งานนำเสนอ PowerPoint

Download Report

Transcript งานนำเสนอ PowerPoint

อินเตอร์ เน็ต
(Internet)
อินเตอร์ เน็ต คือ ระบบการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ทวั่ โลก
เข้าด้วยกันเป็ นเครื อข่ายขนาดใหญ่ สามารถส่ งข้อมูลไปมาให้กนั ได้
เหมือนกันกับคนที่เราสามมารถโทรศัพท์หากันได้ ในปั จจุบนั คนทัว่ โลก
ใช้บริ การบนอินเตอร์ เน็ต เช่น เวิลด์ไวด์เว็บ อีเมล์ พาณิ ชย์อิเล็กทรอนิกส์
ฯลฯ
โครงสร้ างพืน้ ฐานของอินเตอร์ เน็ต
ประกอบด้วยเครื อข่ายระดับท้องถิ่น ระดับภูมิภาค ระดับชาติและ ระดับ
นานาชาติ อินเตอร์ เน็ตเชื่อมโยงข้อมูลจากเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ หนึ่ งไปยัง
เครื อข่ายอื่นด้วยความเร็ วและคุณภาพที่แตกต่างกัน ขึ้นอยูก่ บั การสื่ อสาร และสื่ อ
ที่ใช้ในการเชื่อมโยงเครื อข่าย เช่น สายโทรศัพท์ สายวิทยุ
อินเตอร์เน็ตเป็ นเครื อข่ายสาธารณะ โดยมีหน่วยงานของรัฐและเอกชนเป็ น
ผูด้ ูแลและจัดการจราจรข้อมูลบนอินเตอร์ เน็ตในเครื อข่ายที่รับผิดชอบ
โครงสร้ างพืน้ ฐานของอินเตอร์ เน็ต
การเข้ าถึงอินเตอร์ เน็ต
ผูใ้ ช้ที่เป็ นคนทางาน นักเรี ยน หรื อนักศึกษา มักจะเข้าอินเตอร์ เน็ตผ่าน
เครื อข่ายของหน่วยงาน โรงเรี ยน หรื อมหาวิทยาลัย ใช้วธิ ี การเชื่อมต่อ
อินเตอร์ เน็ตโดยการเชื่อมต่อผ่านบรอดแบนด์อินเตอร์ เน็ต เคเบิลโมเด็มที่
เชื่อมต่อกับเครื อข่ายเคเบิลทีวี หรื อเชื่อมต่ออินเตอร์ เน็ตแบบไร้สาย เช่น wifi
เพื่อให้ผใู้ ช้อุปกรณ์แบบพกพาสามารถเข้าถึงอินเตอร์ เน็ตได้โดยสะดวก
ผูใ้ ห้บริ การอินเตอร์ เน็ตหรื อไอเอสพี ให้บริ การเชื่อมต่อเข้าสู่ อินเตอร์ เน็ต
สาหรับผูใ้ ช้ โดยอาจจะคิดเป็ นรายเดือน
การเข้ าถึงอินเตอร์ เน็ต
การติดต่ อสื่ อสารบนอินเตอร์ เน็ต
คอมพิวเตอร์ที่ติดต่อสื่ อสารระหว่างกันบนอินเตอร์ เน็ต มีคุณสมบัติ
แตกต่างกัน เช่น ประเภทคอมพิวเตอร์ ซี พียู หรื อระบบปฏิบตั ิการ ซึ่ งการที่
อินเตอร์ เน็ตสามารถเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ ที่มีความแตกต่างกันให้สามารถ
ทางานร่ วมกันได้ เนื่องจากใช้โพรโทคอลเดียวกันในการสื่ อสารที่เรี ยกว่า
ทีซีพี/ไอพี
การติดต่ อสื่ อสารบนอินเตอร์ เน็ตโดยใช้ โพรโทคอล ทีซีพ/ี ไอพี
การติดต่อสื่ อสารทางอินเทอร์เน็ตโดยใช้โพรโทคอล ทีซีพี/ไอพี)
• เลขที่อยูไ่ อพี
•
เครื่ องคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกันอยูบ่ นอินเทอร์เน็ต จะมี
หมายเลยอ้างอิงในการติดต่อสื่ อสารเรี ยกว่า เลขที่อยูไ่ อพีหรื อไอ
พีแอดเดรส (IP address) ซึ่งจะต้องไม่ซ้ ากันเลย โดยไอพี
แอดเดรสประกอบด้วยเลข 4 ชุด ซึ่งแยกกันด้วยเครื่ องหมายจุด
เช่น 202.29.77.155 ซึ่งเป็ นไอพีแอดเดรสของเว็บไซต์สถาบัน
ส่ งเสริ มการสอนวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ( สสวท.)
รู ปภาพแสดงเลขที่อยูไ่ อพี
ให้นกั เรี ยนเข้าไปเว็บที่มี IP
202.143.132.36
จงบอกว่าคือเว็บของหน่วยงานใด ?
ไอพี แอดเดรส (IP Address : Internet Protocol
Address)
รหัสประจาเครื่ องคอมพิวเตอร์ แต่ละเครื่ องที่เชื่อมต่อกับ
อินเทอร์เน็ต โดยมีลกั ษณะเป็ นกลุ่มของตัวเลขฐานสิ บจานวน 4 ชุด ที่
ถูกแบ่งหรื อคัน่ ด้วยเครื่ องหมายจุดส่ วนเลขภายในแต่ละกลุ่มจะมีต้ งั แต่ 0255 เช่น 172.164.32.1
ระบบชื่อโดเมน
• เนื่องจากเลขที่อยูไ่ อพีอยูใ่ นรู ปของชุดตัวเลขซึ่ งยากต่อการจดจา
และอ้างอิงระหว่างการใช้งานดังนั้นจึงกาหนดให้มีระบบชื่อ
โดเมน ( Domain Name System: DNS ) ซึ่งแปลงเลขที่อยูไ่ อพี
ให้เป็ นชื่อโดเมนที่อยูใ่ นรู ปของชื่อย่อภาษาอังกฤษหลายส่ วนคัน่
ด้วยเครื่ องหมายจุด เช่น www.ipst.ac.th ผูใ้ ช้สามารถจดทะเบียน
ชื่อโดเมนสาหรับคอมพิวเตอร์ของตนผ่านผูใ้ ห้บริ การจด
ทะเบียนชื่อโดเมนที่ได้รับอนุญาต ตัวอย่างระบบชื่อโดเมน ดัง
รู ป
รู ปภาพแสดงระบบชื่อโดเมน
• ส่ วนประกอบสุ ดท้ายในชื่อโดเมนเรี ยกว่า ชื่อโดเมนระดับ
บนสุ ด ( top-level domain name) ใช้สาหรับแยกกลุ่มของ
ชื่อโดเมน ในกรณี ที่ชื่อโดเมนระดับบนสุ ดเป็ นชื่อโดเมน
สากล ชื่อดังกล่าวเป็ นส่ วนที่บอกลักษณะขององค์กรที่เป็ น
เจ้าของชื่อโดเมน ในกรณี ที่เป็ นชื่อโดเมนระดับประเทศ
ชื่อดังกล่าวใช้บอกชื่อประเทศที่โดเมนนั้นตั้งอยู่ ตัวอย่าง
ชื่อโดเมนระดับบนสุ ด แสดงดังตารางที่ 5.1
ตารางที่ 5.1 ตัวอย่างชื่อโดเมนระดับบนสุ ด
โดเมนระดับบนสุ ด
.edu
.com
.gov
.mil
.net
.org
.th
ลักษณะขององค์ กร
การศึกษา
การพาณิ ชย์
รัฐบาล
การทหาร
การบริ หารเครื อข่าย
ไม่หวังผลกาไร
ในประเทศไทย
ให้นกั เรี ยนยกตัวอย่างโดเมนที่มีระดับบนสุ ด
ดังต่อไปนี้ มาอย่างละ 3 เว็บ
.com
.th
.net
เวิลด์ ไวด์ เว็บ
เวิลด์ไวด์เว็บ (World Wide Web)
หรื อเรี ยกสั้นๆ ว่า เว็บ เป็ นการ
ให้บริ การข้อมูลแบบไฮเปอร์เท็กซ์
(hypertext)
ที่ประกอบไปด้วยเอกสารจานวนมาก
ที่มีการเชื่อมโยงกัน ซึ่งเป็ นแหล่งของข้อมูลขนาดใหญ่ที่ผใู ้ ช้อินเทอร์เน็ต
สามารถเข้าถึงผ่านโพรโทคอลที่ เรี ยกว่า เอชทีทีพี (hypertext Transfer
Protocol: HTTP) ด นอกจากนี้เวิลด์ไวด์เว็บคอนซอร์เทียม ได้นิยามคาว่า
เว็บคือ จักรวาลของสารสนเทศที่สามารถเข้าถึงได้ผา่ นเครื อข่ายและทาให้
เกิดองค์ความรู ้แก่มนุษยชาติ
คาทีเ่ กีย่ วข้ องกับเวิลด์ ไวด์ เว็บทีค่ วรทราบ เช่ น
• เว็บเพจ (Web page) เป็ นหน้าเอกสารที่เขียนขึ้นในรู ปแบบภาษา
เอชทีเอ็มแอล (Hypertext Language : HTML ) ซึ่ งสามารถ
เชื่อมโยงไปยังเอกสารหน้าอื่นได้ โดยเรี ยกดูผา่ นเว็บเบราว์เซอร์
• เว็บไซต์ (Web site) เป็ นกลุ่มของเว็บเพจที่มีความเกี่ยวข้องกัน
และอยูภ่ ายใต้ชื่อโดเมนเดียวกัน
• เว็บเซิ ร์ฟเวอร์ (Web server) เป็ นเครื่ องคอมพิวเตอร์ ที่ให้บริ การ
เว็บเพจ เมื่อผูใ้ ช้ร้องขอเว็บเพจผ่านเว็บเบราว์เซอร์ โดยใช้ยอู าร์
แอล (Uniform Resource Locator : URL) ระบุตาแหน่งของเว็บเพจ
เว็บเซิ ร์ฟเวอร์จะส่ งเว็บเพจที่คน้ หาได้กลับไปแสดงผลผ่านเว็บ
เบราว์เซอร์ของผูใ้ ช้
การเรียกดูเว็บ เว็บเบราว์ เซอร์ (Web browser)
เป็ นโปรแกรมใช้สาหรับแสดงเว็บเพจ และสามารถเชื่องโยงไปยังส่ วน
อื่นในเว็บเพจเดียวกันหรื อเว็บเพจอื่นผ่านการเชื่อมโยงหลายมิติ หรื อไฮเปอร์
ลิงค์ (Hyperlink) เรี ยกสั้นๆ ว่า ลิงค์ (link) เว็บเบราว์เซอร์ ช่วยเพิ่มความ
น่าสนใจในการใช้งานอินเทอร์ เน็ต นอกเหนือไปจากการสื่ อสารหรื อ
แลกเปลี่ยนไฟล์ระหว่างเครื อข่าย ตัวอย่างเว็บเบราว์เซอร์ เช่น Mozilla
Firefox, Microsoft Internet Explorer, Apple Safari, และ Opera
ทีอ่ ยู่เว็บ
ในการอ้างอิงตาแหน่งของหล่งข้อมูลบนอินเทอร์ เน็ตที่ผใู ้ ช้ร้องขอ เช่น
เว็บเพจ สามารถทาได้โดยการระบุยอู าร์แอล (Uniform Resource Located:
URL) ซึ่ งมีรูปแบบดังนี้
• โพรโทคอล ใช้สาหรับระบุมาตรฐานที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนข้อมูลผ่านเว็บ
เช่น เอชทีทีพีและเอฟทีพี (File Transfer Protocol: FTP) ในกรณี ของเอชที
ทีพี ส่ วนใหญ่แล้วผูใ้ ช้สามารถจะละส่ วนของโพรโทคอลนี้ได้ เนื่องจากถ้า
ไม่ระบุโพรโทคอล เว็บเบราว์เซอร์ จะเข้าใจว่าผูใ้ ช้มีความประสงค์จะใช้ฌ
พรโทคอล เอชทีทีพีเพื่อเข้าถึงเว็บเพจ
• ชื่อโดเมน ใช้สาหรับระบุชื่อโดเมนของเว็บเซิ ร์ฟเวอร์ของผูใ้ ห้บริ การ
ข้อมูล เช่น ชื่อโดเมน www.ipst.ac.th
• เส้ นทางเข้ าถึงไฟล์ (path) ใช้สาหรับระบุตาแหน่งของไฟล์จากเว็บ
เซิ ร์ฟเวอร์
• ชื่อข้ อมูล ชื่อไฟล์ที่ร้องขอ เช่น ไฟล์ไฮเปอร์ เท็กซ์ ไฟล์รูปภาพ ไฟเสี ยง
ในกรณี ที่ยอู าร์แอลระบุเฉพาะชื่อโดเมนโดยไม่ได้ระบุเส้นทาง
เข้าถึงไฟล์ และ/หรื อชื่อไฟล์ มีความหมายว่าให้เข้าถึงหน้าหลัก หรื อ
โฮมเพจ (home page) ของเว็บเซิ ร์ฟเวอร์ น้ นั ซึ่ งโดยทัว่ ไปเป็ นการเข้าถึง
ชื่อไฟล์ที่กาหนดไว้ เช่น index.html, main.phpและ default.asp
การค้ นหาผ่ านเว็บ
โปรแกรมค้ นหา หรื อเสิ ร์ชเอนจิน (search engines) ใช้สาหรับค้นหาเว็บ
เพจที่ตอ้ งการ โดยระบุคาหลักหรื อคาสาคัญ (keyword) เพื่อนาไปค้นหา
ฐานข้อมูลขนาดใหญ่ ซึ่ งรวบรวมเว็บเพจต่างๆ ผลลัพธ์ที่ได้จะเป็ นายการ
เว็บเพจที่ประกอบด้วยคาหลักที่ระบุ ช่วยให้เราสามารถเข้าถึงข้อมูลทุก
ประเภท หลากหลายรู ปแบบ เพื่อการศึกษาหรื อเพื่อความบันเทิงได้อย่าง
รวดเร็ วโปรแกรมค้นหาสามารถให้บริ การค้นหาข้อมูลตามประเภท หรื อ
แหล่งของข้อมูล เช่น ค้นหาเฉพาะข้อมูลที่เป็ นภาพ วีดิทศั น์ เสี ยง ข่าว
แผนที่ หรื อบล็อก โปรแกรมค้นหาแต่ละโปรแกรมอาจใช้วธิ ี ที่แตกต่างกัน
ในการจัดอันดับความเกี่ยวข้องของเว็บเพจกับคาหลักที่ระบุ โดยเว็บเพจที่
มีความเกี่ยวข้องกับคาหลักมากที่สุดจะอยูใ่ นอันดับบนสุ ด ตัวอย่าง
โปรแกรมค้นหา เช่น Ask, AltaVista, Bing, Excite, Google และ Yahoo
ตัวดาเนินการในการค้ นหา เพื่อให้การค้นหาข้อมูลด้วยโปรแกรม
ค้นหาเป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ผูใ้ ช้สามารถใช้ตวั ดาเนินการในการ
ค้นหา (search engine operators) ประกอบกับคาหลัก จะช่วยให้ได้
ผลลัพธ์ในการค้นหาที่ดียงิ่ ขึ้น ตัวอย่างตัวดาเนิ นการในการค้นหา
เว็บ 1.0 เว็บ 2.0 และเว็บ 3.0
• เว็บ 1.0 (Web 1.0) เป็ นเว็บในยุคแรกเริ่ มที่มีลกั ษณะให้ขอ้ มูลแบบทาง
เดียว ผูใ้ ช้ทวั่ ไปเข้าถึงเว็บเพจในฐานะผูบ้ ริ โภคข้อมูลและสารสนเทศ
ตามที่ผสู ้ ร้างได้ให้รายละเอียดไว้เพียงอย่างเดียว ไม่ค่อยมีการปรับปรุ ง
ข้อมูลให้ทนั สมัย และมีรูปแบบการใช้งานไม่หลากหลาย
• เว็บ 2.0 มีการสร้างเครื อข่ายทางสังคมผ่านเว็บไซต์ มีการพัฒนาความ
ร่ วมมือแบบออนไลน์ มีการแบ่งปั นข้อมูลและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
ระหว่างผูใ้ ช้ผา่ นอินเทอร์ เน็ต รวมถึงมีการใช้งานอินเทอร์ เน็ตผ่าน
โทรศัพท์เคลื่อนที่ หรื ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์ แบบพกพาเพิ่มมากขึ้น
• เว็บ 3.0 ว่าเป็ นการสร้างเว็บเพจที่
สามารถให้คอมพิวเตอร์ นาไปใช้
ประมวลผลได้อย่างเป็ นระบบ
เดียวกัน ทาให้การค้นหาข้อมูลง่าย
ขึ้น และการจัดการความรู้
(knowledge management) เป็ นจริ ง
มากขึ้น ต่างจากเว็บเพจในปัจจุบนั ที่
คอมพิวเตอร์ ไม่สามารถประมวลผล
หรื อค้นหาข้อมูลมาตอบคาถามได้
ตรงๆ ต้องสร้างซอฟต์แวร์ เฉพาะกิจ
ไปจัดการ
บริการต่าง ๆ บนอินเตอร์ เน็ต
อภิมหาเครื อข่ายอินเตอร์ เน็ต คือ เครื อข่ายของเครื อข่ายที่มีการ
เชื่อมโยงกันไปทัว่ โลก ในแต่ละเครื อข่ายก็จะมีเครื่ องคอมพิวเตอร์ ที่ทา
หน้ าที่เป็ นผู้ให้ บริการ ซึง่ อาจเรี ยกว่าเป็ น เซิร์ฟเวอร์ (Server) หรื อ โฮสต์
(Host) เชื่อมต่ออยูเ่ ป็ นจานวนมาก ระบบคอมพิวเตอร์ เหล่านี ้จะ
ให้ บริการต่างๆ แล้ วแต่ลกั ษณะและจุดประสงค์ที่เจ้ าของเครื อข่ายนัน้
หรื อเจ้ าของระบบคอมพิวเตอร์ นนตั
ั ้ งขึ
้ ้น ในอดีตมักมีเฉพาะบริการเรื่ อง
ข้ อมูลข่าวสารและโปรแกรมที่ใช้ ในแวดวงการศึกษาวิจยั เป็ นหลัก แต่ใน
ปั จจุบนั ก็ได้ ขยายเข้ าสูเ่ รื่ องของการค้ าและธุรกิจแทบจะทุกด้ าน บริการ
ต่างๆ บนอินเตอร์ เน็ตอาจแบ่งได้ เป็ น 2 กลุม่ ใหญ่ๆ ดังนี ้
1. บริการด้ านการสื่อสาร
2. บริการด้ านข้ อมูลต่างๆ
1.บริการด้ านการสื่อสาร
เป็ นบริ การที่ช่วยให้ ผ้ ใู ช้ สามารถติดต่อรับส่งข้ อมูลแลกเปลี่ยนกันได้ ในรูปแบบ
อิเล็กทรอนิกส์ซงึ่ จะมีความรวดเร็วกว่าการติดต่อด้ วยวิธีการแบบธรรมดาและมี
ค่าใช้ จ่ายค่อนข้ างถูกกว่ามาก
1.1 ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-mail)
ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ E-mail เป็ นบริ การในระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ที่
สาคัญที่มีผ้ นู ิยมใช้ บริ การกันมากที่สดุ สามารถส่งตัวอักษร ข้ อความ แฟ้มข้ อมูล
ภาพ เสียง ผ่านระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ไปยังผู้รับ อาจจะเป็ นคนเดียว หรื อกลุม่
คนโดยทังที
้ ่ผ้ สู ง่ และผู้รับเป็ นผู้ใช้ ที่อยู่ในระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ เดียวกัน ช่วย
ให้ สามารถติดต่อสื่อสารระหว่างกันได้ ทวั่ โลก มีความสะดวก รวดเร็วและสามารถ
สื่อสารถึงกันได้ ตลอดเวลา โดยไม่ต้องคานึงถึงว่าผู้รับจะอยู่ที่ไหน จะใช้ เครื่ อง
คอมพิวเตอร์ อยู่หรื อไม่ เพราะไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์จะเก็บข้ อความเหล่านันไว้
้
เมื่อผู้รับเข้ าสูร่ ะบบเครื อข่าย ก็จะเห็นข้ อความนันรออยู
้
่แล้ ว ความสะดวกเหล่านี ้ทา
ให้ นกั วิชาการสามารถแลกเปลี่ยนข้ อมูลข่าวสารถึงกันและกัน นักศึกษาสามารถ
ปรึกษา หรื อฝึ กฝนทักษะกับอาจารย์ หรื อ เพื่อนนักศึกษาด้ วยกันเอง โดยไม่ต้อง
คานึงถึงเวลา และระยะทาง โดยผู้ใช้ สามารถติดต่อสื่อสารกันได้ ไม่วา่ จะอยู่ตรงส่วน
ใดของมุมโลก
1.2 ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์เป็ นสือ่ ประเภทหนึง่ ที่เหมาะสมในการเรี ยนรู้ และช่วย
ขจัดปั ญหาในเรื่ องของเวลาและระยะทาง ผู้เรี ยนจะรู้สกึ อิสระและกล้ าแสดงออก
มากกว่าปกติ ตลอดจนสามารถเข้ าถึงผู้เรี ยนเป็ นรายบุคคลได้ เป็ นอย่างดีในยุค
สารสนเทศดังเช่นปั จจุบนั ระบบการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพจะมีบทบาทสาคัญใน
การพัฒนาสังคมให้ เข้ าถึงข้ อมูลข่าวสารได้ อย่างรวดเร็ว ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์
เป็ นรูปแบบการสื่อสารที่ทนั สมัยรูปแบบหนึง่ ที่มีความสาคัญ คือ
1.2.1 ทาให้ การให้ การติดต่อสื่อสารทัว่ โลกเป็ นไปอย่างรวดเร็วทันที ระยะทางไม่
เป็ นอุปสรรค สาหรับไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ ในทุกแห่งทัว่ โลกที่มีเครื อข่าย
คอมพิวเตอร์ เชื่อมต่อถึงกันได้ ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ก็สามารถเข้ าไปสถานที่
เหล่านันได้
้ ทกุ ที่ ทาให้ ผ้ คู นทัว่ โลกติดต่อถึงกันได้ ทนั ที ผู้รับสามารถจะรับข่าวสาร
จากไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ได้ แทบจะทันทีที่ผ้ สู ง่ จดหมายส่งข้ อมูลผ่านทางี่
คอมพิวเตอร์ เสร็จสิ ้นไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์สามารถส่งจดหมายถึงผู้รับทีต้่ องการ
ได้ ทกุ เวลา แม้ ผ้ รู ับจะไม่ได้ อยู่ที่ หน้ าจอ คอมพิวเตอร์ ก็ตาม จดหมายจะถูกเก็บไว้
ในตู้จดหมายของคอมพิวเตอร์ และเป็ นส่วนตัว จนกว่าเจ้ าของจดหมายทีม่ ี
รหัสผ่านจะเปิ ดตู้จดหมายของตนเอง
1.2.2. ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์สามารถส่งจดหมายถึงผู้รับหลายๆ คน
ได้ ในเวลาเดียวกัน โดยไม่ต้องเสียเวลาส่งให้ ทีละคน กรณีนี ้จะใช้ กบั
จดหมายที่เป็ นข้ อความเดียวกัน เช่น หนังสือเวียนแจ้ งข่าวให้ สมาชิกใน
กลุม่ ทราบ หรื อเป็ นการนัดหมายระหว่างสมาชิกในกลุม่ เป็ นต้ นการส่ง
จดหมายทางไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ ช่วยประหยัดเวลาในการเดินทาง
ไปส่งจดหมายถึงตู้ไปรษณีย์ หรื อที่ทาการไปรษณีย์ ประหยัดค่าใช้ จ่าย
ในการส่ง เนื่องจากไม่ต้องคานึงถึงปริมาณน ้าหนัก และระยะทาง ของ
จดหมายเหมือนกับไปรษณีย์ธรรมดา
ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์นนั ้ ผู้รับจดหมายสามารถเรี ยกอ่าน
จดหมายได้ ทกุ เวลาตามสะดวก โปรแกรมของ ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์
จะแสดงให้ ทราบว่าในตู้จดหมายของผู้รับมีจดหมายกี่ฉบับ มีจดหมาย
ที่อา่ นแล้ ว และยังไม่ได้ เรี ยกอ่านกี่ฉบับ เมื่ออ่านจดหมายฉบับใดแล้ ว
หากต้ องการลบทิ ้ง ก็สามารถเก็บข้ อความไว้ ในรูปของแฟ้มข้ อมูลได้
หรื อจะพิมพ์ออกมาลงกระดาษก็ได้ เช่นกัน หรื ออาจแก้ ไข้ ข้อความ
บางอย่างในจดหมายนัน้ จากจอภาพแล้ วส่งต่อไปยังผู้อื่นได้ ด้วย
1.3. สนทนาแบบออนไลน์ (Chat)
ผู้ใช้ บริการสามารถคุยโต้ ตอบกับผู้ใช้ คนอื่นๆ ในอินเตอร์ เน็ตได้
ในเวลาเดียวกัน (โดยการพิมพ์เข้ าไปทางคีย์บอร์ ด) เสมือนกับการคุย
กันแต่ผ่านเครื่ องคอมพิวเตอร์ ของทังสองที
้
่ ซึง่ ก็สนุกและรวดเร็วดี
บริการสนทนาแบบออนไลน์นี ้เรี ยกว่า Talk เนื่องจากใช้ โปรแกรมที่ชื่อ
ว่า Talk ติดต่อกัน หรื อจะคุยกันเป็ นกลุม่ หลายๆ คนในลักษณะของการ
Chat (ชื่อเต็มๆ ว่า Internet Relay Chat หรื อ IRC ก็ได้ ) ซึง่ ในปั จจุบนั ก็
ได้ พฒ
ั นาไปถึงขันที
้ ่สามารถใช้ ภาพสามมิติ ภาพเคลื่อนไหวหรื อการ์ ตนู
ต่างๆ แทนตัวคนที่สนทนา
กันได้ แล้ ว และยังสามารถคุยกันด้ วยเสียงในแบบเดียวกับ โทรศัพท์
ตลอดจนแลกเปลี่ยนข้ อมูลบนจอภาพหรื อในเครื่ องของผู้สนทนาแต่ละ
ฝ่ ายได้ อีกด้ วยโดย การทางาน แบบนี ้ก็จะอาศัยโปรโตคอลช่วยในการ
ติดต่ออีกโปรโตคอลหนึง่ ซึง่ มีชื่อว่า IRC (Internet Relay Chat) ซึง่ ก็
เป็ นโปรโตคอลอีกชนิดหนึ่งบนเครื อข่ายอินเตอร์ เน็ตที่สามารถทาให้
User หลายคนเข้ ามาคุยพร้ อมกันได้ ผ่านตัวหนังสือแบบ Real time
โดยจะมีหลักการคือ
- มีเครื่ อง Server ซึง่ จะเรี ยกว่าเป็ น IRC server ก็ได้ ซงึ่ server นี ้ก็จะ
หมายถึงฮาร์ ดแวร์ +ซอฟแวร์ โดยที่ฮาร์ ดแวร์ คือ คอมพิวเตอร์ ที่จาเป็ น
จะต้ องมีทรัพยากรระบบค่อนข้ างสูงและจะต้ องมีมากกว่า 1 เครื่ องเพื่อ
รองรับ User หลายคน
- เครื่ องของเราจะทาหน้ าที่เป็ นเครื่ อง Client ซึง่ ก็คือคอมพิวเตอร์ ที่
เชื่อมต่อเข้ ากับอินเทอร์ เน็ตได้ แบบธรรมดา โดยที่ไม่ต้องการทรัพยากร
มากนัก และก็ต้องมีโปรแกรมสาหรับเชื่อมต่อเข้ า Irc server ได้
การสนทนาผ่านเครื อข่ายออนไลน์ที่ได้ รับความนิยมในปั จจุบนั มีหลาย
โปรแกรมเช่น โปรแกรม Pirch, ICQ, Windows Messenger (MSN),
Yahoo Messenger
- "กระดานข่าว" หรื อบูเลตินบอร์ ด
บนเครื อข่ายอินเตอร์ เน็ต มีการให้ บริการในลักษณะของกระดาน
ข่าวหรื อบูเลตินบอร์ ด (คล้ ายๆ กับระบบ Bulletin Board System หรื อ
BBS) โดยแบ่งออกเป็ นกลุม่ ย่อยๆ จานวนหลายพันกลุม่ เรี ยกว่าเป็ น กลุม่
ข่าว หรื อ Newsgroup ทุกๆ วันจะมีผ้ สู ง่ ข่าวสารกันผ่านระบบดังกล่าว
โดยแบ่งแยกออกตามกลุม่ ที่สนใจ เช่น กลุม่ ผู้สนใจ ศิลปะ กลุ่มผู้สนใจ
เพลงร็อค กลุม่ วัฒนธรรมยุโรป ฯลฯ
นอกจากนี ้ก็มีกลุม่ ที่สนใจในเรื่ องของประเทศต่างๆ เช่น กลุม่ Thai
Group เป็ นต้ น การอ่านข่าวจากกลุม่ ข่าวต่างๆ ใน Usenet (User
Network) หรื อ Newsgroup นันนั
้ บเป็ นช่องทางหนึง่ ในการติดต่อ
แลกเปลี่ยน ความคิดเห็นกับผู้ใช้ อินเตอร์ เน็ตคนอื่นๆ ในระดับโลก ซึง่
มักจะใช้ ภาษาอังกฤษเป็ นหลักในการสื่อสารกัน ซึง่ ใน Usenet นี ้ เรา
สามารถเลือกอ่านข้ อความในหัวข้ อที่เราสนใจ และฝากข้ อความคาถาม
คาตอบของเราไว้ บนกระดานข่าวนันได้
้
- บริการเข้ าระบบระยะไกล Telnet
ในกรณีที่ผ้ ใู ช้ ต้องการใช้ งานเครื่ องคอมพิวเตอร์ เครื่ องอื่นซึง่
ตังอยู
้ ไ่ กลออกไป ก็สามารถใช้ บริการ Telnet เพื่อเข้ าใช้ งานเครื่ อง
ดังกล่าวได้ เหมือนกับเราไปนัง่ ที่หน้ าเครื่ องนันเอง
้ โดยจาลอง
คอมพิวเตอร์ ของเราให้ เป็ นเสมือนจอภาพบนเครื่ องคอมพิวเตอร์ นนได้
ั้
โปรแกรม Telnet นับได้ วา่ เป็ นคาสัง่ พื ้นฐานที่มีประโยชน์มาก
สาหรับ การใช้ งานอินเตอร์ เน็ตในแบบตัวอักษร (Text mode) หน้ าที่
ของโปรแกรม Telnet นันจะช่
้ วยให้ ผ้ ใู ช้ สามารถทาการ Login เข้ าไปยัง
เครื่ องคอมพิวเตอร์ ตา่ งๆ ที่ตอ่ เชื่อมอยูใ่ นเครื อข่ายได้ และใช้ บริการ
สาเนาไฟล์ รับส่งอีเมล์ได้
2. บริการด้ านข้ อมูลต่าง ๆ
ทาให้ ผ้ ใู ช้ สามารุค้นหาข้ อมูลต่าง ๆที่ตงการได้ อย่างรวดเร็ ว และประหวัด
ค่าใช้ จ่าย ซึง่ บริ การต่าง ๆ ที่มีบนระบบเครื อข่ายอินเตอร์ เน็ต เช่น
2.1 Archie
อาร์ ซี เป็ นระบบการค้ นหาข้ อมูลหรื อแฟ้มข้ อมูลที่เป็ นบริ การสาหรับผู้ใช้
ที่ทราบชื่อแฟ้มข้ อมูลต่าง ๆ ทาหน้ าที่เสมือนเป็ นบรรณารักษ์ ที่มีรายชื่อของหนังสือ
ทังหมด
้
เมื่อผู้ใช้ ทราบแฟ้มข้ อมูลที่ต้องการ ก็ทาการโอนถ่ายแฟ้มข้ อมูลโดย
ใช้ FTP
2.2. WAIS
WAIS เป็ นบริ การค้ าหาข้ อมูลโดยการค้ นหาข้ อมูลจากเนื ้อหาของข้ อมูล
แทนการค้ นหาตามชื่อของแฟ้มขอมูล ซึง่ ช่วยในการค้ นหาข้ อมูลจากฐานข้ อมูลแบบ
กระจาย
2.3. Gopher
โกเฟอร์ เป็ นโปรแกรมที่ช่วยในการค้ นหาข้ อมูลโดยผ่านระบบเมนู
ตามลาดับชัน้ ฐานข้ อมูลของระบบโกเฟอร์ จะกระจายกันอยู่ทวั่ โลก และมีการ
เชื่อมโยงกันอยู่ผ่านระบบเมนูของโกเฟอร์
2.4. Veronica
เวโรนิก้า เป็ นระบบที่ช่วยการค้ นหาข้ อมูลด้ วยคาที่ต้องการ
(Keyword) เป็ นบริการที่ใช้ งานร่วมกับโกเฟอร์ เพื่อช่วยในการค้ นหา
ข้ อมูลโดยไม่ต้องผ่านเมนูตามลาดับชัน้ ทาให้ สามารถค้ นหารข้ อมูลได้
รวดเร็วขึ ้น
2.5. Mailing List
เป็ นบริการรายชื่อเมล เป็ นระบบฐานข้ อมูลที่เก็บทีอ่ ยูข่ อง
จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ของกลุม่ ผู้ใช้ ที่สนในในเรื่ องเดียวกัน
2.6. WWW (World&nâsp; Wide Web)
เวิลด์ไวด์เว็บ เป็ นบริการค้ นหาและแสดงข้ อมูลที่ใช้ หลักการ
ของ HTTP (Hypertext Transfer Protocol)
ผู้ใช้ สามารถค้ นหาข้ อมูลได้ จากเครื่ องให้ บริการที่
เรี ยกว่า Web Server โดยอาศัยซอฟต์แวร์ บราวเซอร์
โปรแกรมที่ไม่ พงึ ประสงค์
โปรแกรมลักษณะนี้เรี ยกว่า มัลแวร์(malware)
เป็ นโปรแกรมที่ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อทาลาย หรื อ รบกวน
ระบบคอมพิวเตอร์
ไวรัส ( virus )
• เป็ นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่เขียนขึ้นเพื่อนทาลายระบบ
คอมพิวเตอร์ให้เสี ยหาย โดยจะทาการแนบโปรแกรม
แปลกปลอมเข้าไปกับโปรแกรมอื่น แล้วแพร่ กระจาไปยังเครื่ อง
คอมพิวเตอร์อื่นๆ ได้ โดยผ่านสื่ อบันทึกข้อมูล เช่น แฟลชไดรฟ์
เวิร์ม ( worm )
• หรื อหนอนคอมพิวเตอร์ เป็ นโปรแกรมแปลกปลอมที่สามารถคัดลอก
ตัวเองแล้วส่ งไปยังเครื่ องคอมพิวเตอร์ อื่นๆ ได้ทนั ที โดยอาศัยการเจาะ
ผ่านช่องโหว่ของเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ หรื อ อินเทอร์ เน็ตที่ไม่มีการ
ป้ องกันที่ดีพอ โดยจะเข้าไปกีดขวางการทางานของระบบปฏิบตั ิการของ
เครื่ องคอมพิวเตอร์ให้ชา้ ลง หรื อ หยุดทางาน
ม้าโทรจัน ( trojan horse )
• เป็ นโปรแกรมแปลกปลอมที่ผา่ นเข้าสู่ ระบบโดยการแอบแฝงตัวเองว่า
เป็ นโปรแกรมอื่น เช่น การหลอกให้ผใู ้ ช้ดาวน์โหลดโปรแกรมฟรี เมื่อ
ผูใ้ ช้งานดาวน์โหลด อาจจะมีไวรัสซึ่ งติดมาด้วย
สปายแวร์ ( spyware )
• เป็ นโปรแกรมที่ถกู ออกแบบมาให้คอยติดตาม บันทึกข้อมูลส่ วนบุคคล
รายงานข้อมูลการใช้งานของผูใ้ ช้แต่ละคนบนอินเทอร์ เน็ต หรื อ เปลี่ยน
การตั้งค่าโปรแกรมเบราว์เซอร์ ใหม่ ซึ่ ง ทาให้ประสิ ทธิ ภาพให้การทางาน
ของระบบคอมพิวเตอร์ ชา้ ลง เช่น คียล์ อ๊ คเกอร์
( key-logger)
แอดแวร์ ( adware )
• เป็ นโปรแกรมแอบแฝงที่เมื่อโปรแกรมได้รับการดาวน์โหลดหรื อมีการ
ติดตั้งในเครื่ องคอมพิวเตอร์ เรี ยบร้อยแล้ว จะแสดงหน้าต่าง ป๊ อปอัพ ที่มี
การโฆษณาสิ นค้าออกมาเป็ นระยะๆ โดยอัตโนมัติ
สแปม ( spam )
• เป็ นการใช้ระบบส่ งอีเมลในการส่ งข้อความที่ไม่พึงประสงค์ให้กบั ผูใ้ ช้
ผ่านระบบอีเมลที่เรี ยกว่า เมลขยะ ( junk mail ) นอกจากนี้อาจมีการ
ส่ งผ่านสื่ ออื่น เช่น โทรศัพท์เคลื่อนที่ เกมออนไลน์ ซึ่ งส่ งผลให้เกิดการ
รบกวนการใช้สื่อสารเหล่านั้น
ผลกระทบจากการใช้ งานอินเทอร์ เน็ต
ปัญหาสุ ขภาพและความสั มพันธ์ ทางสั งคม
ผูใ้ ช้งานอินเทอร์เน็ตติดต่อกันเป็ นเวลานานมากเกินไปอาจก่อให้เกิดปั ญหาโรค
ติดต่ออินเทอร์เน็ตซึ่งเป็ นอาการทางจิตประเภทหนึ่ง มีอาการที่ตอ้ งสงสัย เช่น มี
ความต้องการใช้อินเทอร์เน็ตต่อเนื่อง เป็ นเวลานานมากขึ้นเรื่ อยๆ รู้สึกหงุดหงิด
หดหู่ กระวนกระวายเมื่อใช้อินเทอร์เน็ตน้อยลงหรื อหยุดใช้คิดว่าเมื่อได้ใช้
อินเทอร์เน็ตแล้วจะทาให้รู้สึกดีข้ ึน แต่โดยความเป็ นจริ งแล้วการใช้อินเทอร์เน็ต
เป็ นเวลานานก่อให้เกิดผลเสี ยต่อ ร่ างกาย
ปัญหาอาชญากรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
•
เจาะระบบรักษาความปลอดภัย ให้สามารถเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ เพื่อกระทา
การใดๆกับระบบคอมพิวเตอร์ ซอฟแวร์ หรื อข้อมูลในทางที่มิชอบต่างๆ อาจทาให้เกิด
ความเสี ยหายในเชิงธุรกิจ การบิดเบือนข้อเท็จจริ ง ขโมยข้อมูลส่ วนบุคคล โดยการใช้
ช่องทางการสื่ อสารหรื ออินเทอร์เน็ต เช่น การแชท การโทรศัพท์ ในการได้มาซึ่งข้อมูล
ส่ วนตัวของบุคคล โดยการปลอมแปลงเป็ นผูด้ ูแลระบบ หรื อผูด้ ูแลข้อมูล เป็ นบุคคล
ใกล้ชิด หรื อสร้างสถานการณ์ฉุกเฉิ นที่เสมือนจริ ง เพื่อหลอกล่อให้เหยือ่ เกิดความ
ไว้วางใจ หรื อหลงเชื่อ และเปิ ดเผยข้อมูลส่ วนตัวโดนรู ้เท่าไม่ถึงการณ์
ปัญหาล่ อลวงทางสั งคม
•
จากการที่ผใู ้ ช้งานอินเทอร์ เน็ตบางคน สร้างตัวตนขึ้นมาใหม่ในการ
ติดต่อสนทนากับผูอ้ ื่น โดยให้ขอ้ มูลที่เป็ นเท็จ เช่น เพศ อายุ ภาพถ่าย เพื่อ
ล่อลวงให้คู่สนทนาสนใจตัวตนใหม่ และนัดพบเพื่อกระทาอันตรายต่างๆ
จนเกิดปั ญหาร้ายแรงต่อทรัพย์สินหรื อต่อตนเอง
จบการนาเสนอ....
ขอขอบพระคุณทีพ่ จิ ารณา