกันกับโปรแกรมเว็บเบราเซอร์ ทรี่ องรับคุณลักษณะ
ทางด้ านการรักษาความปลอดภัย เมื่อเชื่อมต่ อไปยังเว็บเพจเหล่ านี้ ก็จะไม่ มี
ใครสามารถเข้ าไปดูข้อมูลทีส่ ่ งถ่ ายได้
การเข้ าเว็บเพจที่มีระบบรักษาความปลอดภัย
เมื่อผู้ใช้ เข้ าไปเยีย่ มชมเว็บเพจต่ าง ๆ จะสั งเกตเห็นสั ญลักษณ์ ทแี่ สดงว่ าเว็บไซต์
นั้นมีระบบรักษาความปลอดภัยหรือไม่ โดยให้ ดูทมี่ ุมด้ านล่ างของหน้ าจอ หาก
เห็นรู ปแม่ กญ
ุ แจมีลกั ษณะล็อคอยู่หรือเห็นรู ปลูกกุญแจเต็มรูป แสดงว่ าเว็บไซต์
นั้นมีระบบรักษาความปลอดภัย
Internet Explorer
Netscape Navigator
เหตุผลทีจ่ าเป็ นต้ องมีระบบรักษาความปลอดภัย
บัตรเครดิต
ผูใ้ ช้หลายคนคงไม่มนั่ ใจนักหากต้องแจ้ง
หมายเลขบัตรเครดิตเข้าไปในเครื อข่าย
อินเตอร์เน็ต ซึ่งในความเป็ นจริ งแล้ว
หากแจ้งหมายเลขบัตรเครดิตผ่าน
เว็บไซต์ที่มีระบบรักษาความปลอดภัย
จะสร้างความปลอดภัยได้มากกว่าการ
บอกหมายเลขบัตรให้กบั คนอื่นทาง
โทรศัพท์หรื อทางแฟกซ์เสี ยอีก
เหตุผลทีจ่ าเป็ นต้ องมีระบบรักษาความปลอดภัย
บริษัทหรือองค์ กร
ผูใ้ ช้บางคนมีการทางานที่บา้ นแล้ว
เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ผา่ น
อินเตอร์เน็ตไปยังเครื อข่าย
คอมพิวเตอร์ที่ทางาน แน่นอนว่า
ที่บริ ษทั ของผูใ้ ช้กจ็ าเป็ นต้องมี
ระบบรักษาความปลอดภัยติดตั้ง
ไว้ เพื่อไม่ให้ใครสามารถเข้าไปดู
ข้อมูลที่เป็ นความลับของบริ ษทั ได้
เหตุผลทีจ่ าเป็ นต้ องมีระบบรักษาความปลอดภัย
ระบบธนาคาร
ธนาคารหลายแห่ง (ในอเมริ กา) จะอนุญาตให้ผใู ้ ช้สามารถเข้าใช้ขอ้ มูลทัว่ ๆ ไป
ของธนาคารได้ ไม่วา่ จะเป็ นการชาระเงินค่าบริ การต่าง ๆ การตัดบัญชี การเช็ค
ยอดเงินการกูย้ มื เป็ นต้น ข้อมูลในระบบธนาคาร
ถือได้วา่ มีอยูม่ ากที่อยูใ่ นเกณฑ์ลกั ษณะ
ที่เป็ นความลับ
ดังนั้นธนาคารจึง
จาเป็ นต้องมีระบบรักษาความปลอดภัย
ทางด้านข้อมูลอยูใ่ นเว็บเพจด้วย
มัลติมีเดียบนเว็บ
เว็บเพจสามารถบรรจุข้อความรู ปภาพ เสี ยง ภาพวิดโี อ และภาพเคลือ่ นไหว
อืน่ ๆ ได้
มัลติมีเดียนับเป็ นเทคโนโลยีที่มี
ประสิ ทธิภาพมากในการสร้างความ
น่าสนใจและความสวยงามให้กบั เว็บเพจ
มีบริ ษทั หลายบริ ษทั ใช้มลั ติมีเดีย
างสรรค์หน่น้าสนใจและดึ
า
เว็บเพจโฆษณาประชาสัมพันธ์ให้สินค้สร้
าของตนดู
งดูดให้ผคู ้ นเข้า
ไปเยีย่ มชมเว็บไซต์ของตนบ่อยครั้ง ซึ่งนัน่ ก็นบั เป็ นกลยุทธ์ในการเรี ยกลูกค้าได้
เป็ นอย่างดี
เวลาในการส่ งข้ อมูล
ระยะเวลาในการับส่ งข้อมูลจะช้าหรื อเร็ วก็ข้ ึนอยูก่ บั หลายสาเหตุ สาเหตุหลักก็
คือ ขนาดของไฟล์ โดยทัว่ ไปเกือบทุกเว็บเพจที่มีไฟล์ให้ดาวน์โหลด มักจะมี
ตัวเลขบอกขนาดของไฟล์ให้ทราบ เพือ่
เป็ นตัววัดว่าจะใช้เวลานานแค่ไหนในการ
ดึงไฟล์มายังเครื่ องของตน
ผูใ้ ช้สามารถใช้ตารางนี้เปรี ยบเทียบดูได้วา่ จะใช้เวลาเท่าไรในการเรี ยกไฟล์
ขนาดต่าง ๆ มายังเครื่ องของผูใ้ ช้ ข้อมูลจากตารางเป็ นการทดสอบดาวน์
โหลดไฟล์ดว้ ยโมเด็มขนาด 28,800 bps ดังนั้นหากโมเด็มที่ใช้เป็ นแบบ
14,400 bps หรื อต่ากว่านี้ ก็จะทาให้การับส่ งข้อมูลช้ากว่าที่แสดงในตาราง
นี้
ข้ อความ
ผูใ้ ช้สามารถดูเอกสารข้อความต่าง ๆ ทางเว็บเพจ
ได้ เช่น หนังสื อพิมพ์ นิตยสาร บทละคร
สุ นทรพจน์และรายการโทรทัศน์
ข้อความ
นับเป็ นข้อมูลที่ถูกรับและส่ งได้อย่างรวดเร็ ว
ดังนั้นผูใ้ ช้จึงไม่ตอ้ งรอนานในการอ่านข้อความ
ต่าง ๆ
รู ปภาพ
ผูใ้ ช้สามารถดูรูปภาพบนเว็บเพจได้ เช่น ปก
อัมบั้มของศิลปิ นต่าง ๆ รู ปถ่ายของผูม้ ีชื่อเสี ยง
รวมทั้งภาพวาดที่โด่งดังทัว่ โลก เป็ นต้น
เสี ยง
ผูใ้ ช้สามารถฟังเสี ยงผ่านทางเว็บเพจได้ เช่น เพลงของสถานีวิทยุ เพลง
ประกอบภาพยนต์ รวมทั้งสุ นทรพจน์ของบุคคลสาคัญต่าง ๆ ด้วย
แต่ผใู ้ ช้ตอ้ งมีอุปกรณ์เสริ มให้เครื่ อง
คอมพิวเตอร์ของผูใ้ ช้ดว้ ย
เช่น
ซาวด์การ์ดหรื อการ์ดเสี ยง และ
ลาโพง
วิดโี อและภาพเคลือ่ นไหว
ผูใ้ ช้สามารถดูภาพยนตร์วิดีโอและภาพเคลื่อนไหวต่าง ๆ ผ่านทางเว็บเพจได้ เช่น
บางตอนของภาพยนตร์ หรื อการ์ตูน เป็ นต้น
ไฟล์ภาพยนตร์หรื อวิดีโอนี้มกั จะใช้เวลานานในการส่ งข้อมูลมายังเครื่ อง
คอมพิวเตอร์ ดังนั้นคงต้องพิจารณาให้ดีวา่ จะยอมเสี ยเวลาตรงนั้นหรื อไม่
RealAudio
RealAudio เป็ นโปรแกรมทีช่ ่ วยให้ ผู้ใช้ สามารถฟังเสี ยงต่ าง ๆ เช่ น เสี ยงเพลง
หรือรายการทางสถานีวทิ ยุได้ ทางเวิลด์ ไวด์ เว็บ
โปรแกรม RealAudio จะใช้
ระบบทีเ่ รียกว่ า
Streaming
Audio ในการส่ งไฟล์ เสี ยงมายัง
เครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งโปรแกรม
ตัวอืน่ จะต้ องส่ งไฟล์ เสี ยงมาให้
ครบก่ อน จึงจะเล่ นเสี ยงเพลงได้ แต่ สาหรับระบบ Streaming Audio นี้
สามารถฟังเสี ยงนั้นได้ เลยในระหว่ างทีม่ ีการส่ งไฟล์ อยู่
Shockwave
Shockwave เป็ นโปรแกรมทีช่ ่ วยให้ สามารถดูภาพเคลือ่ นไหวได้ โดยใช้ ร่วม
กับโปรแกรมเว็บเบราเซอร์ เว็บไซต์
หลาย ๆ แห่ งในปัจจุบนั มักจะมีภาพ
เคลือ่ นไหวโดยใช้ Shockwave
ประกอบเพือ่ ความสวยงาม และรู้ สึก
ดึงดูดผู้ทมี่ าเยีย่ มชม
Java
Java คือ ภาษาคอมพิวเตอร์ ทถี่ ูกพัฒนาให้ สามารถเขียนโปรแกรมใช้ งานบน
อินเตอร์ เน็ตได้ ซึ่งจะประกอบลงในเว็บเพจให้ มีลกั ษณะเคลือ่ นไหวและมี
ลักษณะโต้ ตอบกับผู้ใช้ ได้
โปรแกรม Java ทีใ่ ช้ อยู่ในหน้ าเว็บ
เพจจะถูกเรียกว่ า จาวาแอปแพล็ต
(Java applet) ซึ่งถ้ าจะสร้ างเว็บ
เพจ ก็สามารถเขียนจาวาแอปเพล็ต
ได้ เอง หรือจะใช้ จากทีม่ ีคนเขียน
ไว้ แล้ วก็ได้
โปรแกรม Java ทางานอย่ างไร
จาวาแอปแพล็ต เป็ นโค้ ดภาษาจาวาที่คอมไพล์ เป็ นออบเจ็กต์ โค้ ดแล้ ว และสามารถ
นาไปรันในเว็บเบราเซอร์ ได้ เมื่อผู้ใช้ แสดงหน้ าเว็บเพจทีม่ ีจาวาแอปแพล็ตบรรจุอยู่
โค้ ดโปรแกรมหรือแอปแพล็ตนั้นจะถูกส่ งมายังเครื่องของผู้ใช้ แล้ วรันโปรแกรม
เพือ่ ให้ เกิดภาพเคลือ่ นไหว จาวาแอปแพล็ตบางตัวก็มีความช้ ามากในการส่ งข้ อมูล
ดังนั้นจะสั งเกตเห็นว่ าเว็บเพจส่ วนมากจะใช้ จาวาทาเป็ นตัวอักษรวิ่งเท่ านั้น
จาวาแอปแพล็ต สามารถรันบนคอมพิวเตอร์
ได้หลายระบบ เช่น แมคอินทอช วินโดวส์
และยูนิกส์
เหตุผลในการใช้ จาวา
1. เว็บเพจมีประสิ ทธิภาพสวยงาม ผูส้ ร้างโฮมเพจมากมายนิยม
ใช้จาวาแอปแพล็ตมาปรับปรุ งเว็บเพจของตนให้ดูดีข้ ึน ซึ่ งแอปแพล็ต
ส่ วนใหญ่ถูกใช้เพื่อการแสดงข้อความที่เคลื่อนไหวได้ หรื อ
ภาพเคลื่อนไหวแบบง่าย ๆ
เหตุผลในการใช้ จาวา
2. เว็บเพจแสดงผลแบบโต้ ตอบได้ จาวาแอปแพล็ตช่วยให้เว็บเพจ
สามารถแสดงผลแบบโต้ตอบ (Interactive) เช่น ผูใ้ ช้สามารถติดต่อหรื อเล่น
เกมกับผูใ้ ช้อื่นที่อยูบ่ นเว็บได้
เหตุผลในการใช้ จาวา
3. โปรแกรม ผูใ้ ช้สามารถใช้จาวา
เขียนโปรแกรมที่ยงุ่ ยากซับซ้อน เช่น
เวิร์ดโปรเซสซิ่ง สเปรดชีต และ
โปรแกรมวาดภาพได้ ซึ่งชนิดของ
โปรแกรมเหล่านี้มีขนาดใหญ่มาก
ดังนั้นผูใ้ ช้ส่วนใหญ่จึงไม่นิยมใส่
โปรแกรมเหล่านี้ลงไปในเว็บเพจของ
ตน เพราะจะต้องใช้เวลานานมากใน
การรับส่ งข้อมูลไปแสดงยังเครื่ อง
คอมพิวเตอร์ของผูใ้ ช้
JavaScript
จาวาสคริ ปต์ (JavaScript) คือ ภาษาโปรแกรมที่ถูกใช้เป็ นตัวหลักในการให้
เว็บเพจมีประสิ ทธิภาพสู งและมีชีวิตชีวา เช่น การแสดงให้ขอ้ ความสามารถ
เลื่อนไปมาหรื อค่อย ๆ
ปรากฏแล้วจางหายไป
ได้
แม้วา่ จาวาและจาวา
สคริ ปต์จะมีชื่อคล้ายกัน
แต่กม็ ีความแตกต่างกัน
ตรงที่จาวาสคริ ปต์
สามารถเรี ยนรู ้ได้ง่าย
กว่าภาษาจาวา
จาวาสคริปต์ ทางานอย่ างไร
คาสั่ งของจาวาสคริปต์ สามารถถูกกาหนดให้ แทรกลงในไฟล์ ทเี่ ป็ น HTML ได้
ผู้ใช้ สามารถเขียนคาสั่ งของจาวาสคริปต์ ได้ ด้วยตนเอง หรือจะนาจาวาสคริปต์ ที่
เขียนไว้ แล้ วบนเว็บมาใช้ ได้ เลยก็ได้
ActiveX
แอกทีฟเอ็กซ์ (ActiveX) คือเทคโนโลยีใหม่ ทถี่ ูกพัฒนาโดยบริษทั ไมโครซอฟต์
เพือ่ ช่ วยให้ การปรับปรุงเว็บเพจดียงิ่ ขึน้
• เหตุผลในการใช้ แอกทีฟเอ็กซ์
แอกทีฟเอ็กซ์ช่วยให้เว็บเพจน่าใช้และใช้งานได้
ง่ายขึ้น เช่น สามารถเพิ่มเมนูแบบป๊ อบอัป (popup menu) ทันทีที่คลิกเมาส์ ซึ่งจะช่วยให้เลือก
รายการที่ตอ้ งการได้อย่างรวดเร็ ว และยังสามารถ
ใช้แอกทีฟเอ็กซ์น้ ีใส่ เพิม่ เข้าไปยังภาพเคลื่อนไหวหรื อข้อมูลจากโปรแกรมยอด
นิยมอื่น ๆ เช่น ไมโครซอฟต์เวิร์ดหรื อไมโครซอฟต์เอ็กเซลที่อยูใ่ นเว็บเพจได้
VRML
VRML ย่ อมาจาก Virtual Reality
Modeling Language เป็ นเทคโนโลยีที่
ช่ วยให้ สามารถสร้ างภาพ 3 มิติที่
ประกอบด้ วยวัตถุและสภาพแวดล้ อม
ต่ าง ๆ ในลักษณะทีเ่ หมือน
ของจริง ซึ่งบางครั้งก็มักถูก
เรียกว่ า โลกของ VRML
โปรแกรมที่ใช้ แสดง VRML
โปรแกรมเล่น VRML จะให้ผใู ้ ช้ได้ใช้เมาส์หรื อแป้ นพิมพ์เคลื่อนย้ายมุมมองของ
ตัวเองเหมือนกับได้เดินเข้าไปในพื้นที่สามมิติ โดยสามารถมองวัตถุต่าง ๆ ได้
โดยรอบสาหรับโปรแกรมเว็บเบราเซอร์ในปัจจุบนั จะสามารถแสดงภาพแบบ
VRML ได้เกือบทุกตัว
โปรแกรมที่ใช้ สร้ างและแก้ ไข VRML
การสร้างโลกเสมือน VRML นั้นจะใช้
เวลามาก โดยจะต้องใช้โปรแกรมแก้ไข
VRML โดยเฉพาะ ซึ่งปัจจุบนั
โปรแกรมแก้ไข VRML ที่นิยมใช้กนั
มากมีชื่อว่า Caligari Pioneer
เหตุผลทีค่ วรจะใช้ VRML
• เพือ่ ความบันเทิง
• เพือ่ แสดงสิ นค้ าได้ เหมือนจริง
• เพือ่ การฝึ กอบรม
ความจาเป็ นในการมีเว็บเพจ
• เพือ่ นาเสนอข้ อมูลทีน่ ่ าสนใจ
มีผใู ้ ช้หลายคนใช้เว็บเพจแสดง
เรื่ องราวเกี่ยวกับสิ่ งที่พวกเขาคิดว่า
น่าสนใจ เช่น เว็บไซต์ของศิลปิ น
หรื อดาราภาพยนตร์ เป็ นต้น ส่ วน
ใหญ่เว็บไซต์เหล่านี้จะบรรจุท้ งั
ภาพและเสี ยงไว้อย่างสวยงาม
ทีเดียว เพื่อให้เว็บไซต์มีชีวิตชีวา
มากขึ้น
• เพือ่ เรียนรู้ ทกั ษะใหม่ ๆ
ในช่วงเวลา 2 – 3 ปี ที่ผา่ นมา จานวนเว็บไซต์ในเครื อข่ายเวิลด์ไวด์เว็บมีการ
เติบโตเป็ นล้าน ๆ เว็บไซต์อย่างรวดเร็ ว และการเรี ยนรู ้การสร้างเว็บไซต์ผา่ นทาง
อินเตอร์เน็ตนี้เองที่จะทาให้ผใู ้ ช้ได้เปรี ยบในการหางาน เพราะในปัจจุบนั ผูท้ ี่มี
ทักษะทางด้านนี้นบั เป็ นคุณสมบัติสาคัญในการหางานทาทีเดียว
• เพือ่ บริการดูแลทางด้ านเทคนิค
หลาย ๆ บริ ษทั ใช้เว็บไซต์เป็ นที่ให้ลูกค้าได้
ติดต่อเข้ามาสอบถามถึงปัญหาต่าง ๆ
ทางด้านเทคนิค โดยใช้อีเมล์เป็ นสื่ อส่ ง
ข้อความ เมื่อทางฝ่ ายเทคนิคได้อ่านปัญหา
ดังกล่าวแล้วก็จะตอบกลับไป วิธีการนี้
นับว่าสะดวก รวดเร็ ว และได้ผลดีเป็ น
อย่างยิง่
• เพือ่ แลกเปลีย่ นความรู้
มีนกั วิทยาศาสตร์และนักธุรกิจจานวน
มากนาผลงานของตนออกเผยแพร่ ผา่ น
ทางเว็บ ซึ่งผูใ้ ช้สามารถเข้าไปศึกษาหา
ความรู ้เหล่านั้นได้และหากอยากจะให้
ข้อเสนอแนะบางอย่างก็สามารถทาได้ สิ่ งนี้จึงทาให้เกิดการเรี ยนรู ้ที่แลกเปลี่ยน
กันในวงกว้าง
• เพือ่ ประชาสั มพันธ์ องค์ กร
ผูใ้ ช้สามารถใช้เว็บไซต์เผยแพร่ ขอ้ มูลขององค์กรหรื อมูลนิธิที่ผใู ้ ช้เป็ นสมาชิก
อยูก่ ไ็ ด้ โดยอาจจะแสดงเป้ าหมายของมูลนิธิ ตารางกาหนดการต่าง ๆ ซึ่งส่ วน
ใหญ่การบริ การในลักษณะนี้มกั จะเป็ นองค์กรที่ไม่แสวงหากาไร และไม่คิด
ค่าใช้จ่ายใด ๆ ทั้งสิ้ น
กลุ่มเป้ าหมาย
เวลาออกแบบเว็บไซต์ จะต้ องทราบก่ อนว่ าใครจะเป็ นกลุ่มเป้ าหมายหรือคนที่
ต้ องการให้ เข้ ามาดูเว็บไซต์ ของเรา
• กลุ่มเฉพาะเจาะจง
ผูใ้ ช้สามารถออกแบบเว็บเพจของผูใ้ ช้ให้
น่าตื่นตาตื่นใจกับเฉพาะบุคคลได้ นัน่
หมายความว่าจานวนผูเ้ ข้ามาเยีย่ มชม
เว็บไซต์ของผูใ้ ช้อาจจะมีนอ้ ยลง แต่กจ็ ะ
เป็ นกลุ่มเป้ าหมายของผูใ้ ช้แน่นอน ซึ่ง
อยากที่จะกลับเข้ามาอีกในคราวหน้า ดังนั้นเว็บเพจของผูใ้ ช้จะต้องมีขอ้ มูล
ครอบคลุมทุกสิ่ งที่พวกเขาต้องการ มีการบริ หารและจัดการเว็บไซต์เป็ นอย่างดี
กลุ่มเป้ าหมาย
• กลุ่มทั่วไป
ผูใ้ ช้สามารถออกแบบเว็บเพจให้น่าสนใจกับใครทัว่ ไปก็ได้ ซึ่งอาจจะมีใคร
เข้ามาเยีย่ มชมเว็บเพจของผูใ้ ช้ได้ แต่กอ็ าจจะเข้ามาเพียงแค่ครั้งเดียว เพราะ
ข้อมูลที่ได้รับไม่ตรงกับความต้องการ ดังนั้นการออกแบบเว็บเพจแบบนี้จะใช้
สาหรับตรวจสอบสถิติจานวนผูเ้ ข้ามาเยีย่ มชมเว็บไซต์มากกว่า
• สถิติผ้ ูใช้ เว็บ
อายุ อายุโดยเฉลี่ยของผูใ้ ช้เว็บอยู่
ประมาณที่ 35 ปี
เพศ มากกว่า 68% ของผูใ้ ช้เว็บเป็ น
เพศชาย
รายได้ รายได้เฉลี่ยต่อครัวเรื อนของ
ผูใ้ ช้เว็บอยูท่ ี่ 60,800 ดอลลาร์
สหรัฐ
การศึกษา
ประมาณ 56% ของผูใ้ ช้เว็บสาเร็ จ
การศึกษาระดับวิทยาลัยและ
มหาวิทยาลัย
ภาษา ภาษาอังกฤษเป็ นภาษาที่
ใช้กนั มากที่สุดใน
เว็บคือ 93% ของ
ผูใ้ ช้เว็บทั้งหมด
เป้ าหมาย เหตุผลที่ตอบกันมากสาหรับ
ผูใ้ ช้เว็บคือ ใช้เพื่อ
ความบันเทิง
การศึกษา และงาน
ของตนเอง
ขั้นตอนการสร้ างเว็บเพจ
วางแผนการจัดทา
ขั้นแรกต้องสรุ ปคอนเซ็ปต์ (concept) ของเว็บเพจที่ตอ้ งการ ถ้าเป็ นไปได้
พยายามรวบรวมให้เป็ นกลุ่ม ๆ ไว้ จากนั้นกาหนด
เป้ าหมายและหาหนทางให้ได้มา โดยจะต้อง
กาหนดรู ปแบบและเนื้อหาให้ตรงกับกลุ่มเป้ าหมาย
หลังจากนั้นค่อยลงลึกไปในรายละเอียดอีกที
พิมพ์ข้อความ
ออกแบบเนื้อหาที่คุณต้องการนาเสนอในเว็บ
เพจ จากนั้นก็พิมพ์เก็บเป็ นไฟล์ไว้ เพื่อ
เตรี ยมไปแปลงเป็ นไฟล์ HTML
(HyperText Markup Language) ซึ่งเป็ น
ภาษาที่ใช้ในการแสดงผลทางเวิลด์ ไวด์เว็บ
แทรกการเชื่อมโยง
การเชื่อมโยง (link) คือการที่ผเู ้ ข้ามาดู
เว็บไซต์ของเราสามารถคลิกเมาส์ที่รูปภาพ
หรื อข้อความที่เน้นไว้ แล้วสามารถแสดง
เว็บไซต์อื่นขึ้นมาได้ ซึ่งการเชื่อมโยงนับว่า
เป็ นคุณสมบัติสาคัญที่ควรจะต้องมีเพราะจะ
ทาให้ผอู ้ ่านสามารถไปยังเว็บไซต์อื่นที่
สนใจได้อย่างรวดเร็ ว
แทรกรู ปภาพประกอบ
ผูใ้ ช้สามารถนารู ปภาพแทรกลงไปในหน้า
เว็บเพจเพื่อให้เกิดความสวยงามได้ ซึ่ง
อาจจะเป็ นรู ปภาพ โลโก้ หรื อไอคอนอะไร
ก็ได้ที่ผใู ้ ช้ตอ้ งการ รู ปภาพดังกล่าวผูใ้ ช้จะ
สร้างขึ้นเองหรื อสแกนมาจากหนังสื อก็ได้
เพียงแต่อย่าให้มีความละเอียดสู งมากเกินไป
เพราะจะทาให้ไฟล์รูปมีขนาดใหญ่แล้วแสดงผลช้า ซึ่งถือเป็ นข้อเสี ยที่ควร
หลีกเลี่ยงในการทาเว็บเพจ โดยทัว่ ไปความละเอียดควรจะอยูท่ ี่ 72 dpi เท่านั้น
นาเว็บเพจขึน้ สู่ เว็บไซต์
เมื่อสร้างเว็บเพจเสร็ จเรี ยบร้อยแล้ว ก็สามารถส่ งไฟล์เว็บเพจนั้นไปยังผู ้
ให้บริ การอินเตอร์เน็ตเพื่อออกเผยแพร่ ในเวิลด์ไวด์เว็บได้ จากนั้นก็ลองทดสอบ
เข้าไปดูวา่ ทุกอย่างที่ทาไว้ถูกต้องสมบูรณ์หรื อไม่ ถ้าเรี ยบร้อยดี ผูใ้ ช้กส็ ามารถ
ประกาศโฆษณาให้บุคคลทัว่ ไปเข้าไปเยีย่ มชมได้
เนือ้ หาของเว็บเพจ
มีหลายสิ่ งที่ตอ้ งระลึกถึงในการสร้างและดูแลเว็บเพจ ซึ่งต่อไปนี้จะเป็ นหลัก
เบื้องต้นในการปรับปรุ งเว็บไซต์
ตรวจสอบความซ้าซ้ อน
ก่อนที่จะนาเว็บเพจทั้งหมดมารวมกัน ควรตรวจสอบดูก่อนว่า
มีเว็บเพจใดบ้างที่มีขอ้ มูลซ้ าซ้อนกัน หากมี ก็
ควรจับมารวมเป็ นอันเดียวกัน เพื่อความกระชับ
ของเนื้อหา
ตรวจสอบเรื่องลิขสิ ทธิ์
เมื่อต้องการจะใช้ขอ้ มูลหรื อรู ปภาพจากที่อื่น
ขอให้แน่ใจก่อนว่าไม่มีเจ้าของลิขสิ ทธิ์ แต่โดย
ส่ วนมากข้อมูลในเว็บไซต์ในโลกอินเตอร์เน็ตจะ
ไม่มีลิขสิ ทธิ์ สามารถหยิบยืมมาใช้ได้อย่างสะดวก
ใส่ เนือ้ หาให้ เต็มในแต่ ละหน้ า
หน้าเว็บเพจแต่ละหน้าควรเต็มเปี่ ยมไปด้วย
ประโยชน์สาหรับผูเ้ ข้ามาดู ถ้าเว็บเพจมีเพียง
แค่หวั ข้อของเนื้อหา ก็ควรจะใส่ ขอ้ มูลที่ให้
ประโยชน์ลงไปมาก ๆ เพราะนี้จะเป็ นเหตุผล
หนึ่งที่จะทาให้ผเู ้ ข้ามาดูน้ นั กลับมาเยีย่ มชม
เว็บไซต์อีกหลายครั้ง
ให้ ข้อมูลทัว่ ไปอืน่ ๆ ด้ วย
ถ้าเว็บเพจมีกลุ่มเป้ าหมายเป็ นแบบ
เฉพาะเจาะจง ควรมีเนื้อหาข้อมูลแบบทัว่ ๆ
ไปเสริ มเข้าไปด้วย เพื่อให้ขอ้ มูลสมบูรณ์และ
เกิดความเข้าใจได้ง่ายแก่ผเู ้ ข้ามาดู
ปรับปรุงอัปเดตข้ อมูล
การปรับปรุ งอัปเดตข้อมูลในเว็บ
เพจถือเป็ นหลักการเบื้องต้นข้อ
แรกที่ตอ้ งทา และถือเป็ นข้อที่
สาคัญที่สุดด้วย เพราะถ้าข้อมูลไม่
มีการเปลี่ยนแปลงเลย ก็จะมีผเู ้ ข้า
มาเยีย่ มชมเว็บไซต์เพียงครั้งหรื อ
สองครั้งเท่านั้น แล้วก็จะไม่เข้ามา
อีกเลย
โฮมเพจ หรือหน้ าหลักของเว็บไซต์
โฮมเพจ คือหน้ าหลักของเว็บเพจทั้งหมด ซึ่งส่ วนใหญ่ จะเป็ นหน้ าแรกของเว็บไซต์
นั้น ๆ เพือ่ ให้ ผู้เข้ ามาเยีย่ มชมได้ พบเห็นก่ อนหน้ าอืน่ ๆ
โฮมเพจมักจะถูกตั้งชื่อเป็ น index.htm หรือ index.html
ใช้ ข้อความแบบรวบรัด
หน้าโฮมเพจนี้ควรจะใช้ขอ้ ความแบบกระชับ
และให้ได้ใจความที่สุด โดยระบุ ให้ชดั เจน
ไปเลยว่าเว็บไซต์น้ ีมีจุดประสงค์อย่างไรใน
การสร้างขึ้นมา ไม่ควรให้ผอู ้ ่านเดาเอาเองว่า
มีความต้องการจะเผยแพร่ อะไร เพราะอาจ
เกิดความเข้าใจผิดได้
สารบัญ
ควรกาหนดให้โครงเรื่ องของเว็บเพจทั้งหมดที่มี
บรรจุอยูใ่ นหน้าโฮมเพจนี้ เพื่อให้ผอู ้ ่านสามารถ
หาข้อมูลที่ตอ้ งการได้อย่างรวดเร็ ว โดยไม่หลง
ไปหน้าอื่นที่ไม่ตอ้ งการ
เตือนผู้อ่านให้ บ๊ ุคมาร์ ก
บุค๊ มาร์ก (Bookmark) หรื อที่คนั่ หนังสื อเป็ น
คุณสมบัติเด่นอย่างหนึ่งที่ควรให้ผอู ้ ่านทากับ
เว็บไซต์ เพราะผูอ้ ่านส่ วน
ใหญ่ลืมที่จะคัน่ หน้าที่
ตนเองสนใจไว้ขณะที่กาลัง
อ่านเรื่ องราวที่ตนสนใจอยู่
ควรเตือนผูอ้ ่านให้บุ๊ค
มาร์กเว็บไซต์ไว้ดว้ ย
รู ปภาพหรื อข้อความ
แนะนาก็ได้ บุ๊คมาร์กนี้
บางทีกเ็ รี ยกว่า ฮอดลิสต์
(hotlist) หรื อ เฟเวอริ ต
(favorite)
มีส่วนทีใ่ ห้ ความช่ วยเหลือ
ถ้าหากเว็บไซต์มีหน้าเว็บเพจอยูเ่ ป็ นจานวนมาก ก็
ควรที่จะมีส่วนที่ให้ความช่วยเหลือ (Help) แก่
ผูอ้ ่านไว้ที่หน้าโฮมเพจด้วย ซึ่งส่ วนของการให้
ความช่วยเหลือนี้จะเป็ นการอธิบายการใช้
เครื่ องมือหรื อไอคอนต่าง ๆ ภายในเว็บไซต์
แสดงข้ อความให้ เกียรติแก่ ผู้ออกแบบ
ถ้าคุณเป็ นผูอ้ อกแบบเว็บไซต์น้ ีเอง คุณ
ก็สามารถลงชื่อและที่อยูอ่ ีเมล์ไว้ในตอน
ล่างสุ ดของโฮมเพจได้เลย เพื่อเป็ น
เกียรติแก่ตนเอง แล้วยังสามารถให้ผทู ้ ี่
ต้องการติดต่อกับคุณ ส่ งจดหมายมาพูดคุยหรื อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมจากคุณได้
การเชื่อมโยง
ผู้ใช้ สามารถเชื่อมโยงข้ อความหรือรู ปภาพในเว็บเพจกับเว็บไซต์ อนื่ ทีม่ ีความสั มพันธ์
กันได้ ซึ่งถือว่ าเป็ นเครื่องมือทีม่ ีประสิ ทธิภาพมากในการสร้ างเว็บเพจ
ข้อความในเว็บเพจที่มีการเชื่อมโยงไว้
จะเป็ นข้อความแบบไฮเปอร์เท็กซ์
(hypertext) แต่เว็บเพจในปั จจุบนั ได้มี
การพัฒนาไปจนถึงให้มีรูปภาพหรื อ
ไฟล์วิดีโอเชื่อมโยงไปยังเว็บไซต์อื่น
ได้แล้ว ซึ่ งเรี ยกแทนไฮเปอร์ เท็กซ์วา่ ไฮเปอร์ ลิงก์ (hyperlink)
การเชื่อมโยงทางานอย่ างไร
เมื่อมีการเข้ ามาดูเว็บเพจ ผู้อ่านสามารถเลือกการเชื่อมโยงโดยคลิกเมาส์ ทขี่ ้ อความ
หรือรู ปภาพทีม่ ีการเชื่อมโยงไปยังเว็บเพจอืน่ ทีส่ ั มพันธ์ กนั ได้ ซึ่งมันจะมีลกั ษณะ
แตกต่ างจากรู ปภาพหรือข้ อความอืน่ ๆ โดย
ทัว่ ไปโดยสั งเกตจากตัวชี้เมาส์ จะ
เปลีย่ นเป็ นรู ปมือเมื่ออยู่บนข้ อความหรือ
รู ปภาพทีเ่ ชื่อมโยง
URLs
แต่ละหน้าบนเว็บไซต์จะมีที่อยูแ่ น่นอน ที่อยูข่ องแต่ละหน้าเรี ยกว่า URL
(Uniform Resource Locator) ซึ่งจะเริ่ มต้นด้วย http ตามด้วย ชื่อของ
คอมพิวเตอร์ (ที่เก็บไฟล์ของเว็บเพจไว้)
แล้วก็ตามด้วย ชื่อของไดเรกทอรี
และสุ ดท้ายก็เป็ น ชื่อของเว็บเพจ
เหตุผลทีต่ ้ องมีการเชื่อมโยง
เพือ่ ส่ งอีเมล์
บางครั้งผูใ้ ช้อยากจะได้
ข้อคิดเห็นหรื อข้อเสนอแนะ
จากผูท้ ี่เข้ามาดูเว็บไซต์ และ
ทางที่สะดวกที่สุดก็คือการส่ ง
มาทางอีเมล์
เพือ่ ติดต่ อกับกลุ่มสนทนา
เว็บเพจที่สามารถทาการเชื่อมโยงไปยังกลุ่มที่
มีการแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นกัน (discussion
group) หรื อนิวส์กรุ๊ ป (newsgroup) ได้ ย่อม
ทาให้ขอ้ มูลที่มีความสัมพันธ์กบั เรื่ องราวใน
เว็บเพจนั้นเพิ่มเติมมากยิง่ ขึ้น
เพือ่ ดึงไฟล์ มาใช้ ได้ สะดวก
การดึงไฟล์มาใช้งานจากไซต์ FTP ช่วยให้
ผูอ้ ่านสามารถดึงไฟล์โปรแกรมหรื อ
ไฟล์ขอ้ มูลมาใช้งานได้สะดวกยิง่ ขึ้น
เพือ่ การอธิบายความ
การอธิบายความเพิม่ เติมจะช่วยให้ผอู ้ ่าน
สามารถทราบถึงความหมายเพิม่ เติมของ
คาหรื อประโยคนั้น ๆ ซึ่งจะคล้ายกับเป็ น
เชิงอรรถในหนังสื อนัน่ เอง
ภาพกราฟิ ก (Image)
เลือกแสดงเฉพาะข้ อความ
มีผใู ้ ช้บางคนใช้เว็บเบราเซอร์ ที่ไม่
สามารถแสดงรู ปภาพได้ซ่ ึงก็จะ
แสดงเฉพาะข้อความอย่างเดียว
เท่านั้น เหตุผลก็เพื่อให้การแสดงผล
เป็ นไปอย่างรวดเร็ ว จึงทาให้ผอู ้ ่าน
ไม่อาจเห็นรู ปภาพประกอบได้ ดังนั้นเวลาที่สร้างเว็บเพจก็ควรระบุขอ้ ความที่
แทนรู ปภาพนั้นว่าเป็ นรู ปภาพของอะไรด้วย
ภาพพืน้ หลัง
ผูใ้ ช้สามารถใส่ รูปภาพชิ้นเล็ก ๆ ซ้ า ๆ กัน เพื่อให้ปรากฏเป็ นภาพพื้นหลัง
(Background) ได้ไม่ยาก แต่มีขอ้ ควรระวังคือ
อย่าให้ภาพพื้นหลังนี้มีผลทาให้
ข้อความที่ปรากฏนั้นอ่านได้
ยาก เพราะจะถือเป็ นอุปสรรค
อย่างหนึ่งในการอ่านข้อมูล
ชนิดของรู ปภาพ
GIF
GIF (Graphics Interchange Format) เป็ นตระกูลของรู ปภาพชนิดหนึ่งที่พบได้
มากในเว็บ รู ปภาพชนิดนี้จะมีขอ้ จากัดในการแสดงผลที่ 256 สี แต่กเ็ ป็ นจานวน
สี ที่เครื่ องคอมพิวเตอร์ทวั่ ไปใช้แสดงผลอยูแ่ ล้ว รู ปภาพชนิด GIF นี้ส่วนมากจะ
ใช้ทาเป็ นโลโก้หรื อแบนเนอร์ โดยจะมีนามสกุลเป็ น .gif
ในขณะนี้มี GIF อยูส่ องรู ปแบบ คือ 87a และ 89a (ถูกคิดค้นในปี 1989) โดยที่
GIF 87a คือภาพกราฟฟิ กเพียงภาพเดียว ในขณะที่รุ่ น GIF 89a สามารถที่จะ
แสดงภาพเคลื่อนไหวได้ โดยการนาภาพหลาย ๆ ภาพมาใส่ ลงใน GIF ไฟล์เดียว
แล้วแสดงภาพอย่างต่อเนื่อง
คุณสมบัติเด่นประการหนึ่งของ GIF คือสามารถใช้ Interlaced GIF เพื่อให้ภาพค่อย
ๆถูกแสดงจากหยาบไปหาระเอียด วิธีการนี้จะให้ผชู ้ มเว็บเพจที่ใช้ความเร็ วต่า ๆ
สามารถเห็นภาพหยาบได้ก่อนภาพสมบูรณ์
ข้อเสี ยใหญ่ของรู ปแบบ GIF คือ มันเป็ นลิขสิ ทธิ์ ของบริ ษทั Compuserve ทาให้
บริ ษทั ที่จะพัฒนาซอฟต์แวร์ที่สามารถใช้ภาพรู ปแบบนี้ได้
จะต้องมีใบอนุญาต
(License) ที่จะใช้มนั ข้อเสี ยจุดนี้เอง ทาให้ในขณะนี้จึงได้มีการพัฒนารู ปแบบใหม่
ขึ้นมาใช้แทน GIF มีชื่อเรี ยกว่า PNG (Portable Network Graphics)
PNG
PNG (Portable Network Graphics) เป็ นรู ปภาพชนิดใหม่ที่ถูกออกแบบมาเพื่อ
ใช้ในเว็บโดยเฉพาะ ซึ่งสามารถแสดงผล
ได้ถึง 16 ล้านสี เช่นเดียวกัน
โดยสามารถใช้แทนรู ปประเภท
GIF ได้รูปภาพชนิดนี้จะมี
นามสกุลเป็ น .png หรื อ .ping
คุณสมบัติส่วนใหญ่ของ PNG จะเหมือนกับ GIF คือ ถูกบีบอัดไฟล์ภาพได้
โดยไม่ทาให้ภาพสู ญเสี ยคุณภาพ ดังนั้นจะเห็นว่าไฟล์ PNG จึงไม่ได้ถูกเจตนา
ให้แทนที่ JPEG ซึ่งมีเทคนิคที่ทาให้ไฟล์ภาพสู ญเสี ยคุณภาพไปบางส่ วน
ไฟล์ แบบ PNG มีลกั ษณะเด่ นดังนี้
1. ไฟล์แบบ PNG ช่วยให้สามารถบีบอัดได้มากกว่า GIF ถึง 10 – 30%
2. สามารถทาสี โปร่ งใสได้เหมือน GIF และสามารถจะปรับระดับความโปร่ งใส
ได้อีกด้วย (GIF ทาไม่ได้)
3. รู ปแบบ Interlaced PNG ทางานได้เร็ วกว่า Interlaced GIF
4. PNG มี Gamma Correction ซึ่งทาให้สามารถปรับแต่งความสว่างของภาพ
ได้
5. ไฟล์ PNG สามารถเซฟในแบบสี ธรรมชาติ (True Color) หรื อ 16 ล้านสี
ได้ ในขณะที่ GIF สามารถเซฟสี ได้เพียง 256 สี เท่านั้น
สิ่ งที่ยงั ดูดอ้ ยกว่า GIF คือ PNG ยังไม่สามารถสร้างภาพเคลื่อนไหวได้
เนื่องจากไม่สามารถจะเก็บหลาย ๆ ภาพไว้ในไฟล์เดียวได้
JPEG
JPEG (Joint Photographic
Experts Group) รู ปภาพชนิด
JPEG นี้กห็ าได้ง่ายในเว็บเช่น
เดียวกัน โดยสามารถแสดงผลได้ถึง 16 ล้านสี ส่ วนใหญ่จะใช้กบั ไฟล์ที่เป็ นรู ป
ถ่ายและรู ปที่มีรายละเอียดมาก ๆ รู ปภาพแบบ JPEG นี้มกั จะมีนามสกุลเป็ น .jpg,
.jpe และ .jpeg
JPEG เป็ นภาพกราฟฟิ กที่ถูกสร้างโดยมุ่งให้สามารถบีบอัดได้มากที่สุด ในขณะที่
คุณภาพของภาพยังดีอยู่ เมื่อสร้างภาพ JPEG หรื อแปลงภาพจากรู ปแบบอื่นเป็ น
JPEG จะต้องเลือกว่าคุณภาพของภาพเท่าใด เนื่องจากคุณภาพของภาพที่ดีจะทา
ให้ขนาดไฟล์ใหญ่ ซึ่งสามารถที่จะเลือกได้ระหว่างคุณภาพหรื อขนาดของไฟล์
JPEG คือรู ปแบบไฟล์ที่เป็ นมาตรฐาน ISO 10918 ซึ่งตามมาตรฐานจริ ง
ๆ ของ JPEG จะต้องเข้ารหัสถึง 29 ชั้น แต่ผสู ้ ร้างโปรแกรมส่ วนใหญ่กไ็ ม่ได้ทา
ถึงขนาดนั้น
เทคนิคของการใช้ภาพแบบ JPEG อีกประการหนึ่งคือสามารถสร้างภาพ
แบบ Progressive JPEG ซึ่งเป็ นภาพที่ค่อย ๆ ถูกแสดงอยากหยาบ ๆ ไปเป็ น
ละเอียดที่สุดได้ ซึ่งจะช่วยให้ผชู ้ มเว็บเพจสามารถจะดูภาพได้ก่อนที่ภาพทั้งหมด
จะถูกดาวน์โหลดมาสมบูรณ์ (คล้าย ๆ กับ Interlaced GIF)
ตาราง
ตาราง (Table) จะช่วยให้สามารถควบคุมการแสดงผลทั้งข้อความและรู ปภาพใน
เว็บเพจ ตารางดูเหมือนจะทาให้เกิดความยุง่ ยาก แต่ถา้ ได้เรี ยนรู ้วิธีการสร้างแล้ว ก็
นับว่าคุม้ เพราะมันจะให้ประโยชน์มากมายในการสร้างเว็บเพจ
ส่ วนประกอบพืน้ ฐานของตาราง
ตารางประกอบด้วยแถว (row), คอลัมน์ (column) และเซลล์ (cell)
Last Name First Name
Smith
Lang
Gray
John
Kristin
Russell
City
แถว คือตารางข้อมูลในแนวนอน
New York
Boston
Atlanta
คอลัมน์ คือตารางข้อมูลในแนวตั้ง
เซลล์ คือพื้นที่ที่แถวและคอลัมน์มา
ตัดกัน
ข้ อมูลทีใ่ ช้ กบั ตาราง
ข้ อมูลทีเ่ ป็ นรายการ
การนาเสนอข้อมูลด้วยตารางนับเป็ น
หนทางที่ดีที่สุดสาหรับข้อมูลประเภทที่
เป็ นรายการต่าง ๆ เช่น ข้อมูลด้าน
การเงิน รายชื่อผูใ้ ช้โทรศัพท์ และ
รายการแสดงราคาของสิ นค้า เป็ นต้น
ข้ อมูลแบบหนังสื อพิมพ์
สามารถใช้ตารางแสดงผลข้อมูลในรู ปแบบของ
หนังสื อพิมพ์ได้ โดยกาหนดไม่ให้แสดงเส้นกรอบของ
ตารางนัน่ เอง เช่น สามารถให้ขอ้ ความปรากฏเป็ น 3
คอลัมน์ได้โดยสร้างตารางที่มี 1 แถว กับ 3 คอลัมน์
จากนั้นก็ใส่ ขอ้ ความลงในแต่ละเซลล์เท่านั้น
เส้ นกรอบ
สามารถใช้ตารางเป็ นเส้นกรอบแบบ 3 มิติ
ไว้สาหรับใส่ รูปภาพหรื อข้อความนั้นลอย
เด่นออกมานอกเว็บเพจทีเดียว สาหรับการ
ใส่ กรอบให้รูปภาพนี้กเ็ พียงแต่สร้างตารางที่มีขนาด 1แถว กับ 1
คอลัมน์ เท่านั้น
การส่ งไฟล์ ไปยังเซิร์ฟเวอร์ ของผู้ให้ บริการ
ผูใ้ ช้บริ การที่นาเสนอเว็บไซต์ ก็คือบริ ษทั ที่ผใู ้ ช้เป็ นสมาชิก
อยูน่ นั่ เอง โดยจะเป็ นผูเ้ ก็บเว็บเพจทั้งหมดของผูใ้ ช้
ไว้ในคอมพิวเตอร์
เครื่ องหนึ่งที่
เรี ยกว่า เว็บ
เซิร์ฟเวอร์
(Web Server)
เพียงครั้งเดียวที่ผใู ้ ช้ส่ง
ไฟล์มายังเว็บเซิร์ฟเวอร์น้ ีเว็บไซต์ของ
ผูใ้ ช้กจ็ ะปรากฏแก่ผชู ้ มทัว่ โลกได้ในทันที
ผูใ้ ห้บริ การอินเตอร์ เน็ต
ส่ วนใหญ่กค็ ือผูใ้ ห้
บริ การแสดงเว็บไซต์
นัน่ เอง
ชื่อไฟล์
ผูใ้ ห้บริ การบางรายอาจจะไม่ยอมรับไฟล์บางไฟล์ที่ต้ งั ชื่อไม่ถูกหลัก เช่น
ยาวเกินไป มีการเว้นวรรคในชื่อไฟล์
หรื อใช้ตวั อักษรไม่ถูกต้อง
เป็ นต้น
ดังนั้นขอให้แน่ใจว่าไฟล์น้ นั ตั้งชื่อไว้อย่างถูกต้องและมีนามสกุลเป็ น .htm
หรื อ .html
ตรวจสอบการอนุญาต
ผูใ้ ห้บริ การบางรายอาจจะมีการป้ องกันการเข้าไป
ยังเว็บเพจถ้าผูใ้ ช้ได้รับข้อความว่า “Permission
Error” ให้ติดต่อเข้าไปยังผูใ้ ห้บริ การรายนั้น เพื่อ
ขอข้อมูลในการเข้าใหม่
จัดเก็บให้ เป็ นหมวดหมู่
สอบถามผูใ้ ห้บริ การถึงชื่อไดเรกทอรี ที่กาหนดให้นาไฟล์
เข้าไปเก็บ ซึ่งส่ วนใหญ่จะตั้งชื่อไดเรกทอรี เป็ น
public_html
ถ้ามีไฟล์อยูไ่ ม่มาก ก็
สามารถใส่ ลงใน
ไดเรกทอรี public_html นี้ได้เลย แต่ถา้ มีไฟล์อยูเ่ ป็ น
จานวนมาก ก็ให้จดั เก็บไว้ในไดเรกทอรี ยอ่ ยอีกทีจะ
ดีกว่า
ตรวจสอบการเชื่อมโยง
เมื่อทาการส่ งไฟล์ไปไว้ในไดเรกทอรี อื่นที่แตกต่างกัน ขอให้ระวังด้วยว่าการ
เชื่อมโยงต่าง ๆ ในเว็บเพจยังทางานได้เป็ นปกติ
เมื่อการเชื่อมโยงไปยังไฟล์ที่
อยูใ่ นไดเรกทอรี เดียวกัน ให้
พิมพ์ชื่อของไฟล์น้ นั ลงไป
(ตัวอย่างเช่น jan.html)
เมื่อการเชื่อมโยงไปยังไฟล์ที่อยู่
บนสุ ด (ไดเรกทอรี ราก) ให้
พิมพ์เครื่ องหมาย / ไว้หน้าชื่อ
ของไฟล์น้ นั (ตัวอย่างเช่น
/index.html)
เมื่อการเชื่อมโยงไปยังไฟล์อยู่
ในไดเรกทอรี ยอ่ ย ให้พิมพ์ชื่อ
ของไดเรกทอรี ยอ่ ย แล้วตาม
ด้วยเครื่ องหมาย / ต่อด้วยชื่อ
ไฟล์ลงไป (ตัวอย่างเช่น
sale/feb.html)
การทดสอบเว็บเพจ
ตรวจสอบการสะกดคา
ควรตรวจสอบการสะกดคาทุกคาที่อยูใ่ นเว็บก่อนจะนาออกไปในอินเตอร์เน็ต
ซึ่งถือเป็ นเรื่ องสาคัญที่ตอ้ งทา เพราะหากปล่อยให้มีคาผิดเกิดขึ้น ก็อาจจะสร้าง
ปัญหาให้ทากับผูอ้ ่านได้
การทดสอบเว็บเพจ
ใช้ บริการตรวจสอบเว็บเพจ (Validation Service)
ควรใช้บริ การตรวจสอบเว็บเพจบนอินเตอร์เน็ตเพือ่
ตรวจสอบความผิดพลาดในเว็บเพจทั้งหมด โดย
หน่วยบริ การนี้จะไปเยีย่ มชมเว็บเพจ และ
ตรวจสอบว่าการใช้ภาษา HTML มีขอ้ ผิดพลาด
ตรงไหน
ทดสอบการนาเสนอ
ทดสอบการแสดงผลได้
โดยใช้โปรแกรมเว็บเบรา
เซอร์เข้าไปดูขอ้ มูลต่าง ๆ
ขอให้แน่ใจว่าเว็บเพจนั้น
เป็ นไปตามที่ออกแบบ
รู ปแบบต่าง ๆ ถูกต้อง
และไม่มีขอ้ ความแจ้ง
ข้อผิดพลาด
การทดสอบเว็บเพจ
ตรวจสอบการเชื่อมโยง
ทดสอบการเชื่อมโยงทุกจุดว่าสามารถเชื่อมโยง
ไปยังปลายทางได้ถูกต้อง รวมทั้งการเชื่อมโยง
ไปยังเว็บไซต์อื่นที่ไม่ได้สร้างขึ้น เพราะนัน่ จะ
เป็ นข้อมูลเพิม่ เติมสาหรับกลุ่มผูอ้ า่ น
ใช้ การทดสอบกลุ่มผู้อ่าน
ถามเพื่อน ๆ หรื อสมาชิกในครอบครัวดู
ว่าเว็บเพจเป็ นอย่างไรบ้าง
การเผยแพร่ เว็บเพจ
เมื่อเว็บเพจของผู้ใช้ สามารถไปปรากฏในเวิลด์ ไวด์ เว็บได้ ผู้ใช้ คงต้ องการให้
ชาวโลกได้ รู้ ว่ามีเว็บเพจใหม่ ทนี่ ่ าสนใจเกิดขึน้ อีกแห่ งหนึ่งแล้ ว ผู้ใช้ ควรทา
อย่ างไร เพราะไม่ มีศูนย์ รวมแห่ งใดทีใ่ ห้
แสดงเว็บเพจของผู้ใช้ แล้ วจะ
รับทราบทั่วถึงกันหมด
ดังนั้นผู้ใช้ ต้องใช้ เครื่องมืออีก
หลายตัวต่ อไปนีช้ ่ วยในการ
ประชาสั มพันธ์
แลกเปลีย่ นการเชื่อมโยง
ถ้าผูใ้ ช้มีโอกาสแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับคนอื่น ๆ
ผ่านทางเว็บ ก็สามารถแจ้งที่อยูเ่ ว็บไซต์ของผูใ้ ช้ให้
เชื่อมโยงมาได้ วิธีน้ ีจะช่วยให้คนอื่นเข้ามายัง
เว็บไซต์ของผูใ้ ช้ได้ง่ายและรวดเร็ วขึ้น
ป้ ายโฆษณาเว็บเพจ
หลายบริ ษทั มีพ้นื ที่ดา้ นข้างไว้สาหรับ
โฆษณา ซึ่งผูใ้ ช้สามารถโฆษณาเว็บไซต์
ตรงตาแหน่งนี้ได้ เพียงแต่ใช้บริ การของ
Internet Link exchange ช่วยลงโฆษณาให้
ได้ โดยไม่เสี ยค่าใช้จ่ายแต่อย่างใด
เครื่องมือค้ นหา
ผูใ้ ช้สามารถเพิม่ รายชื่อลงในเครื่ องมือค้นหาได้ ซึ่งเครื่ องมือค้นหานี้จะอานวยความ
สะดวกให้แก่ผทู ้ ี่ตอ้ งการข้อมูลที่ระบุให้คน้ หาเท่านั้น
ซึ่งอาจถือได้วา่ ผูเ้ ข้ามายังเว็บไซต์ของผูใ้ ช้ผา่ น
เครื่ องมือนี้เป็ นผูท้ ี่ตอ้ งการข้อมูลจากเว็บไซต์จริ ง ๆ
กลุ่มสนทนาหรือนิวส์ กรุ๊ป
ผูใ้ ช้สามารถประกาศที่อยูเ่ ว็บเพจของผูใ้ ช้ให้
กลุ่มสนทนาในอินเตอร์เน็ตทราบได้ แต่ตอ้ ง
ระวังเพราะว่ากลุ่มสนทนาเหล่านี้มีอยูม่ ากมาย
หลายหัวข้อเรื่ อง การประกาศให้ทราบก็ควร
เป็ นกลุ่มสนทนาที่เกี่ยวข้องกับเว็บเพจด้วย