3. การเขียนโปรแกรม
Download
Report
Transcript 3. การเขียนโปรแกรม
รายวิชา ง23101 การเขียนโปรแกรมเบือ้ งต้ น
การสัง่ งานให้คอมพิวเตอร์ทางานต่าง ๆ
นัน้ ก็พฒ
ั นามาจากการที่มนุษย์สงั ่ ตนเองหรือผูอ้ ่ืนให้
ทางานตามต้องการ การที่มนุษย์ตอ้ งการจะให้
คอมพิวเตอร์ทางานอะไรให้ ก็สามารถเขี ยนเป็ นคาสัง่
ด้วยภาษาที่เรียกว่า โปรแกรมภาษา (Programming
Languages) เช่น ภาษา C , ภาษา Visual BASIC,
ภาษา JAVA IV ฯลฯ)
ภาษาระดับสูง
C
Modula-2
Pascal
Cobol
Fortran
Basic
ภาษาระดับตา่
Assembly
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาระดับสู ง จะมีวิธกี ารแปลสองประเภท คือ การ
แปลคาสัง่ ทีละคาสัง่ จากนั้นแปลบรรทัดต่อไป ตัวที่แปลภาษาประเภทนี้เราเรียกว่า
“อินเทอร์พรีเตอร์”
โปรแกรมต้ นฉบับ
Interpreter
รหัสภาษาเครื่อง
แปลทีละบรรทัด
ส่วนการแปลคาสัง่ อีกแบบหนึ่ ง เรียกว่า “Compiler” ซึ่งจะมองต้นฉบับ
ทัง้ หมด และแปลให้เป็นภาษาเครื่ อง
โปรแกรมต้ นฉบับ
Compiler
รหัสภาษาเครื่อง
โปรแกรมที่ใช้สง่ั คอมพิวเตอร์ให้ทางาน แบ่งได้ 3 ประเภทได้ดงั นี้
1. โปรแกรมระบบปฏิบตั ิการ ( Operating System )ทาหน้าที่คอยดูแล
ระบบ รวมทัง้ ติดต่อกับฮาร์ดแวร์ตา่ งๆ โปรแกรมระบบปฏิบตั กิ ารที่รูจ้ กั มีดงั นี้
- Windows ,
- DOS
- UNIX
2. โปรแกรมอเนกประสงค์ ( Utility
Program
) เป็ นโปรแกรมที่
ช่วยอานวยความสะดวกให้ผูใ้ ช้ รวมถึงแก้ไขปั ญหาหรื อวิเคราะห์ปัญหา เช่น
- โปรแกรมตรวจสอบความเร็วเครื่ อง -โปรแกรมตรวจสอบเครื่ อง
- โปรแกรมตรวจหาไวรัส
- โปรแกรมบีบข้อมูล
3. โปรแกรมประยุกต์ หรื อซอฟต์แวร์สาเร็จรู ป เป็นโปรแกรมที่พฒั นาขึ้นมา
เพื่อใช้งานเฉพาะด้าน เช่น
- Microsoft Word
- Adobe Photoshop
- My SQL
- Zuma Deluxe
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ โดยที่เราจะให้ได้ผลตามที่เราต้องการนั้น
ผูเ้ ขียนโปรแกรมจะต้องรู ว้ า่ ต้องการให้โปรแกรมทางานอะไร มีขอ้ มูล
อะไรบ้าง และต้องการสิ่งใดจากโปรแกรม ซึ่งขัน้ ตอนในการพัฒนา
โปรแกรมมีดงั ต่อไปนี้
1. กาหนดและวิเคราะห์ปัญหา
2. เขียนผังงานและซูโดโค๊ด
3. เขียนโปรแกรม
4. ทดสอบและแก้ไขโปรแกรม
5. ทาเอกสารและทานุบารุงรักษาโปรแกรม
1.
กาหนดและวิเคราะห์ปัญหา เป็นขัน้ ตอนแรกที่จะต้องทา เพื่อให้มแี นว
ทางแก้ไขปั ญหาที่เหมาะสม
- กาหนดขอบเขตของปั ญหา ก็คือกาหนดรายละเอียดข้อมูลให้ชดั เจน จะ
ให้คอมพิวเตอร์ทาอะไร
- กาหนดลักษณะของข้อมูลเข้า – ออก รู ว้ า่ ข้อมูลนั้นเป็นอย่างไร มี
อะไรบ้าง เช่น รับค่าจากคียบ์ อร์ด รับค่าจากเมาส์ เป็นต้น
- กาหนดวิธกี ารประมวลผล โดยต้องรู ว้ า่ ให้คอมพิวเตอร์ทางานอย่างไร
2.
การเขียนผังงานและซูโดโค๊ด
เมื่อเราวิเคราะห์ปัญหาไปแล้ว ต่อมาเราต้องออกแบบโปรแกรม ซึ่ งจะช่วย
ให้การเขียนโปรแกรมง่ายขึ้น เราอาจเขียนเป็นลาดับขัน้ ตอน หรื อ “อัลกอริ ท่ ึม”
จะแสดงขัน้ ตอนการแก้ปัญหา หรื อเราอาจเขียน เป็นผังงาน (Flowchart) ก็คือ
ใช้สญ
ั ลักษณ์แทนการทางาน
ผังงาน (Flowchart) คือ แผนภาพที่ใช้ออกแบบหรื ออธิบายของโปรแกรมโดย
อาศัยสัญลักษณ์ตา่ งๆควบคูก่ บั ลูกศร
ผังงาน มี 2 ประเภท คือ
1. ผังงานระบบ
แสดงขัน้ ตอนการทางานภายในระบบงานหนึ่ งๆ ที่
เกี่ยวข้องทัง้ หมด กล่าวอย่างกว้างๆ ไม่สามารถเขียนเป็ นโปรแกรมได้
2. ผังงานโปรแกรม แสดงขัน้ ตอนของคาสั่งที่ใช้ในโปรแกรม เช่น รับ
ข้อมูล แสดงข้อมูล ประมวลผล ฯลฯ
สัญลักษณ์ของผังงาน
เริ่ มต้น-จุดจบ
กระบวนการย่อย
รับ-แสดงข้อมูล
ไม่ระบุอุปกรณ์
การตัดสินใจ
การประมวลผล - การคานวณ
แสดงผลทางจอภาพ
จุดเชื่อมต่อของผังงาน
ทิศทางของโปรแกรม
รับข้อมูลทางคียบ์ อร์ด
จุดเชื่อมต่อไปยังหน้าอื่น
ตัวอย่างผังงาน
โปรแกรมหาพื้นที่ส่ เี หลี่ยมผืนผ้า
เริ่ มต้น
รับค่าความกว้าง
รับค่าความยาว
พื้นที่ = ความกว้าง*ความยาว
แสดงพื้นที่
จบ
ซู โดโค๊ด
เป็นคาอธิบายขัน้ ตอนการทางานของโปรแกรม ซึ่งจะต้องให้มคี วาม
ชัดเจน สัน้ เข้าใจง่าย เช่น ซูโดโค๊ดการหาพื้นที่สามเหลี่ยม
เริ่ มต้น
1. รับค่าความยาวของด้านมาเก็บในตัวแปร x
2. รับค่าความยาวฐานมาเก็บที่ตวั แปร Y
3. คานวณพื้นที่โดย area=(x*y)/2
4. แสดงผลพื้นที่
จบ
ตัวอย่างการเขียนซู โดโค๊ดและผังงาน
การบวกเลข 2 จานวน
1. รับค่าทางแป้นพิมพ์ 2 จานวน เก็บไว้ในตัวแปรที่ 1 และ 2 สมมติวา่ เป็น X ,Y
2. คานวณหาผลบวกโดยกาหนดให้ sum = x+y
เริ่ มต้น
3. แสดงผลบวกที่ได้ทางจอภาพ
รับค่า X และ y
Sum=x+y
sum
จบ
ตัวอย่าง การกดเงินจากตู ้ ATM
เริ่ มต้น
1. ใส่บตั ร
2. กดรหัสบัตร ATM
3. ถ้าถูกต้องใส่จานวนเงินและกดยืนยันแต่
ถ้าใส่รหัสผิด ไปที่ขนั้ ตอนที่ 2
คือ ใส่รหัสใหม่อกี ครั้ง
4. รับเงิน
5. หยิบบัตรออกจากตู ้
สิ้นสุ ด
เริ่ มต้น
ใส่บตั ร
ใส่รหัสบัตร
รหัส
ถูกต้อง
เท็จ
จริ ง
ใส่จานวนเงินกดยืนยัน
หยิบเงินออกจากตู ้
หยิบบัตรออกจากตู ้
สิ้นสุ ด
3.
การเขียนโปรแกรม เมื่อผ่านทัง้ สองขัน้ ตอนแล้ว เราจะต้องเขียน
โปรแกรมให้สามารถประมวลผลได้ โดยเปลี่ยนขัน้ ตอนการทางานให้เป็นรหัส
ภาษาคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะต้องทาตามหลักไวยากรณ์ และคานึ งถึงความสามารถ
ของผูเ้ ขียนโปรแกรมด้วย
4.
การทดสอบและแก้ไขโปรแกรม เมื่อเขียนโปรแกรมเสร็จแล้ว ต้องมีการ
ทดสอบ และแก้ไขข้อผิดพลาดให้ถูกต้อง ซึ่งจุดผิดพลาดในโปรแกรม เราเรียกว่า
Bug ส่วนการแก้ไขข้อผิดพลาด เราเรียกว่า Debug ข้อผิดพลาดในโปรแกรมมี 2
ประเภท คือ
1. เขียนคาสั่งไม่ถูกต้องตามหลักการของภาษาโปรแกรมนั้น มักพบตอน
แปลภาษาโปรแกรมเป็นภาษาเครื่ อง
2. ผิดพลาดทางตรรกะ โปรแกรมทางานได้ แต่ผลลัพธ์ไม่ถูกต้อง
5.
ทาเอกสารและบารุงรักษาโปแกรม ช่วยทาให้ผูใ้ ช้โปรแกรมได้อย่างมี
ประสิทธิภาพมากขึ้น โดยทัว่ ไปแบ่งได้ 2 ประเภท คือ
1. คูม่ ือการใช้ (User Guide)
2. คูม่ ือโปรแกรมเมอร์ (Technical Reference)
แนะนาการใช้งาน Dev-C++
ในการเรียนการสอนวิชานี้จะใช้ editor และ compiler ที่รวมกันไว้แล้ว
ภาษาอังกฤษเรียกว่า IDE (Intregal Devenlopment Environment)
ซึ่งเป็ นโปรแกรมที่ออกแบบมาเพื่อช่วยในการสร้างโปรแกรมของผู ท้ ่ จี ะทาการ
เขียนโปรแกรมทางานได้งา่ ยขึ้น