chapter 2 introduction taxation(new)

Download Report

Transcript chapter 2 introduction taxation(new)

เศรษฐศาสตร์ การคลัง: ด้ านรายรับของรัฐบาล
รศ. ดร. สกนธ์ วรัญญูวฒ
ั นา
คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
1
บทนำ
ควำมเข้ำใจพืน้ ฐำนเรือ่ งภำษี
2
3
4
สัดส่ วนรายได้ รัฐบาลต่ อ GDP ปี 2553
ที่มา: สศค.
5
บทนา
 ภาษีเป็ นเครื่ องมือทั้งทางเศรษฐศาสตร์ และทางการเมืองในการ
กากับและบริ หารนโยบายของรัฐ เพราะการเก็บภาษีตอ้ งอาศัย
กลไกทางการเมืองในการสนับสนุนออกเครื่ องมือและวิธีการ
จัดเก็บภาษีกบั ประชาชน
 การออกแบบภาษีต่างๆ ต้องอาศัยทั้งความรู ้ทางเศรษฐศาสตร์
และการยอมรับทางการเมืองในการบังคับใช้ ซึ่งหากไม่
ระมัดระวังอาจส่ งผลต่อเสถียรภาพทางการเมืองได้
6
บทนา
 วิชานี้ จะศึกษาทั้งปั จจัยทางเศรษฐศาสตร์ และปั จจัยเชิ งสถาบัน
อาทิ การเมือง กฎหมาย และทางสังคม ในการบังคับใช้ภาษีกบั
ประชาชน
◦ ศึกษาภาพรวมโครงสร้างภาษีของประเทศไทย
◦ ความหมายของความเป็ นธรรมทางเศรษฐศาสตร์ของภาษีประเภทต่างๆ
◦ ศึกษาความสาคัญของภาษีประเภทต่างๆ และผลที่มีต่อการตัดสิ นใจของ
ประชาชน
7
ควำมหมำยของภำษี

ทำงเศรษฐศำสตร์ ภาษี อากร คือสิง่ ทีภ่ ำครัฐบังคับเก็บจำกประชำชน
เพือ่ ใช้เป็ นประโยชน์สว่ นรวม โดยไม่ได้มสี งิ่ ตอบแทนโดยตรงแก่ผเู้ สีย
ภำษีอำกร หรืออีกควำมหมำย คือ เงินได้หรือทรัพยำกร ทีเ่ คลือ่ นย้ำย
จำกเอกชนไปสูร่ ฐั บำล แต่ไม่รวมถึงกำรกูย้ มื หรือขำยสินค้ำ หรือ
ให้บริกำรในรำคำทุนโดยรัฐบำล วัตถุประสงค์ในกำรเก็บภำษี เพือ่ หำ
รำยได้ให้พอกับค่ำใช้จำ่ ยของรัฐบำล เพือ่ กำรกระจำยรำยได้ เพือ่
ควบคุมกำรบริโภคของประชำชน เพือ่ กำรชำระหนี้สนิ ของรัฐบำล หรือ
สนองนโยบำยธุรกิจ และกำรคลังของรัฐบำล
แหล่งที่มาจาก Wikipedia
8
อัตรำภำษีเฉลีย่ vs. อัตรำภำษีสว่ นเพิม่
Average and marginal tax rates
 หลักพืน
้ ฐำนในกำรกำหนดอัตรำภำษี
 marginal tax rate คือกำรคิดอัตรำภำษี ส่วนเพิม
่
(ร้อยละ) จำกรำยได้หรือฐำนภำษีทเ่ี พิม่ ขึน้
 average tax rate คือกำรคำนวณหำสัดส่วนของภำษี
ทีจ่ ำ่ ยจำกฐำนภำษีรวมทัง้ หมด
9
วิธีการจัดเก็บภาษี

การจัดเก็บภาษีต้องประกอบด้ วย
◦ รายได้ ภาษี = ฐานภาษี X อัตราภาษี

อัตราภาษีมี 3 ประเภท
◦ ก้ าวหน้ า (Progressive Rate) MTR > ATR
◦ สัดส่วนคงที่ (Proportional Rate) MTR = ATR
◦ ถดถอย (Regressive Rate) MTR< ATR
10
ตัวอย่างประเภทอัตราภาษีประเทศไทย (เดิม)
ชัน้ รายได้
อัตราภาษีเพิ่ม
อัตราภาษีเฉลี่ยที่ ณ
ระดับรายได้ ต่าสุด
อัตราภาษีเฉลี่ยที่ ณ
ระดับรายได้ สูงสุด
0-100,000
5%
0%
1%
100,001 – 500,000
10%
1%
8%
500,001 – 1,000,000
20%
8%
14%
1,000,001 – 4,000,000
30%
14%
26%
4,000,001 <
37%
26%
33%
ที่มา: โครงสร้ างภาษี เงินได้ กรมสรรพากร
11

จากตาราง พบว่าโครงสร้ างภาษีเงินได้ ประเทศไทยมีความเป็ น
อัตราก้ าวหน้ า เพราะมี MTR > ATR ในทุกระดับชันรายได้
้
12
ประเภทของภาษี

จาแนกตามภาระที่เกิดขึ้น
◦ ภาษีทางตรง (Direct Tax)
◦ ภาษีทางอ้อม (Indirect Tax)

ประเภทของภาษีสามารถจาแนกได้ตามฐานของการจัดเก็บ โดยทัว่ ไปแบ่ง
ออกได้เป็ น:
◦
◦
◦
◦
◦
ฐานจากการหาเลี้ยงชีพ (Earning base) (ในประเทศกาลังพัฒนามักไม่นิยมใช้)
ฐานจากการหารายได้ (Income Base)
ฐานจากการบริ โภค (Consumption Base)
ฐานจากความมัง่ คัง่ /ทรัพย์สิน (Wealth/Properties Base)
ฐานอื่นๆ
 ภาษีต่อหัว (Poll Tax)
13
ประเภทของฐานภาษี (กรณีประเทศไทย)

ฐานรายได้ (Income Base)
 ภาษี เงินได้ บคุ คลธรรมดา
 ภาษี เงินได้ นิติบคุ คล
 ภาษี เงินได้ ปิโตรเลียม

ฐานการบริโภค (Consumption Base)






ภาษี การใช้ จ่าย (Expenditure Tax)
ภาษี การขาย (Sale Tax)
ภาษี มลู ค่าเพิม่ (Value Added Tax)
ภาษี สรรพสามิต (Excise Taxes) (ภาษี การขายเฉพาะ)
ภาษี การค้ าระหว่างประเทศ (International Trade Taxes)
ฐานทรัพย์สิน (Wealth Base)
◦ ภาษี โรงเรื อนและที่ดิน
◦ ภาษี บารุงท้ องที่
◦ ค่าธรรมเนียมการโอนนิติกรรมที่ดินและอสังหาริมทรัพย์
14
ภำษีอำกรทีด่ คี วรมีลกั ษณะ

มีประสิทธิภำพ (Economic Efficiency) คือไม่ก่อให้เกิดกำรบิดเบือนทำงเศรษฐกิจ
◦ Behavior effects, Financial effects, Organizational effects, General Equilibrium Effects, Announcement Effects

มีควำมเป็ นธรรม (Fairness) ต้องเก็บให้ทวถึ
ั ่ งและเก็บตำมกำลังควำมสำมำรถของผู้
เสียภำษี ตลอดจนพิจำรณำถึงผลประโยชน์ทผ่ี เู้ สียภำษีได้รบั เนื่องจำกกำรดูแล
คุม้ ครองของรัฐบำล
◦ Horizontal vs. Vertical Equity
มีควำมแน่นอน และชัดเจน (Certainty) จะต้องมีควำมชัดเจน ผูเ้ สียภำษีสำมำรถ
เข้ำใจควำมหมำยได้งำ่ ย รูว้ ำ่ ใครบ้ำงจะต้องเสียภำษี เสียเท่ำไร เสียอย่ำงไร และ
อำศัยฐำนอะไร อัตรำเท่ำไร รวมถึงกำรมีนโยบำยทีแ่ น่นอนในกำรจัดเก็บภำษีไม่
เปลีย่ นแปลงบ่อยๆ
 ง่ำยในกำรบริหำร (Administrative Simplicity) มีควำมสะดวกในกำรจัดเก็บ และ
สะดวกในกำรเสียภำษีของผูเ้ สียภำษีดว้ ย
 ตอบสนองทำงกำรเมือง (Political Responsibility) มีควำมโปร่งใส
 มีควำมยืดหยุน
่ (Flexibility) เปลีย่ นแปลงได้งำ่ ยตำมสภำพกำรณ์ของเศรษฐกิจ

15
1.ควำมมีประสิทธิภำพของภำษี (Economic Efficiency)
ผลของภาษีในเชิงพฤติกรรมที่ไม่บิดเบือนการตัดสินใจ เช่นการ
พักผ่อนกับการทางาน การเก็บภาษีกบั การทางานของคูส่ มรส
 ผลต่อการเงิน คือการเลือกการใช้ เงินเพื่อการบริ โภคหรื อการลงทุน
รวมทังประเภทของการลงทุ
้
น เช่นประกันชีวิตกับการฝากเงินกับ
สถาบันการเงิน
 ผลต่อองค์กร เช่นการลงทุนในตลาดหลักทรัพย์หรื อการเก็บเงินสด
ของนิตบิ คุ คล

16
2. ควำมเป็ นธรรมในกำรเก็บภำษี

ควำมเป็ นธรรมของภำษีมนี ยั สำคัญต่อประชำชนผูจ้ ่ำยภำษีทวไป
ั ่ ใน
ทุกๆ ประเทศ ตัวอย่ำง
◦ “poll tax” ในปี 1990 ของอังกฤษ
คำถำมอะไรคือควำมเป็ นธรรมระหว่ำงประชำชน
 กำรวิเครำะห์ควำมเป็ นธรรม (Equity) ในกำรเสียภำษีแตกต่ำงจำก
กำรพิจำรณำควำมมีประสิทธิภำพ เพรำะหำกต้องกำรวัดควำมธรรม
ต้องพิจำรณำ สวัสดิกำรระหว่ำงบุคคล (interpersonal Utility) หลัง
จัดเก็บภำษีทเ่ี ป็ นนำมธรรมซึง่ ทำได้ยำกในทำงปฏิบตั ิ จึงทำให้หนั มำ
นิยมใช้ควำมเป็ นธรรมของรำยได้หรือรำยจ่ำยแทน

17
การวัดความเป็ นธรรมของระบบภาษี
อัตราแท้ จริ ง กับอัตราที่กาหนด Effective vs. statutory rates
เป็ นควำมแตกต่ำงทีส่ ำคัญระหว่ำงอัตรำภำษีทก่ี ำหนดตำมกฎหมำยหรือ
ระเบียบกำรจัดเก็บ กับอัตรำภำษีทผ่ี จู้ ำ่ ยรับภำระทีแ่ ท้จริง
 อัตราทีก่ าหนด Statutory tax rates คืออัตรำภำษีทถ
่ี กู ระบุไว้ใน
กฎหมำยหรือระเบียบกำรจัดเก็บ เช่นอัตรำภำษีเงินได้ขนั ้ ต่ำกำหนดที่
ร้อยละ 10 ของเงินได้สทุ ธิ และเพิม่ จนถึงขัน้ สูงสุดทีร่ อ้ ยละ 37
 อัตราภาษี ทีแ่ ท้จริง Effective tax rates คืออัตรำภำษีทผ
่ี เู้ ป็ นเจ้ำของ
เงินได้จำ่ ยจริง

◦ อัตรำภำษีทงั ้ สองประเภทแตกต่ำงกัน เพรำะมีกำรยกเว้น ลดหย่อนในกำรเสีย
ภำษี ทำให้ลดขนำดของฐำนภำษีทแ่ี ท้จริงลง
18
ความเป็ นธรรมของระบบภาษี:
Vertical and horizontal equity

Vertical equity is the principle that groups with more
resources should pay higher taxes than groups with fewer
resources.
◦ Could be motivated by utilitarian Social Welfare Function,
that calls for redistribution.

Horizontal equity is the principle that similar individuals
who make different economic choices should be treated
similarly by the tax system.
◦ In reality, horizontal inequities are hard to define, because the
person endogenously made a choice to earn more or less.
19
ความเป็ นธรรมแนวนอน (Horizontal Equity)
หากบุคคลมีความเหมือนกันไม่วา่ พิจารณาจากแง่ใดๆ ก็ต้องได้ รับการ
ปฏิบตั ิที่เหมือนกันทุกประการ
 ปั ญหา: อะไรคือความเหมือนกันทุกประการ

◦
◦
◦
◦
เชื ้อชาติ อายุ เพศ ฯลฯ
รสนิยม
การบริโภค
ต้ นทุนเสียโอกาส
20
ความเสมภาคแนวดิ่ง (Vertical Equity)
หากบุคคลมีความแตกต่างกัน ดังนันจ
้ านวนภาษีที่ต้องเสียย่อม
แตกต่างกัน
 เป็ นการเสียภาษี ตามหลัก ความสามารถในการจ่าย
(Ability-to-Pay)
 ปั ญหา: การวัดความแตกต่างระหว่างบุคคลทาได้ ด้วยฐานคิด
อะไร

◦ การบริโภค นาไปสูป่ ระเด็นการส่งเสริมการออม C+S = Y
◦ รายได้
◦ รายได้ ตลอดชัว่ อายุขยั (Lifetime Income)
21
รายได้ตลอดชัว่ อายุขยั (Lifetime Income)
Y* = W0 + W1/(1+r)
ซึง่ หากไม่มีการกู้ยืมหรื อการออม
Y* = C0 + C1/(1+r)
22
ทางเลือกในการวัดความไม่เท่าเทียมแนวตัง้
การวัดจากผลประโยชน์ที่ได้ รับ (Benefit Approach)
 เป็ นการเลือกใช้ ระดับผลประโยชน์แทนการพิจารณาจากการ
บริโภค ที่มีข้อจากัดของประเภทการบริโภคที่สะท้ อนต้ นทุนเสีย
โอกาสที่วดั ได้ ยาก โดยหันมาพิจารณาจากการได้ ประโยชน์แทน
 โดยเฉพาะกรณีที่เป็ นสินค้ าสาธารณะ

23
การวัดความเป็ นธรรมของระบบภาษี :
การวัด vertical equity
วิธกี ำรวัดควำมเท่ำเทียมแนวตัง้ ทำได้โดย
 ภำษีอตั รำก้ำวหน้ำ progressive tax system is one in which effective
average tax rates rise with income.
 ภำษีอตั รำแบบสัดส่วน proportional tax system is one in which
effective average rates do not change with income, so that
everyone pays the same proportion of their income in taxes.
 ภำษีอตั รำถดถอย regressive tax system is one in which effective
average tax rates fall with income.

24
25
ควำมง่ำยในกำรบริหำร (Administrative Simplicity)

ต้ นทุนในการเสียภาษี
◦ ต้ นทุนทางตรง (Direct Cost) คือต้ นทุนหน่วยงานในการจัดเก็บภาษี
◦ ต้ นทุนทางอ้ อม (Indirect Cost) คือต้ นทุนของผู้เสียภาษี
 ต้ นทุนในการทาบัญชี และเก็บรวบรวมเอกสารต่างๆ

ความยุง่ ยากหรื อต้ นทุนการเสียภาษีเกิดจาก
◦ ความยุง่ ยากโครงสร้ างภาษี อัตราที่มีหลายอัตรา หรื อการมีรายการยกเว้ น
ลดหย่อนมากในโครงสร้ างภาษี
◦ ต้ นทุนในการรวบรวมข้ อมูลที่เกี่ยวข้ องกับการเสียภาษี ระบบ IT
26
ตอบสนองทำงกำรเมือง (Political Responsibility)
ความโปร่งใสของการจัดเก็บภาษี การที่สามารถตรวจสอบได้
 การมีธรรมาภิบาลในการเก็บภาษี

27
ความคล่องตัว (flexibility)
กลไกที่เป็ น Automatic Stabilizer
 ความสามารถในการตอบสนองต่อความผันผวนได้ ทน
ั ท่วงที
 การตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงอัตราภาษี กบ
ั การยอมรับทาง
การเมือง

28
ภาษีจากการหาเลี้ยงชีพ (earning Tax)
payroll tax คือภาษีที่เรี ยกเก็บจากรายได้จาก
การทางานของบุคคล
 มักเรี ยกว่า
29
ภาษีจากเงินได้บุคคลธรรมดา
 เป็ นการจัดเก็บภาษีจากรายได้ประเภทต่างๆ ที่แต่ละ
บุคคลสามารถหามาได้ ประกอบด้วย
 ภาษีบุคคลธรรมดา Individual income tax คือภาษีที่เก็บ
จากรายได้ของบุคคลธรรมดาที่ได้รับสะสมตลอด
ช่วงเวลาหนึ่ง (หนึ่งปี )
◦ ตัวอย่าง เช่น รายได้จากดอกเบี้ย เงินปันผลจากการลงทุน
 ภาษี Capital gains คือรายได้ส่วนเพิ่มจากการถือ
สิ นทรัพย์
◦ ตัวอย่าง หุน้ พันธบัตร บ้าน ที่ดิน ฯลฯ
30
ภาษีเงินได้นิติบุคคล
 ภาษีเงินได้นิติบุคคล corporate income tax เก็บจากการ
รายได้/กาไรจากการประกอบการของบริ ษทั หรื อนิติบุคคล
◦ เหตุผลในการเก็บภาษีเงินได้นิติบุคคล เพราะหากไม่มีการจัดเก็บ
ผลกาไรของบริ ษทั /นิติบุคคลของผูท้ ี่เป็ นเจ้าของบริ ษทั จะไม่ถูก
เรี ยกเก็บภาษีเลย
31
ภำษีเก็บจำกควำมมังคั
่ ง่
 เป็ นภำษีทเ่ี ก็บจำกกำรสะสมควำมมังคั
่ งของประชำชน
่
 Wealth taxes เก็บจำกมูลค่ำของทรัพย์สน
ิ ทีถ่ อื โดย
ประชำชนหรือครอบครัว
◦ ตัวอย่ำง เช่นทีด่ นิ อำคำรโรงเรือนต่ำงๆ หุน้
 ภาษี ทรัพย์สิน เป็ นตัวอย่างทีด
่ ีของภาษี ในกลุ่มนี้
Property taxes ในหลำยประเทศมีกำรจัดเก็บจำก
มูลค่ำของทีด่ นิ อำคำรทีต่ งั ้ อยูบ่ นทีด่ นิ
32
ภาษี จากการบริโภค
ถือเป็ นภาษี ที่มีการใช้ที่แพร่หลายมากที่สดุ ในทุกๆ ประเทศ มีกร
ใช้อยู่หลายประเภทด้วยกัน ได้แก่
 ภาษี การบริโภค Consumption tax เป็ นภาษี ที่จด
ั เก็บจากการจ่าย
เพื่อการบริโภคสินค้า/บริการของประชาชนหรือครัวเรือน ตัวอย่าง
ภาษี มลู ค่าเพิ่ม ภาษี การค้า
 ภาษี การขาย Sales taxes เป็ นภาษี ที่จ่ายโดยผูบ
้ ริโภคให้แก่ผขู้ าย
ณ จุดที่มีการขาย
 ภาษี สรรพสามิต excise tax เป็ นภาษี ที่จ่ายโดยผูบ
้ ริโภคจากการ
บริโภคสินค้า/บริการบางประเภทที่มีการกาหนดไว้ เช่นบุหรี่ สุรา
สถานบันเทิง ฯลฯ

33
ประเภทของภำษี
 Payroll, income, and wealth taxes เรียกว่ำภำษี
ทำงตรง เพรำะเป็ นกำรเรียกเก็บจำกความเป็ นเจ้าของ
ทรัพยำกรทีอ่ ยูใ่ นมือของประชำชนโดยตรง
 Consumption taxes เรียกว่ำภำษีทำงอ้อม เพรำะเป็ น
กำรเรียกเก็บจำกการใช้ทรัพยากรของผูเ้ สียภำษีแทนทีจ่ ะ
เป็ นกำรเก็บจำกขนำดควำมเป็ นเจ้ำของทรัพยำกร
34
35
36
Source: IMF
37
ความเท่าเทียมของภาษี กบั มิติทางการเมือง
นักวิชำกำรเห็นพ้องว่ำควำมไม่เท่ำเทียมแนวตัง้ จะทำได้ตอ้ งมี
กำรจัดเก็บภำษีในอัตรำแบบก้ำวหน้ำ
 แต่นก
ั กำรเมืองมักเห็นว่ำควำมเท่ำเทียมจะต้องเลือกหรือ
เป็ นไปตำมวำระทำงกำรเมือง
 แต่นก
ั เศรษฐศำสตร์เห็นว่ำควรใช้สวัสดิกำรของระหว่ำงบุคคล

38