SC173-ภารเà - Game Programming And Development

Download Report

Transcript SC173-ภารเà - Game Programming And Development

SC173 การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
สุพจน์ สวัตติวงศ์
[email protected]
gamepad.pigcanfly.com
Reference:
• นิรันดร์ ประวิทย์ธนา, เก่ ง C# ให้ ครบสูตร ฉบับ OOP, วิตตี ้กรุ๊ป
• http://www.thaiall.com/article/teachpro.htm
• http://www.sapaan.net/forum/programming-community/net-framework-xiidaaaooeaoaadcoaeon-acaoadaaa1iaadeioiaeoaaoeo/
ทาไมเด็กสาย Animation ต้องเรี ยนการเขียนโปรแกรม
ทาไมเด็กสาย Animation ต้องเรี ยนการเขียนโปรแกรม
• ความรู้ในการเขียนโปรแกรม ช่วยให้ เข้ าใจหลักการทางานของ Software
สาหรับ Animation เบื ้องต้ นได้
• ทาให้ หลีกเลี่ยงการทางานที่เสี่ยงต่อการคานวณที่ไม่จาเป็ น เพื่อประหยัด
ระยะเวลาในการทางาน
• ทาให้ ช่วยสร้ าง script เบื ้องต้ น หรื อ Plugin สาหรับ Program
ทางด้ าน Computer Graphic ยกตัวอย่างเช่น Mel Script ใน
Maya, Python ใน 3D Studio Max และ Jscript ใน
Photoshop
• รวมถึงงานในส่วน Virtual Fx ใน Animation และในภาพยนตร์
การเขียนโปรแกรม
• การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ คือการกาหนดระบบและ
กลไกให้ กบั เครื่ องคอมพิวเตอร์ เพื่อทาการประมวลผลให้ ได้
ตามที่ต้องการ
• การเขียนโปรแกรมจาเป็ นต้ องใช้ ภาษาคอมพิวเตอร์ ในการ
เขียน เช่น C++, Java, Objective C, C#, Basic,
PHP, Python และ อื่นๆ
1.ABC (4)
2.Ada (335)
3.ADL (1)
4.Algol 60 (15)
5.Algol 68 (30)
6.APL (75)
7.AppleScript@ (36)
8.Assembly (188)
9.Awk (21)
10.BASIC (231)
11.Befunge (13)
12.BETA (9)
13.Bigwig (1)
14.Bistro@ (6)
15.Blue (4)
16.Brainfuck (14)
17.C (264)
18.C++ (831)
19.Caml@ (3)
20.Cecil (3)
21.CHILL (3)
22.Clarion (42)
23.Clean (3)
24.Clipper (28)
25.CLU (4)
26.Cobol (125)
27.CobolScript (2)
28.Cocoa (3)
29.Component Pascal@ (10)
30.C-sharp (148)
31.Curl (36)
32.D (48)
33.DATABUS (7)
34.Delphi (450)
35.DOS Batch@ (118)
36.Dylan (20)
37.E (4)
38.Eiffel (71)
39.ElastiC (2)
40.Erlang (268)
ภาษาคอมพิวเตอร์
41.Euphoria (26)
42.Forth (202)
43.Fortran (886)
44.Fortress (4)
45.FP (2)
46.Frontier (46)
47.Goedel (3)
48.Groovy@ (22)
49.Haskell (61)
50.HTML@ (316)
51.HTMLScript@ (63)
52.HyperCard@ (16)
53.ICI (3)
54.Icon (8)
55.IDL (15)
56.Intercal (16)
57.Io (10)
58.Jal@ (10)
59.Java (2,952)
60.JavaScript (566)
61.Jovial (8)
62.LabVIEW (85)
63.Lagoona@ (1)
64.LaTeX@ (117)
65.Leda (4)
66.Limbo (6)
67.Lisp (445)
68.Logo@ (59)
69.Lua (20)
70.m4 (2)
71.Maple@ (26)
72.Mathematica@ (53)
73.MATLAB@ (146)
74.Mercury (4)
75.Miranda (11)
76.Miva (63)
77.ML (52)
78.Modula-2 (27)
79.Modula-3 (8)
80.Moto (4)
81.Mumps (22)
82.Oberon (65)
83.Objective Caml@ (25)
84.Objective-C (21)
85.Obliq (4)
86.Occam (20)
87.Oz (8)
88.Pascal (79)
89.Perl (925)
90.PHP (1,495)
91.Pike (7)
92.PL (14)
93.Pliant (9)
94.PL-SQL (50)
95.POP-11 (11)
96.PostScript@ (39)
97.PowerBuilder@ (98)
98.Prograph (24)
99.Prolog (69)
100.Proteus (2)
101.Python (469)
102.R@ (21)
103.REBOL (145)
104.Refal (7)
105.Rexx (210)
106.Rigal (3)
107.RPG (16)
108.Ruby (223)
109.SAS (51)
110.Sather (11)
111.Scheme@ (144)
112.Self@ (16)
113.SETL (6)
114.SGML@ (29)
115.Simkin (5)
116.Simula (8)
117.Sisal (11)
118.S-Lang (2)
119.Smalltalk (309)
120.Snobol (6)
121.SQL (41)
122.Squeak@ (94)
123.Tcl-Tk (113)
124.Tempo (2)
125.TeX@ (402)
126.TOM (2)
127.TRAC (4)
128.Transcript (25)
129.Turing (8)
130.T3X (3)
131.UML@ (177)
132.VBScript@ (19)
133.Verilog@ (16)
134.VHDL@ (28)
135.Visual Basic (464)
136.Visual DialogScript (4)
137.Visual FoxPro (67)
138.Water (11)
139.XML@ (749)
140.XOTcl@ (5)
141.YAFL (2)
142.Yorick (8)
143.Z (28)
หลักของแต่ ละภาษาจริงๆ แล้ ว เหมือนกัน
ภาษาคอมพิวเตอร์ ทุกภาษานั้น เหมือนกัน
• สิ่งที่แตกต่างกัน ของแต่ละภาษาคือ syntax
• แต่สงิ่ ที่เหมือนกันของทุกภาษาคือ การใช้ ประสบการณ์จากภาษาหนึง่
ไปใช้ ในอีกภาษาหนึง่ ได้ ด้ วยการซึมซับ เรื่ องของ Structure
Programming จนเข้ าใจ เพื่อควบคุมในสิง่ ที่คล้ าย ๆ กันคือ
input, process และ output
• ถ้ าท่านเขียนโปรแกรมอะไร ในภาษาหนึง่ ได้ แล้ ว การเขียนโปรแกรม
แบบนัน้ ในภาษาอื่นย่อมไม่ใช่เรื่ องยากอีกต่อไป เพียงแต่ต้องศึกษาถึง
syntax หรื อ รูปแบบการเขียนของภาษาใหม่นนเพิ
ั ้ ่มเติม แล้ วนา
ประสบการณ์ที่เคยเขียน ไปสัง่ ให้ ภาษาใหม่ทางานตามต้ องการ
ภาษาคอมพิวเตอร์ ทุกภาษานั้น เหมือนกัน
• แต่นอกเหนือจาก Syntax แล้ ว ภาษาแต่ละภาษาก็มีสว่ นที่ต่างกันใน
เรื่ องของการพัฒนาอีก เช่น เครื่ องมือต่างๆ และ Library ทาให้ การ
เขียนโปรแกรมบางชนิดภาษาแต่ละภาษาจึงเขียนได้ ไม่เท่ากัน
• เช่นหากต้ องการใช้ ภาษา C ในการเขียน Web Application ใน
ภาษา C สามารถทาได้ ผา่ น CGI Library ของภาษา C ทางานบน
Command Line ซึง่ เขียนค่อนข้ างยาก และต้ องเขียนเพิ่มเติม
ค่อนข้ างเยอะมาก เมื่อเทียบกับ C# ที่สามารถเขียนไปรันบน
ASP.NET ได้
Compiler
• หมายถึงโปรแกรมที่ใช้ แปลภาษาระดับสูงเช่น C#, C++, Java ให้
เป็ นภาษาเป้าหมาย (Object Program) ซึง่ อาจเป็ นภาษาเครื่ อง
หรื อชุดคาสัง่ เพื่อพร้ อมใช้ งานทังหมดก่
้
อน จึงพร้ อมที่ใช้ งานได้
• ดังนันหากท
้
าการ Compile โปรแกรมภาษาจะทาการแจ้ งปั ญหาท
เกี่ยวกับ Syntax Error ทันทีที่ Compile เสร็จ
• แต่ถ้าเป็ น Runtime Error จะไม่มีการแจ้ งเตือนจนกว่าจะทาการ
รัน หรื อ อาจจะไม่มีการแจ้ งเตือนใดๆๆ
Interpreter
• หมายถึงโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่ทางานตามชุดคาสัง่ ที่เขียนไว้ ทนั ที ซึง่ ไม่
เหมือนกับcompiler โดยทาการแปลชุดคาสัง่ จากภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาหนึ่งไปใช้ งานทีละบรรทัด
• ดังนันทุ
้ ก Error จะแสดงผลเมื่อไปทางานถึงบรรทัดคาสัง่ นันเท่
้ านัน้
• โดยทัว่ ไปแล้ วการทางานของโปรแกรมผ่าน Interpreterช้ ากว่าทางาน
จากโปรแกรมที่ผ่านการแปลโปรแกรมเป็ นภาษาเครื่ องแล้ ว เพราะ
Interpreterจะต้ องแปลแต่ละคาสัง่ ในระหว่างการทางานว่าจะต้ องทา
อะไรต่อไป
• ตัวอย่างภาษาที่มีการใช้ Interpreter เช่น JavaScript, PHP,
Python
• จากตัวอย่างเห็นได้ วา่ ในปั จจุบนั ภาษาที่ใช้ Interpreter เป็ นภาษา
Script ทังนั
้ น้
Structure Programming
• การโปรแกรมแบบมีโครงสร้ าง หรือ การโปรแกรมโครงสร้ าง คือ
การกาหนดขันตอนให้
้
เครื่ องคอมพิวเตอร์ ทางานโดยมีโครงสร้ างการ
ควบคุมพื ้นฐาน 3 หลักการ ได้ แก่
• การทางานแบบตามลาดับ(Sequence)
• การเลือกกระทาตามเงื่อนไข(Decision)
• การทาซ ้า(Loop)
การทางานแบบตามลาดับ(Sequence)
• การเขียนให้ ทางานจากบนลงล่าง เขียน
คาสัง่ เป็ นบรรทัด และทาทีละบรรทัด
จากบรรทัดบนสุดลงไปจนถึงบรรทัด
ล่างสุด สมมติให้ มีการทางาน 3
กระบวนการคือ อ่านข้ อมูล คานวณ
และพิมพ์ จะเขียนเป็ นผังงาน
(Flowchart) ในแบบตามลาดับได้
ตามภาพ
Process1
Process2
Process3
การเลือกกระทาตามเงื่อนไข(Decision)
• การเขียนโปรแกรมเพื่อนาค่าไปเลือกกระทา โดยปกติจะมีเหตุการณ์ให้
ทา 2 กระบวนการ คือเงื่อนไขเป็ นจริงจะกระทากระบวนการหนึง่ และ
เป็ นเท็จจะกระทาอีกกระบวนการหนึง่ แต่ถ้าซับซ้ อนมากขึ ้น จะต้ องใช้
เงื่อนไขหลายชัน้
Yes
No
Decision
Process
Process
การทาซ้า(Loop)
• การทากระบวนการหนึง่ หลายครัง้ โดยมี
เงื่อนไขในการควบคุม หมายถึงการทาซ ้า
เป็ นหลักการที่ทาความเข้ าใจได้ ยากกว่า
2 รูปแบบแรก เพราะการเขียนโปรแกรม
แต่ละภาษา จะไม่แสดงภาพอย่างชัดเจน
เหมือนการเขียนผังงาน(Flowchart)
ผู้เขียนโปรแกรมต้ องจินตนาการ ถึง
รูปแบบการทางาน และใช้ คาสัง่ ควบคุม
ด้ วยตนเอง
Yes
Decision
No
Process
Microsoft .Net Framework
• .Net อ่านว่า Dot Net
• จากการที่ Microsoft ต้ องการที่จะสร้ าง ระบบภาษา ที่เป็ นมาตรฐาน
ขึ ้นมา เพื่อให้ ทกุ สิ่งทุกอย่าง สามารถติดต่อสื่อสารกันได้ หมด Microsoft
ได้ คิดค้ น ระบบ ซึง่ หมายมัน่ ปั น้ มือว่าจะให้ เป็ น ระบบมาตรฐาน ระบบนี ้คือ
.NET Framework ซึง่ ระบบนี ้ไม่ใช่ ระบบปฏิบตั ิการ (OS) แต่
เปรี ยบเสมือน โปรแกรม หนึ่งที่จะสามารถสร้ าง สภาวะแวดล้ อม ซึง่ สามารถ
ทางานใน ระบบ .NET นี ้ได้
• ในอนาคต Microsoft ก็หวังที่จะนาเอา ระบบ .net นี ้ไปติดตังลงบน
้
อุปกรณ์ ทุกชนิด เพื่อทาให้ อุปกรณ์ ทุกอย่างมีระบบๆหนึง่ ที่เหมือนกันหมด
ส่ วนประกอบของ .Net Framework
• Programming Language
• Base Classes Library
• Common Language Runtime (CLR)
Programming Language
• เป็ นรูปแบบของ ภาษา ที่ ออกแบบ มาเพื่อให้ สามารถทางานในสภาวะ
ที่เป็ น .NET ได้ โดยที่ทาง Microsoft ได้ เปิ ดตัว ภาษาหลัก ๆที่จะ
ใช้ ใน การพัฒนา บน .NET นี ้ 3ภาษา
– C# เป็ น ภาษา ใหม่ที่ Microsoft พัฒนา มาจาก C++ กับ JAVA เป็ น
หลัก
– VB.NET เป็ น ภาษา ที่ พัฒนา มาจาก Visual Basic ในเวอร์ ชนั่ 6.0
– JScript.net เป็ น ภาษา ที่ พัฒนา มาจาก JScript ซึง่ เป็ น
JavaScript ใน เวอร์ ชนั่ ของ Microsoft
Base Classes Library
• Library นันเปรี
้ ยบเสมือน ชุดคาสัง่ สาเร็จรูปย่อยๆที่เพิ่มเข้ ามา ส่วน
ใหญ่เป็ นชุดคาสัง่ ที่ต้องใช้ งานอยูเ่ ป็ นประจา ดังนันจึ
้ งมีผ้ คู ิดค้ นเครื่ อง
อานวยความสะดวกในการเขียนโปรแกรม
• Library ใน ภาษาต่างๆส่วนใหญ่อยูใ่ น รูปแบบไฟล์ incould แต่
ถ้ าเป็ น ASP สิง่ ที่เป็ น library ก็คือ componet ต่างๆนัน่ เอง
• ภายในระบบ .NET สร้ างสิ่งที่เรี ยกว่าเป็ น Library พื ้นฐานขึ ้น ทา
ให้ ไม่วา่ จะใช้ ภาษา ใดในการพัฒนา โปรแกรม ก็สามารถที่จะเรี ยกใช้
Library ที่เป็ นตัวเดียวกันได้ หมด
Common Language Runtime (CLR)
• นับเป็ นสิง่ สาคัญของระบบ .NET นี ้ก็วา่ ได้ เพราะ CLR ที่วา่ นี ้มีหน้ าที่ทาให้
โปรแกรมที่เขียนขึ ้นมาด้ วยภาษาต่างๆกัน กลายเป็ น ภาษา รูปแบบ มาตรฐาน
เดียวกัน ทังหมด
้
เราเรี ยก ภาษา ที่วา่ นี ้ว่า Intermediate language (IL)
• หน้ าที่หลักๆของ CLR คือควบคุมหน่วยความจาของระบบ, ควบคุมการทางานของ
โปรแกรมที่รันอยูใ่ น .NET, การควบคุมการทางานระยะไกล และดูแลเรื่ องความ
ปลอดภัยของโปรแกรมและข้ อมูล ซึง่ เหมือนกับหน้ าที่ของแม่บ้านที่คอยดูแลทาความ
สะอาดและคอยทาให้ ทกุ อย่างเข้ ารูปเข้ ารอย
• เมื่อต้ องการที่รัน โปรแกรม ใด CLR ทาการตรวจสอบ เครื่ องที่รันว่ามี สภาวะ
แวดล้ อมการทางานเช่นใดหลังจากนันก็
้ จะ คอมไพล์ เป็ น โปรแกรม ที่เหมาะสมต่อ
การทางานของเครื่ องนัน้ ทาให้ เราสามารถใช้ งาน โปรแกรม ต่างๆได้ อย่างมี
ประสิทธิภาพสูงสุด ในแต่ละเครื่ อง
ส่ วนประกอบของ CLR
• Common Type System (CTS) เป็ นมาตรฐานของข้ อมูล ซึง่ ทุก
ภาษาที่รองรับ CLR หรื อ ทุกภาษาที่รองรับ .NET เพราะมันช่วยให้
โปรแกรมที่เขียนด้ วยภาษาที่แตกต่างกันสามารถสื่อสารกันรู้เรื่ อง
• Common Language Specification(CLS) เป็ นมาตรฐานที่
กาหนดให้ ภาษาต่างๆ ที่สนับสนุน CLR มีคณ
ุ สมบัติตา่ งๆ ที่เหมือนกัน
• Common Intermediate Language(CIL) โปรแกรมที่เขียน
ด้ วยภาษาใดใน .NET ก็ตาม ต้ องถูกแปลงเป็ นภาษามาตรฐานของ .NET
ที่เรี ยกว่า CIL เสียก่อน จึงจะสามารถนาไปใช้ งานกับระบบ Hardware
และ Softwareใดๆ ก็ได้ ที่รองรับ .NET Framework เพราะ CIL
เป็ นภาษาที่ไม่ขึ ้นกับฮาร์ ดแวร์ และซอฟท์แวร์ และ CIL มีชื่อเรี ยกอีกอย่าง
หนึ่งว่า MSIL (Microsoft Intermediate Language)
ส่ วนประกอบของ CLR(ต่อ)
• Just in Time Compiler(JIT) เวลาเรี ยกให้ โปรแกรมซึง่ เขียนด้ วย
ภาษา C# ทางาน จะเกิดกระบวนการแปลงภาษา CIL ให้ เป็ นภาษาเครื่ อง
ที่ตรงกับซอฟท์แวร์ หรื อฮาร์ ดแวร์ ด้ วยความช่วยเหลือของ JIT กระบวนการ
นี ้จะเกิดขึ ้นแบบอัตโนมัติและทาให้ การรันโปรแกรมของ C# ครัง้ แรกจะ
เสียเวลามากเป็ นพิเศษ แต่ครัง้ ต่อไปจะทางานเร็ วเป็ นปกติ
• Virtual Execution System(VES) หลังจาก JIT ทางาน
เรี ยบร้ อยแล้ ว โปรแกรมที่เราเรี ยกจะเริ่ มทางานโดยอยูใ่ นความดูแลของ
VES ที่จะคอยตรวจสอบการทางานของโปรแกรม และความช่วยเหลือเมื่อ
โปรแกรมมีปัญหา
ข้ อดีของ .NET Framework
• เป็ นระบบที่มี Library ที่เป็ น มาตรฐาน เดียวกัน : เนื่องจากมี Library ที่เป็ น มาตรฐาน
เดียวกัน ทังหมดท
้
าให้ เราไม่ต้องกังวลว่า ภาษา ที่ใช้ เขียนนันมี
้ Library ตัวนันตั
้ วนี ้หรื อไม่ รวมทังไม่
้
ต้ องคอยกังวลว่า ถ้ าใช้ Library ของ ภาษาหนึ่งแล้ วอีก ภาษาหนึ่งจะไม่มี Library ตัวนัน้
• ไม่ ขนึ ้ กับ ระบบประฏิบัตกิ าร (OS): เนื่องจาก ระบบประฏิบตั ิการ ที่แต่ละ บุคคล หรื อ องค์กร ใช้ นนั ้
ย่อมไม่เหมือนกัน แต่ภายใน .NET Framework จะไม่มีปัญหานี ้ของเพียงแค่มีระบบ .NET
Framework ก็จะทาให้ สามารถใช้ งาน โปรแกรม ต่างๆได้ ซึง่ เป็ นข้ อดีตรงที่เราจะสามารถใช้
โปรแกรมต่างๆได้ ทกุ ระบบประฏิบตั ิการ(ของ Microsoft)
• ใช้ ในการพัฒนาได้ ทุกภาษา: ทาให้ เราไม่ต้องคอยมาศึกษาภาษา ใหม่ ๆ เมื่อต้ อง การสร้ างโปรแกรม
ในแต่ละครัง้ นอกจากนัน้ เรายังสามารถเลือก ใช้ ภาษา ที่เราถนัดที่สดุ ใน การพัฒนาโปรแกรม ต่างๆได้
ด้ วย
• มีการควบคุมสิ่งแวดล้ อมในการทางานเป็ นอย่ างดี: เนื่องจากเป็ นระบบที่เป็ นมาตรฐาน ทาให้ การ
ควบคุม จัดสรรระบบต่างๆ ทาได้ ง่ายขึ ้น ไม่ว่าจะเป็ นการจัดสรร หน่วยความจา ด้ านการใช้ งานเครื่ องก็มี
ความรวดเร็วมากขึ ้น ลดโอกาสที่เครื่ องจะแฮงค์ได้ เป็ นอย่างดี
• ความปลอดภัย ที่มีมากขึน้ : .NET Framework สามรถ กาหนดสิทธิ์ การใช้ งานหรื อ
permission ของ ผู้ใช้ งาน ได้ มากขึ ้นทาให้ สามารถกาหนดว่า จะให้ โปรแกรม ในส่วนใดใช้ งานได้
หรื อไม่ได้ แล้ วแต่เฉพาะบุคคล
ลักษณะเฉพาะของภาษา C#
• ง่ายต่อการเขียน นอกจากลักษณะของ C# และประสิทธิภาพของ
Visual Studio 2010 แล้ ว ทาให้ การเขียน C# ค่อนข้ างง่าย
• C# มีลกั ษณะบางส่วนเหมือนภาษา Java แต่ได้ มีการพัฒนาบางส่วน
ที่ฉีกแนวออกจาก Java
• C# เป็ นการเขียนโปรแกรมในลักษณะ Object Oriented
Programming ซึง่ เหมือนกับภาษา Java
• นอกจาก .NET Framework แล้ ว C# ยังสนับสนุน
Windows Foundation Class ที่เพิ่มมาใน C# 3.0 ซึง่ ทา
ให้ สามารถในการพัฒนา Application ระดับ Enterprise ได้
ลักษณะเฉพาะของภาษา C#
• ภาษา C# ต่างกับ Java ตรงที่ C# สามารถทางานในส่วนของ
หน่วยความจา รวมถึงระบบคอมพิวเตอร์ ในระดับที่ลกึ มาก เช่น การทางาน
ในส่วน Protocol TCP/IP ที่ต่ากว่าระดับ 4 ยกตัวอย่างง่ายๆ อย่าง
ICMP ที่ใช้ ในโปรแกรม Ping ซึง่ สิ่งเหล่านี ้ต้ องใช้ ภาษา C และ C++
• มีคณ
ุ สมบัติที่ทาให้ ใช้ กบั XML ได้ ง่ายและราบรื่ นที่สดุ ด้ วย .NET
Framework
• Generic Type ของ C# ทางานมีประสิทธิภาพและ เร็ วกว่า Java
• C# 4.0 ได้ มีระบบ Dynamic Language เหมือนกับ ภาษา
Ruby, Python และ JavaScript
C# ใช้พฒั นาอะไรได้บา้ ง
• Console Application เป็ นโปรแกรมที่ทางานใน Command
Prompt ซึง่ มักเป็ นการที่ใช้ ทดสอบการทางาน ไม่เน้ นความสวยงาม
• Windows Forms เป็ นโปรแกรมทัว่ ไปในระบบ Windows ที่มี
รูปแบบการใช้ งานเป็ นกราฟิ ก (Graphics User Interface) เพื่อให้
ง่ายสาหรับผู้ใช้
• Windows Control เป็ นการสร้ าง Control เพื่อใช้ งานเพิ่มเติมใน
Windows Forms
• Windows Service เป็ นโปรแกรมภายใต้ Windows เพียงแต่
มองไม่เห็น ส่วนใหญ่เป็ นระบบ Client/Server โดยดู Service
เหล่านี ้ได้ จาก Administrative Tools ในส่วนของ Service
C# ใช้พฒั นาอะไรได้บา้ ง(ต่อ)
• ASP.NET เป็ นการเขียนโปรแกรมให้ ทางานผ่านทาง Web Site
หรื อ Web Application
• Web Service เป็ น service เหมือน Windows Service
แต่ใช้ งานผ่านทาง Web Site และสามารถให้ บริการแก่ Web
Site อื่นได้ ด้วย
• Web Control ลักษณะเหมือนกับ Windows Control แต่
เป็ น Control ที่สามารถสร้ างได้ เอง และทางานบนWeb อย่างเช่น
การทา Control สาหรับปฎิทินไว้ ใช้ เอง
C# ใช้พฒั นาอะไรได้บา้ ง(ต่อ)
• Game for Windows (XNA) สามารถทาเกมบน Windows
ผ่าน XNA Framework
• Game for XBOX360 (XNA) สามารถทาเกมบน XBOX360
ผ่าน XNA Framework
• Game for Windows Phone 7 (XNA) สามารถทาเกมบน
Windows Phone 7 ผ่าน XNA Framework
• Game for Zune (XNA) สามารถทาเกมบน Zune ผ่าน XNA
Framework
• App for Windows Phone7 สามารถทา Application บน
Windows Phone 7 ผ่านทาง Windows Phone
Developer Tools 7
System Requirement
•
•
•
•
CPU Intel Pentium 1GHz
RAM 512 MB
พื ้นที่วา่ งใน HDD อย่างน้ อย 1GB
ระบบปฎิบตั ิการ (OS) Windows XP, Windows Vista,
Windows 7, Windows Server 2003 และ
Windows 2008
Download
• http://www.microsoft.com/express/Download
s/