PowerPoint บทที่ 3 - dusithost.dusit.ac.th

Download Report

Transcript PowerPoint บทที่ 3 - dusithost.dusit.ac.th

บทที่ 3
่
เทคโนโลยีการสือสาร
ข้อมู ล
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร ์ ?
นักวิชาการได ้กล่าวถึงความหมายของระบบ
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ไว ้หลายท่านดังนี้
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ หมายถึง การ
่
นาเครือ
่ งคอมพิวเตอร์รวมถึงอุปกรณ์ตา่ ง ๆ เชน
ื่ มโยงเป็ น
สวิตช ์ เร ้าท์เตอร์ เครือ
่ งพิมพ์ มาเชอ
ระบบเครือข่าย โดยมีตวั กลางในการนาพา
ั ญาณ เพือ
ื่ สารกันได ้ ทา
สญ
่ ให ้สามารถติดต่อสอ
้
ให ้เกิดประโยชน์ในการใชงานด
้านต่างๆ พิศาล
พิทยาธุรวิวัฒน์ (2551, หน ้า 15)
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร ์ ?
นักวิชาการได ้กล่าวถึงความหมายของระบบ
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ไว ้หลายท่านดังนี้
ระบบเครื อ ข่ า ยคอมพิ ว เตอร์ หมายถึง
ระบบที่ ม ี ค อมพิ ว เตอร์ อ ย่ า งน อ
้ ยสองเครื่ อ ง
ื่ มต่อกันโดยใชส้ อ
ื่ กลาง และสามารถสอ
ื่ สาร
เชอ
ข ้อมู ล กั น ได ้อย่ า งมี ป ระส ิท ธิภ าพ จตุ ชั ย แพง
จันทร์ และอนุโชต วุฒพ
ิ รพงษ์ (2551, หน ้า 6)
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร ์ ?
สรุปได้วา
่ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร ์
หมายถึง
การติ ด ต่ อ ส ื่ อ สารหรื อ การเช ื่ อ มต่ อ กั น
ระหว่างระบบคอมพิวเตอร์ตัง้ แต่ 2 เครือ
่ งขึน
้
ผ่ า น ส ื่ อ ก ล า ง ใ น ก า ร ติ ด ต่ อ ส ื่ อ ส า ร ห รื อ ก า ร
ื่ มต่อ ได ้ทัง้ สอ
ื่ กลางแบบมีสายหรือสอ
ื่ กลาง
เชอ
่ สายเคเบิล หรือผ่าน
แบบไม่มส
ี ายก็ได ้ อาทิเชน
คลืน
่ วิทยุ โดยมีจุดประสงค์หลักเพือ
่ แลกเปลีย
่ น
้
ื่ สารซงึ่ กัน
ข ้อมูลข่าวสารหรือใชในการติ
ดต่อสอ
และกัน
่
องค ์ประกอบของระบบการสือสาร
ข้อมู ล
่
องค ์ประกอบของระบบการสือสาร
ข้อมู ล
1. ข ้อมูล (Data) คือสงิ่ ทีเ่ ราต ้องการสง่ ไปยัง
่ ข่าวสารหรือสารสนเทศ อาจเป็ น
ปลายทาง เชน
ื่ ประสม
ข ้อความ ภาพ วิดโี อ หรือสอ
2. ฝ่ ายสง่ ข ้อมูล (Sender) คือ แหล่งกาเนิดข่าวสาร
(Source) หรืออุปกรณ์ทน
ี่ ามาใชส้ าหรับสง่ ข่าวสาร
่ คอมพิวเตอร์ เร ้าท์เตอร์ เป็ นต ้น
เชน
3. ฝ่ ายรับข ้อมูล (Receiver) คือ จุดหมายปลายทาง
ของข่าวสาร (Destination) หรืออุปกรณ์ทน
ี่ ามาใช ้
่
สาหรับรับข่าวสารทีส
่ ง่ มาจากฝ่ ายสง่ ข ้อมูล เชน
ั ท์ วิทยุ โทรทัศน์ เร ้าท์เตอร์
คอมพิวเตอร์ โทรศพ
เป็ นต ้น
ื่ กลางสง่ ข ้อมูล (Media) คือ ชอ
่ งทางการ
4. สอ
องค ์ประกอบของระบบเครือข่าย
คอมพิวเตอร ์
 คอมพิวเตอร์ทอ
ี่ ยูใ่ นระบบเครือข่าย
 เน็ ตเวิรค
์ การ์ด หรือ NIC (Network
Interface Card)
ื่ กลางและอุปกรณ์สาหรับการรับสง่
 สอ
ข ้อมูล (Psysical Media)
 โปรโตคอล (Protocol)
 ระบบปฏิบัตเิ ครือข่ายหรือ NOS
(Network Operating System)
ประโยชน์ของระบบเครือข่าย
คอมพิวเตอร ์
้ พยากรร่วมกันได ้
 การใชทรั
่ ยลดต ้นทุนด ้านงบประมาณรายจ่าย
 ชว
ลง
ื่ สาร
 ความสะดวกในด ้านการสอ
 สร ้างความปลอดภัยให ้แก่ระบบ
่
รู ปแบบการสือสารข้
อมู ลบนระบบ
เครือข่าย
่
1. การสือสารแบบ
Unicast
เป็ นโหมดการรั บ ส่ง ข ้อมูล จากคอมพิว เตอร์
หนึ่ ง ไปยั ง อี ก เครื่ อ งหนึ่ ง ในระบบเครื อ ข่ า ยใ น
ลักษณะ 1 ต่อ 1 หรือเรียกว่า One-to-One
ื่ สารแบบ Unicast เป็ นการส่งข ้อมูล
การสอ
ระหว่า งคอมพิว เตอร์แ บบง่า ยๆ แต่จ ะมีปั ญ หาถ ้า
จานวนคอมพิวเตอร์ในการรับสง่ เพิม
่ มากเกินไป จะ
ส่ง ผลท าให ้เกิด ปั ญหาการส่ง ข ้อมูล ในเครือ ข่า ย
มากเกินไป (Network Load)
่
รู ปแบบการสือสารข้
อมู ลบนระบบ
เครือข่าย
่
2. การสือสารแบบ
Broadcast
เป็ นการส่ ง ข ้อมู ล จากคอมพิว เตอร์ต ้นทาง
หนึง่ เครือ
่ งไปยังเครือ
่ งปลายทางทุกเครือ
่ งทีต
่ ด
ิ ต่อ
อยู่ใ นลั ก ษณะของการแพร่กระจายข ้อมูล แบบ 1
ต่อ ทัง้ หมด หรือเรียกว่า One-to-All
การแพร่ข ้อมูลแบบสง่ ไปยังเครือ
่ งทุกเครือ
่ ง
นั น
้ ต ้องมีการประมวลผลข ้อมูลทีเ่ ครือ
่ งปลายทาง
เครื่อ งที่ไ ม่ ต ้องการรั บ ข ้อมู ล ก็ จ ะได ้รั บ ข อ
้ มู ล ไป
ด ้วยแต่ต ้องทิง้ ข ้อมูล ที่ไ ด ้รั บ มา เป็ นการสูญ เส ีย
ความสามารถในการประมวลผลไป ทัง้ ยังทาให ้มี
ปริม าณข ้อมู ล ในเครือ ข่า ยจ านวนมากโดยเปล่ า
ประโยชน์ และสามารถเกิดเป็ นปั ญหา พายุข ้อมูล
่
รู ปแบบการสือสารข้
อมู ลบนระบบ
เครือข่าย
่
2. การสือสารแบบ
Multicast
เป็ นการสง่ ข ้อมูลจากเครือ
่ งต ้นทางหนึง่ ไปยัง
กลุ่ ม ของเครื่ อ งปลายทางเฉพาะกลุ่ ม ที่ ม ี ก าร
กาหนดแบบ 1 ต่อกลุม
่ เฉพาะ หรือ One-to-N ซงึ่ N
ในที่ นี้ อ ยู่ ตั ้ง แต่ 0 ถึง ทั ้ง หมด การส่ ง ข ้อมู ล จะ
สง่ ไปยังเฉพาะกลุม
่ ทีต
่ ้องการรับข ้อมูลเท่านัน
้
่
ทิศทางของการสือสารข้
อมู ลบน
ระบบเครือข่าย
่
1. การสือสารแบบซิ
มเพล็กซ ์
่
2. การสือสารแบบฮาล
์ฟดูเพล็กซ ์
่
3. การสือสารแบบฟู
ลดูเพล็กซ ์
่
ทิศทางของการสือสารข้
อมู ลบน
ระบบเครือข่าย
่ อื่ สารแบบซมิ มเพล็
์ (Simplex)
การส
กซ
หรือการ
1. การสื
อสารแบบซิ
เพล็
กซ
์
ื่ สารแบบทางเดียวเป็ นการสอ
ื่ สารทีม
สอ
่ ล
ี ักษณะผู ้
สง่ ทาหน ้าทีส
่ ง่ สารอย่างเดียว และผู ้รับก็จะมีหน ้าที่
รับสารอย่างเดียว โดยทีผ
่ ู ้รับไม่สามารถสง่ ข่าวสาร
กลับไปยังผู ้สง่ ได ้ จะคล ้ายกับการทีเ่ รานั่ งฟั งวิทยุ
หรื อ ดู โ ทรทั ศ น์ เราจะเป็ นผู ร้ ั บอย่ า งเดี ย วไม่
่ คียบ
สามารถเป็ นผู ้สง่ ได ้ เชน
์ อร์ดและจอภาพแบบ
ทัชสกรีน
่
ทิศทางของการสือสารข้
อมู ลบน
ระบบเครือข่าย
่ า ร ส ื่ อ ส า ร แ บ บ์ฟดู
ฮ าเล์
ฟ ดู
2. การสืกอสารแบบฮาล
พล็
กเซพ์ ล็ ก ซ ์ ( Half-
ื่ สารแบบทางใดทางหนึง่ ทีผ
Duplex) หรือการสอ
่ ู ้รับ
และผู ้ส่ง สามารถส่ง ข่า วสารระหว่า งกัน ได ้ แต่ต ้อง
เป็ นคนละเวลา คื อ หากผู ส
้ ่ ง ส่ ง ข อ
้ มู ล ไปหาผู ร้ ั บ
ระหว่างนั น
้ ผู ้รับจะไม่สามารถสง่ ข ้อมูลไปหาผู ้สง่ ได ้
ต ้องรอจนว่ า ผู ส
้ ่ ง จะส่ ง เสร็ จ จึง สามารถส่ ง ข ้อมู ล
่ การใชวิ้ ท ยุสอ
ื่ สารของตารวจ การ
ข่าวสารได ้ เชน
ื่ สารในรูป แบบนี้ ต ้องอาศัย การ สลั บ สวิตซ ์ เพื่อ
สอ
แสดง การเป็ นผู ้สง่ สัญญาณคือต ้องผลัดกันพูด และ
จะไม่สามารถสง่ ข ้อมูลพร ้อมกันได ้
่
ทิศทางของการสือสารข้
อมู ลบน
ระบบเครือข่าย
่
3. การสื
อสารแบบฟู
เพล็กซ ์
ื่ สารแบบฟูลลดู
การสอ
ดูเพล็กซ ์ (Full-Duplex) หรือ
ื่ สารแบบสองทิศทาง เป็ นการสอ
ื่ สารทีท
การสอ
่ ัง้ ผู ้รับ
และผู ส
้ ่ ง สามารถส่ ง ข อ
้ มู ล ข่ า วสารถึง กั น ได ใ้ น
ื่ สารกัน
ระยะเวลาหนึง่ ได ้พร ้อมกัน หรือการติดต่อสอ
่ การ
ได ้ตลอดทัง้ ผู ้ส่งและผู ้รั บในเวลาเดียวกัน เชน
้
ั ท์
ใชโทรศ
พ
ประเภทของระบบเครือข่าย
คอมพิวเตอร ์
้ ให้
่ บริการ
1. แบ่งตามขนาดพืนที
2. แบ่งตามลักษณะการไหลของข้อมู ล
่
3. แบ่งตามลักษณะหน้าทีการท
างานของ
คอมพิวเตอร ์
ประเภทของระบบเครือข่าย
คอมพิวเตอร ์
้ ให
่ ้บริการ (LAN , MAN ,
 แบ่งตามขนาดพืนที
WAN)
ประเภทของระบบเครือข่าย
คอมพิวเตอร ์
 แบ่งตามลักษณะการไหลของข ้อมูล
Central
computer
Concentrator
Terminal
เครือข่ายแบบรวมศู นย ์ (Centralized
Network)
ประเภทของระบบเครือข่าย
คอมพิวเตอร ์
 แบ่งตามลักษณะการไหลของข ้อมูล
Backbone Switch
Backbone
Network
Central computer
Concentrator
Terminal
เครือข่ายแบบกระจาย (Distributed
Network)
ประเภทของระบบเครือข่าย
คอมพิวเตอร ์
 แบ่งตามลักษณะหน ้าทีก
่ ารทางานของ
คอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายแบบเพียร ์
ทู เพียร ์
(Peer to Peer) หรือ
(Workgroup)
ระบบเครือข่ายแบบไคลเอนท ์
เซิร ์ฟเวอร ์ (Client Server
Network)
ประเภทของระบบเครือข่าย
คอมพิวเตอร ์
มาตรฐานระบบเครือข่าย
คอมพิวเตอร ์
1. มาตรฐานเครือข่ายท ้องถิน
่ (Local Area Network: LAN)
2. มาตรฐานระบบเครือข่ายระดับประเทศ (Wide Area
Network: WAN)
มาตรฐานระบบเครือข่าย
คอมพิวเตอร ์
่ (LAN)
1. มาตรฐานเครือข่ายท้องถิน
่ นทีนิ
่ ยมใช้ก ันมากในปั จจุบน
่
ทีเป็
ั โดยทัวไปมี
3 แบบ
คือ1.1 Ethernet
พัฒนาขึน
้ โดยบริษัท Xerox ถือเป็ นมาตรฐาน
ของระบบเครือข่ายท ้องถิน
่ ทีไ
่ ด ้รับความนิย มมาก
ที่ สุ ด ในปั จจุ บั น ระบบเครื อ ข่ า ยท อ
้ งถิ่น จะใช ้
่ Ethernet (10 Mbps), Fast
มาตรฐาน IEEE 802.3 เชน
Ethernet (100 Mbps), Gigabit Ether (1000 Mbps) โดย
้
ที่ Ethernet
จะใช เทคนิ
ค การส่ง ข ้อมู ล แบบ
CSMA/CD (Carrier Sense Multiple Access/Collision
Detection) กล่าวคือถ ้าเกิดสง่ ข ้อมูลพร ้อมกันและ
ั ญาณชนกัน จะต ้องสง่ ข ้อมูลใหม่
สญ
มาตรฐานระบบเครือข่าย
คอมพิวเตอร ์
่ (LAN)
1. มาตรฐานเครือข่ายท้องถิน
่ นทีนิ
่ ยมใช้ก ันมากในปั จจุบน
่
ทีเป็
ั โดยทัวไปมี
3 แบบ
คือ1.2 Token-Ring
พั ฒ นาขึ้น โดยบริษั ท IBM
จะใช ้
ื่ มต่อ
Access Method แบบ Token Passing ในการเชอ
สามารถใชไ่ ด ้ทัง้ สาย Coaxial, UTP, STP หรือ
สายใยแก ้วนาแสง (Fiber optic) ระบบเครือข่าย
แบบนี้ ม ีค วามคงทนต่อ ความผิด พลาดสูง (Faulttolerant) ความเร็วในการรับสง่ ข ้อมูลจะอยูท
่ ี่ 4-16
้
Mbps จะใชมาตรฐาน
IEEE 802.5
มาตรฐานระบบเครือข่าย
คอมพิวเตอร ์
่ (LAN)
1. มาตรฐานเครือข่ายท้องถิน
่ นทีนิ
่ ยมใช้ก ันมากในปั จจุบน
่
ทีเป็
ั โดยทัวไปมี
3 แบบ
คือ1.3 FDDI (Fiber Distributed Data Interface)
เป็ นมาตรฐานเครือข่ายความเร็วสูงที่ ทางาน
ั ้ Physical สว่ นใหญ่นาไปใชเช
้ อ
ื่ มต่อเป็ น
อยูใ่ นชน
ื่ มต่อระหว่าง
Backbone (เป็ นสายสัญญาณหลักเชอ
เครือข่ายท ้องถิน
่ เข ้าด ้วยกัน ใช ้ Access Method
แบบ Token-passing และใช ้ Topology แบบวงแหวน
คู่ (Dual Ring) ซงึ่ ชว่ ยทาให ้ทนต่อข ้อบกพร่อง
(Fault
tolerance)
ของระบบเครือข่ายได ้ดีขน
ึ้
ทางานอยูท
่ ค
ี่ วามเร็ว 100 Mbps
มาตรฐานระบบเครือข่าย
คอมพิวเตอร ์
2. มาตรฐานระบบเครือข่ายระดับประเทศ (
WAN)
่ X.25
่ ยมใช้ก ันมากในปั จจุบน
ทีเป็
นทีนิ
ั
2.1
่ นโปรโตคอลมาตรฐานของเครื
โดยทัเป็
วไปมี
3 แบบ คือ
อข่ายแบบ
เก่า ได ้รับการออกแบบโดย CCITT ประมาณ ค.ศ.
้ นสว่ นติดต่อระหว่างระบบเครือข่าย
1970 เพือ
่ ใชเป็
สาธารณะแบบแพ็ กเกตสวิตช ์ (Packet Switching)
้
ื่ สารแบบต่อเนื่อง
กับผู ้ใชระบบ
x.25 เป็ นการสอ
ื่ มต่อวงจร
(Connection-oriented) ทีส
่ นั บสนุนการเชอ
ื่ สารแบบ Switching Virtual Circuit (SVC) และ
สอ
Permanent Virtual Circuit (PVC)
มาตรฐานระบบเครือข่าย
คอมพิวเตอร ์
2. มาตรฐานระบบเครือข่ายระดับประเทศ (
WAN)
่ Frame
่ Relay
ทีเป็
นทีนิ
ยมใช้ก ันมากในปั จจุบน
ั
2.2
่ เ ลย์3เแบบ
โดยทั
วไปมี
คือ
เฟรมรี
ป็ นเทคโนโลยี
ท ี่พั ฒ นาต่ อ จาก
X.25 อีกทีหนึง่ ในการสง่ ข ้อมูล เฟรมรีเลย์จะมี
ก า ร ต ร ว จ เ ช็ ค ค ว า ม ถู ก ต อ
้ งของขอ
้ มู ล ที่ จุ ด
ปลายทาง ทางานแบบ Packet Switching
มาตรฐานระบบเครือข่าย
คอมพิวเตอร ์
2. มาตรฐานระบบเครือข่ายระดับประเทศ (
WAN)
่ ATM
่ ยมใช้ก ันมากในปั
ทีเป็
นที(Asynchronous
นิ
จจุบ
น
ั
2.3
Transfer
Mode)
่
โดยทั
วไปมี
3 แบบ
อ
เป็ นระบบเครื
อข่าคื
ยความเร็
วสูง ปั จจุบันระบบ
้
องค์ก รใหญ่ ๆ นิ ย มใช งานอย่
า งแพร่ ห ลายใน
ื่ สาร โดยระบบ ATM จะ
วงการอุตสาหกรรมการสอ
มีก ารส่ ง ข ้อมู ล จ านวนน อ
้ ยๆ ที่ม ีข นาดคงที ท ี่
เรียกว่า เซลล์ (Cell)
ระบบเครือข่ายไร ้สาย (Wireless LAN:
WLAN)
ระบบเครือ ข่ า ยไร ้ หมายถึง การส ื่อ สาร
ข ้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์ผา่ นระบบเครือข่าย
โดยไม่ต ้องผ่า นสายสัญ ญาณ แต่จ ะมีก ารส่ง
้ น
ข ้อมูลผ่านการใชคลื
่ ความถีว่ ท
ิ ยุในย่านวิทยุ
(Radio Frequency: RF) และคลืน
่ อินฟราเรด
(infrared) แทน โดยระบบเครือข่ายไร ้สายก็ยัง
มี คุ ณ สมบั ต ิค รอบคลุ ม ทุ ก อย่ า งเหมื อ นกั บ
้
ระบบเครือข่ายท ้องถิน
่ (LAN)
แบบใชสาย
ทั่วไป ระบบ
ระบบเครือข่ายไร ้สาย (Wireless LAN:
WLAN)
ระบบเครื อ ข่ า ยไร ส
้ ายพั ฒ นาขึ้น ในปี
ค.ศ. 1971 บนเกาะฮาวาย โดยเป็ นผลงานของ
นั ก ศ ึก ษาของมหาวิท ยาลั ย ฮาวาย ที่ช ื่อ ว่ า
“ALOHNET”
ซ งึ่ ความสามารถในขณะนั น
้
สามารถสง่ ข ้อมูลเป็ นแบบ Bi-directional คือสง่
ขอ
้ มู ล ไป-ส่ ง ข อ
้ มู ล กลั บ ได ้ ผ่ า นคลื่ น วิ ท ยุ
ส ื่ อ ส า ร กั น ซ ึ่ ง เ ป็ น ก า ร ส่ ง ข อ
้ มู ล ร ะ ห ว่ า ง
คอมพิวเตอร์ด ้วยกันเอง จานวน 7 เครือ
่ ง ทีต
่ ัง้
อยูบ
่ นเกาะ 4 เกาะโดยรอบ และมีศน
ู ย์กลาง
ื่ มต่ออยูท
ื่ ว่า Oahu
การเชอ
่ เี่ กาะทีช
่ อ
ประเภทของเครือข่ายไร ้สาย
1. ระบบเครือข่ายไร ้สายสว่ นบุคคล (WPAN)
2. ระบบเครือข่ายท ้องถิน
่ ไร ้สาย (WLAN)
3. ระบบเครือข่ายเมืองไร ้สาย (WMAN)
4. ระบบเครือข่ายขนาดใหญ่ไร ้สาย
(WWAN)
ประเภทของเครือข่ายไร ้สาย
่
1. ระบบเครื
อ
ข่
า
ยไร
้สายส
ว
นบุค
คล (WPAN)
้
เป็ นการใชงานในลักษณะที
่ ครอบคลุ
มพืน
้ ที่
่ อยูภ
ั หรือห ้อง
จากัด เชน
่ ายในบ ้านพักอาศย
ทางานเล็กๆ ซงึ่ มีอยูส
่ องระบบทีร่ องรับการทางาน
สว่ นบุคคล คือ IR (Infra-Red) และ Bluetooth
ประมาณไม่เกิน 3 เมตร และบลูทธ
ู ระยะห่าง ไม่
เกิน 10 เมตร
ประเภทของเครือข่ายไร ้สาย
2. ระบบเครือข่ายท ้องถิน
่ ไร ้สาย (WLAN)
้
เป็ นการใชงานในลั
กษณะทีค
่ รอบคลุมพืน
้ ที่
กว ้างกว่าประเภทระบบเครือข่ายไร ้สายสว่ นบุคคล
่ อยู่ภายในสานั กงานเดียวกัน อาคารเดียวกัน
เชน
ระยะห่างระหว่างอุปกรณ์ประมาณ 0 ถึง 100 เมตร
ประเภทของเครือข่ายไร ้สาย
3. ระบบเครือข่ายเมืองไร ้สาย (WMAN)
้
เป็ นการใชงานในลั
กษณะทีค
่ รอบคลุมพืน
้ ที่
้
กว ้าง เช ่น ใช งานระหว่
า งองค์ก ร ระหว่า งเมือ ง
และมีระบบเครือข่ายทีห
่ ลากหลายมากขึน
้
ประเภทของเครือข่ายไร ้สาย
4. ระบบเครือข่ายขนาดใหญ่ไร ้สาย
้
่
เป็ นการใชงานในเครื
อข่ายขนาดใหญ่ เชน
(WWAN)
ระหว่า งเมือ งขนาดใหญ่ ระหว่า งประเทศ โดย
การส ื่ อ สารลั ก ษณะอย่ า งนี้ จ ะใช ก้ ารส ื่ อ ผ่ า น
ดาวเทียมแทน ในกรณีทข
ี่ ้ามไปต่างประเทศ
มาตรฐานของระบบเครือข่ายไร ้สาย
1. มาตรฐาน IEEE802.11
2. มาตรฐาน IEEE802.11a
3. มาตรฐาน IEEE802.11b
4. มาตรฐาน IEEE802.11g
5. มาตรฐาน IEEE802.11n
มาตรฐานระบบเครือข่าย
คอมพิวเตอร ์
1. มาตรฐาน IEEE802.11
พัฒนาขึน
้ ในปี พ.ศ. 2540
อุปกรณ์
สามารถรับสง่ ข ้อมูลได ้ทีอ
่ ัตราเร็ว 1 และ 2
Mbps
ผ่า นการส่ง ข ้อมูล แบบอิน ฟาเรด
(Infrared) หรือ คลืน
่ ความถีว่ ท
ิ ยุ 2.4, 5 GHz มี
้
ระบบรักษาความปลอดภัยโดยใชระบบ
WEP
มาตรฐานระบบเครือข่าย
คอมพิวเตอร ์
2. มาตรฐาน IEEE802.11a
พัฒนาขึน
้ ในปี พ.ศ. 2542 อุปกรณ์สามารถ
รับสง่ ข ้อมูลได ้ทีอ
่ ัตราเร็ว 54 Mbps ผ่านการสง่
ข ้อมูลด ้วยสัญญาณวิทยุยา่ นความถี่ 5 GHz ใช ้
เทคนิคการส่ง ข ้อมูล แบบ OFDM
(Orthogonal
Frequency Division Multiplexing) แต่เนื่องจากย่าน
้
ความถี่ 5 GHz นั น
้ ได ้ถูกห ้ามใชในบางประเทศ
รวมถึงประเทศไทย และประกอบกับย่านความถีท
่ ี่
สู ง ท าให ้ อุ ป กรณ์ ม ีร าคาแพง และระยะทางที่
้
้ กว่าย่านความถี่ 2 GHz จึง
สามารถใชงานได
้สัน
ทาให ้มาตรฐาน IEEE802.11a นั น
้ ไม่เป็ นทีน
่ ย
ิ มใช ้
มาตรฐานระบบเครือข่าย
คอมพิวเตอร ์
3. มาตรฐาน IEEE802.11b
พัฒนาขึน
้ พร ้อมกับ IEEE802.11a ในปี พ.ศ.
2542 อุปกรณ์สามารถรับสง่ ข ้อมูลได ้ทีอ
่ ัตราเร็ว 11
้
Mbps
ใช เทคนิ
ค การส่ ง ข ้อมู ล แบบ CCK
(Complimentary Code Keying) และ DSSS (Direct
Sequence Spread Spectrum) ใชย่้ านความถี่ 2.4 GHz
ซงึ่ เป็ นย่านความถี่ ISM (Industrial Scientific and
ื่ สารทางด ้านวิทยาศาสตร์,
Medical) สาหรับการสอ
อุตสาหกรรม, และการแพทย์ จะเห็นว่าอัตราเร็ว
การรั บ ส่ง ข ้อมูล นั ้น ต่า กว่า มาตรฐาน IEEE802.11a
ค่อนข ้างมาก
มาตรฐานระบบเครือข่าย
คอมพิวเตอร ์
3. มาตรฐาน IEEE802.11b
เนื่องจากมาตรฐาน IEEE802.11 ใชย่้ านความถี่
้
ทีต
่ ่ากว่าจึงทาให ้สามารถใชงานได
้ระยะทางทีไ่ กล
กว่ามาตรฐาน IEEE802.11a ประกอบกับความถีท
่ ต
ี่ า่
ทาใหอ
้ ุ ป ก ร ณ์ มี ร า ค า ถู ก จึ ง ท า ใ ห ม
้ าตรฐาน
IEEE802.11b
เป็ นที่นิย มใช กั้ น อย่า งแพร่ห ลาย
มากกว่า และทาให ้เกิดเครือ
่ งหมายการค ้า Wi-Fi ซงึ่
กาหนดขึน
้ จากหน่วยงาน WEGA (Wireless Ethernet
Compatibility Alliance) เพือ
่ บ่งบอกว่าอุปกรณ์นัน
้ ได ้
ผ่ า น ก า ร ต ร ว จ ส อ บ แ ล ะ รั บ ร อ ง ว่ า เ ป็ น ไ ป ต า ม
้
มาตรฐาน IEEE802.11b และสามารถใชงานร่
วมกับ
มาตรฐานระบบเครือข่าย
คอมพิวเตอร ์
4. มาตรฐาน IEEE802.11g
้
พัฒนาขึน
้ ขึน
้ ในปี พ.ศ. 2546 ใชเทคนิ
คการสง่
ข ้อมูลแบบ OFDM และใชย่้ านความถี่ 2.4 GHz
อุปกรณ์สามารถรับสง่ ข ้อมูลได ้ทีอ
่ ัตราเร็ว 54 Mbps
และสามารถท างานกับ มาตรฐานเก่า IEEE802.11b
ได ้ (Backward-Compatible)
จึง ท าให ้มาตรฐาน
IEEE802.11g
นั ้น เป็ นที่นิย ม และเข ้ามาแทนที่
มาตรฐาน IEEE802.11b ในทีส
่ ด
ุ
มาตรฐานระบบเครือข่าย
คอมพิวเตอร ์
5. มาตรฐาน IEEE802.11n
พัฒนาขึน
้ ในปี พ.ศ. 2548 เป็ นมาตรฐานที่
กาลังเข ้ามาแทนทีม
่ าตรฐาน IEEE802.11g โดย
ในมาตรฐาน IEEE802.11n นี้ได ้มีการพัฒนาให ้
สามารถรับสง่ ข ้อมูลได ้ในระดับ 100-540 Mbps
ตามทฤษฎี
เกณฑ ์การว ัดประสิทธิภาพของ
เครือข่าย
1. สมรรถนะ (Competency)
ื่ ถือ (Reliability)
2. ความน่าเชอ
3. ความปลอดภัย (Security)
เกณฑ ์การว ัดประสิทธิภาพของ
เครือข่าย
1. สมรรถนะ (Competency)
้
1.1 เวลาทีใ่ ชในการถ่
ายโอน
ข ้อมูล
้
1.2 จานวนผู ้ใชงานในระบบ
เครือข่าย
ื่ กลางทีใ่ ชส้ ง่ ข ้อมูล
1.3 ชนิดสอ
1.4 อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์
การประยุกต ์ใช้งานของระบบ
เครือข่ายคอมพิวเตอร ์
่ อ (Reliability)
2. ความน่ าเชือถื
1. ปริมาณความถีข
่ องความล ้มเหลวในการ
สง่ ข ้อมูล
้
2. ระยะเวลาทีใ่ ชการกู
้คืนข ้อมูลหรือกู ้คืน
้
ระบบกรณีเกิดความสมเหลวขึ
น
้
3. การป้ องกันเหตุการณ์ตา่ งๆ ทีท
่ าให ้
ระบบเกิดความล ้มเหลว
เกณฑ ์การว ัดประสิทธิภาพของ
เครือข่าย
3. ความปลอดภัย (Security)
ถือ เป็ นหั ว ใจส าคั ญ ที่ สุ ด โดยเน น
้ ไปที่
ิ ธิ์
ความสามารถทีจ
่ ะป้ องกันบุคคลทีไ
่ ม่ม ีสท
ในการเข ้าถึงข ้อมูล หรือระบบเครือข่าย โดย
้ ส การเข ้าถึง ข ้อมู ล เป็ นต ้น และ
อาจใช รหั
ความสามารถในการป้ องกันภัยคุกคามต่างๆ
เช ่ น การป้ องกั น ไวรั ส คอมพิว เตอร์ เป็ น
เพือ
่ ให ้ระบบเครือข่ายมีความปลอดภัยสูงสุด
เกณฑ ์การว ัดประสิทธิภาพของ
เครือข่าย
่
1. ด้านการติดต่อสือสาร
1.1 บริการกระดานข่าวอิเล็กทรอนิกส ์
1.2
จดหมายและจดหมายเส ีย งทาง
อิเล็กทรอนิกส ์
1.3 การประชุมระยะไกลทางอิเล็กทรอนิกส ์
1.4 การสนทนาแบบออนไลน์
เกณฑ ์การว ัดประสิทธิภาพของ
เครือข่าย
ห รื อ บ น
ริ หาข้
ก า รอสมูาลร ส น เ ท ศ ท า ง
2. ด้านการค้
อิเ ล็ ก ทรอนิก ส ์ (Electronic
Information
services) เป็ นประโยชน์ทส
ี่ าคัญทีส
่ ด
ุ อย่าง
หนึง่ ของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ โดยผู ้
ให ้บริก ารจะสามารถบริก ารสารสนเทศที่ม ี
ความส าคั ญ และเป็ นที่ ต อ
้ งการของผู ใ้ ช ้
้
ผ่านทางเครือข่าย ซงึ่ ผู ้ใชจะสามารถเรี
ยกดู
สารสนเทศเหล่ า นั ้ น ได ท
้ ั น ที ทั น ใดและ
่ การใชเว็
้ บบราวเซอร์
ตลอด 24 ชวั่ โมง เชน
ื ค ้นหาข ้อมูล
สบ
เกณฑ ์การว ัดประสิทธิภาพของ
เครือข่าย
3. ด้านธุรกิจและการเงิน
3.1
การแลกเปลี่ ย นข อ
้ มู ล ทาง
อิเล็กทรอนิกส ์
3.2 การโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส ์
ื้ สน
ิ ค ้าทางอิเล็กทรอนิกส ์
3.3 การสงั่ ซอ
เกณฑ ์การว ัดประสิทธิภาพของ
เครือข่าย
4. ด้านการศึกษา
ปั จจุ บั น สามารถระบบเครื อ ข่ า ยมีส่ ว น
ึ ษาอย่างมากเชน
่ การเรีย น
ชว่ ยด ้านการศก
การสอนผ่ า นอิน เทอร์เ น็ ต และการค ้นหา
ความรู ้ต่างๆ บนอินเทอร์เน็ ต เป็ นต ้น
5. ด้โรงพยาบาลใหญ่
านการแพทย ์ ๆ มีก ารน าเอาระบบ
้
เครื อ ข่ า ยเข ้าไปใช งานกั
น มาก ที่เ ห็ น ได ้
ชัดเจน คือการจัดเก็บข ้อมูลคนไข ้ ปั จจุบัน
สามารถเรียกผ่านอินเทอร์เน็ ตได ้แล ้ว ทาให ้
ลดระยะเวลาของหมอและยั ง ช ่ว ยให ้การ
้
วินจ
ิ ฉั ยได ้ถูกต ้องครบถ ้วน และการใชตรวจ
การประยุกต ์ใช้งานระบบเครือข่าย
ภายในมหาวิทยาลัยฯ
1. บริการโฮสติง้
บริการเว็บโฮสติง้ (SDU Hosting) คือ การ
ให ้บริการรับฝากเว็บไซต์ ภายใต ้โดเมนเนม ของ
dusit.ac.th
การประยุกต ์ใช้งานระบบเครือข่าย
ภายในมหาวิทยาลัยฯ
2. บริการจัดการผู ใ้ ช้จากส่วนกลาง
้
ระบบการจัดการผู ้ใชจากส
ว่ นกลาง (IDM: Identity
Manager) หรือเรียกว่า SDU IDM เป็ นระบบการจัดการ
เกีย
่ วกับรหัสผู ้ใช ้ ของบริการด ้านออนไลน์ของ
่ การเปลีย
มหาวิทยาลัย เชน
่ น Password หรือ
้
ตรวจสอบสถานะของผู ้ใชงาน
การประยุกต ์ใช้งานระบบเครือข่าย
ภายในมหาวิทยาลัยฯ
่
3. เครื
องให้
บกริารอั
การอ
ิ Kiosk เป็ น
เครือ
่ งให ้บริ
ตโนมััตโนมั
ต ิ หรือตSDU
เครือ
่ งทีใ่ ห ้บริการอัตโนมัต ิ (Multi-function self-service
ึ ษาในเรือ
็ เรือ
kiosk) โดยมีไว ้ให ้บริการนั กศก
่ งเชค
่ ง
ื จาก
เกรด พิมพ์ใบเกรด ตรวจสอบการค ้างหนั งสอ
ห ้องสมุด ดูรายวิชาทีล
่ งเรียน ตารางสอน ตาราง
สอบ และอืน
่ ๆ
การประยุกต ์ใช้งานระบบเครือข่าย
ภายในมหาวิทยาลัยฯ
4. บริการอีเมลนักศึกษา
ึ ษา (SDU Live) เป็ นบริการทีจ
บริการอีเมลนั กศก
่ ะ
ึ ษา สามารถใชงาน
้
ทาให ้นั ก เรีย น นั ก ศ ก
Live@edu
ื่ สารโดย
สาหรับ การทางานร่วมกัน และการติดต่อสอ
้
้ ยง
สามารถใชงานทุ
กบริการทีม
่ โี ดยใช ้ รหัสผู ้ใชเพี
รหัสเดียว ไม่วา่ จะเป็ น อีเมล Windows Live Messenger
หรือ การแชร์ข ้อมูลซงึ่ SDU Live
การเข้าใช้งานนักศึกษาสามารถเข้าใช้
งานโดยให้เข้ามาที่
http://www.sdulive.net
การประยุกต ์ใช้งานระบบเครือข่าย
ภายในมหาวิทยาลัยฯ
บริกการอี
ารอีเมลบุ
คลากร
(SDU
5. บริ
เมลบุ
คลากร
Mail) คือ บริการรับ
ื่
ส่ง อีเ มลล ระบบปฏิท น
ิ ไฟล์เ อกสารแนบ รายช อ
ติดต่อ และข ้อมูลอืน
่ ๆ สาหรับบุคลากร ซงึ่ เป็ นระบบ
Microsoft Exchange Server ทีส
่ ามารถทาให ้ระบบการ
ื่ สารทางานได ้อย่างต่อ เนื่อง การรั บส่งอีเมลไม่
สอ
้
ติด ขั ด ช ่ ว ยป้ องกั น ผู ใ้ ช และข
อ
้ มู ล อั น มี ค่ า ของ
องค์ก ร จากอัน ตรายต่า งๆที่ม าทางอีเ มลขยะและ
ไวรัส
การประยุกต ์ใช้งานระบบเครือข่าย
ภายในมหาวิทยาลัยฯ
6. บริกบริ
ารอิ
นนเทอร
ไร้สาย
้สาย
การอิ
เทอร์เ์เน็
น็ ตต
ไร
(SDU
WIFI) เป็ น
ึ ษาเข ้าใช ระบบอิ
้
บริก ารที่ใ ห ้นั ก ศ ก
น เทอร์เ น็ ต ได ้
ึ ษา
จากทุกบริเวณภายในมหาวิทยาลัยฯ โดยนั กศก
้ อ
สามารถใชเครื
่ งคอมพิวเตอร์พกพา หรือโทรศัพท์
ื่ มต่ออินเทอร์เน็ ตได ้ เมือ
ึ ษาพบสัญญาณ
เชอ
่ นั กศก
ื่ มต่อได ้ทันที
Wireless ของมหาวิทยาลัยฯทาการเชอ
ื่ มต่อ แล ้วนั ก ศ ก
ึ ษาจะเข ้าอิน เทอร์เ น็ ต จะต ้อง
เช อ
ทาการ Log In เข ้าสูร่ ะบบก่อน จึงจะสามารถเข ้าใช ้
บริการได ้
การประยุกต ์ใช้งานระบบเครือข่าย
ภายในมหาวิทยาลัยฯ
6. บริการอินเทอร ์เน็ ตไร ้สาย
การประยุกต ์ใช้งานระบบเครือข่าย
ภายในมหาวิทยาลัยฯ
บริการเว็
บ VPN
7. บริการเว็
บ VPN
หรือ SDU VPN เป็ น
้ กการ
บริการ SDUNET@Home เป็ นบริการทีใ่ ชหลั
ึ ษาและ บุคลากรของ
ของ SSL VPN สาหรับนั กศก
้ ริ ก า ร
ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ ส ว น ดุ ส ิ ต ที่ ใ ช บ
้ การ
Internet จากผู ้ให ้บริการทั่วไปสามารถ ใชบริ
ื ค ้นข ้อมูล ห ้องสมุด อิเ ล็ ก ทรอนิก ส ์ และระบบ
สบ
้
อืน
่ ๆ ทีจ
่ าเป็ นต ้องใชหมายเลข
IP Address ของ
มหาวิทยาลัย โดยใช ้ User name และ Password
เดีย วกัน กับ E-mail
ของมหาวิท ยาลั ย ฯ โดย
้
นั ก ศ ึก ษาสามารถเข ้าใช งานอิ
น เทอร์เ น็ ต ผ่ า น
VPN (Virtual Private network) ได ้ทางเว็บไซต์
http://webvpn.dusit.ac.th
การประยุกต ์ใช้งานระบบเครือข่าย
ภายในมหาวิทยาลัยฯ
7. บริการเว็บ VPN
Q/A