คลิกที่นี่ - บริหารการศึกษา รุ่น 15

Download Report

Transcript คลิกที่นี่ - บริหารการศึกษา รุ่น 15

Balanced Scorecard (BSC)
เทคนิคการประเมิน
ประสิ ทธิภาพขององค์ กร
ศึกษาศาสตร์ การบริหารการศึกษา กลุ่มที่ 8
มหาวิทยาลัยรามคาแหง
สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติจังหวัดศรีสะเกษ
ความหมายของ Balanced Scorecard (BSC)
Balanced Scorecard (BSC) Kaplan และ Norton ได้ให้
นิยามล่าสุ ดของ Balanced Scorecard ไว้วา่ “เป็ น
เครื่ องมือทางด้านการจัดการที่ช่วยในการนากลยุท์
ไปสู่การปฏิบตั ิ (Strategic Implementation) โดยอาศัย
การวัดหรื อประเมิน (Measurement) ที่จะช่วยทาให้
องคกรเกิดความสอดคล้องเป็ นอันหนึ่งอันเดียวกัน
และมุ่งเน้นในสิ่ งที่มีความสาคัญต่อความสาเร็ จขององคกร
(Alignment and focused) ”
ความหมายของ Balanced Scorecard (BSC)
 บัณฑูร ล่าซา ให้ความหมายไว้วา่ “Balance
scorecard คือเครื่ องมือการบริ หารจัดการในเชิง
สมดุล”
 สุ วฒ
ั น ศิรินิรันดร กล่าวว่า “Balance scorecard เป็ น
เครื่ องมือที่ใช้ในการบริ หารจัดการในการแปลง
วิสยั ทัศน แผนกลยุท์ขององคกรไปสู่ การปฏิบตั ิ
เป็ นเครื่ องมือในการปรับปรุ ง พัฒนากลไกภายใน
องคกร
สรุ ปความหมายของ Balanced Scorecard (BSC)
 คือระบบหรื อกระบวนการในการบริ หารงานชนิด
หนึ่งที่อาศัยการกาหนดตัวชี้วดั (Key Performance
Indicators : KPI) เป็ นกลไกลสาคัญ เพื่อเป็ น
ตัวชี้วดั ถึงเป้ าหมายและใช้วดั ผลการดาเนินงาน
BSC เป็ นเครื่ องมือที่ช่วยในการแปลงวิสยั ทัศน
แผนกลยุท์ขององคกรไปสู่การปฏิบตั ิ ถือว่าเป็ น
ปัจจัยสาคัญต่อความสาเร็ จ
ความเป็ นมา Balanced Scorecard (BSC)
 แนวคิดแบบ Balanced Scorecard เกิดจาก
Professor Robert Kaplan อาจารยประจา
มหาวิทยาลัย Harvard และ Dr. David Norton ที่
ปรึ กษาทางด้านการจัดการ
Robert
David
โดยทั้งสองได้ศึกษาและสารวจถึงสาเหตุของ
การที่ตลาดหุน้ ของอเมริ กาประสบปัญหาในปี 1987
และพบว่าองคกรส่ วนใหญ่ในอเมริ กานิยมใช้แต่
ตัวชี้วดั ด้านการเงินเป็ นหลัก
ทั้งสองจึงได้เสนอแนวคิดในเรื่ องของการ
ประเมินผลองคกร โดยพิจารณาตัวชี้วดั ในสี่ มุมมอง
(Perspectives) แทนการพิจารณาเฉพาะ
มุมมองด้านการเงินเพียงอย่างเดียว
มุมมองทั้ง 4 ด้านของ Balanced Scorecard
ด้ านการเงิน
(Financial
Perspective)
ลูกค้ า/ผู้รับบริการ
(Customer
Perspective)
Balanced
Scorecard
ด้ านการเรียนรู้ และ
การเจริญเติบโต
(Learning and
Growth Perspective)
ด้ านกระบวนการภายใน
(Internal Process
Perspective)
มุมมองทุกด้ านจะมีวสิ ั ยทัศน์ และกลยุทธ์
ขององค์ กรเป็ นศูนย์ กลางในแต่ ละด้ าน
ประกอบด้ วย 4 องค์ ประกอบ คือ
1. วัตถุประสงค (Objective) คือสิ่ งที่องคกร
มุ่งหวังหรื อต้องการที่จะบรรลุในแต่ละด้าน
2. ตัวชี้วดั (Measures หรื อ Key Performance
Indicators) คือ ตัวชี้วดั ของวัตถุประสงคในแต่ละ
ด้าน และตัวชี้วดั เหล่านี้จะเป็ นเครื่ องมือที่ใช้ในการ
วัดว่าองคกรบรรลุวตั ถุประสงคในแต่ละด้าน
หรื อไม่
3. เป้ าหมาย (Target) คือ เป้ าหมายหรื อตัว
เลขที่องคกรต้องการจะบรรลุในตัวชี้วดั แต่ละ
ประการ
4. แผนงาน โครงการ หรื อ กิจกรรม (Initiatives)
ที่องคกรจะจัดทาเพื่อบรรลุเป้ าหมายที่กาหนด
ขึ้น โดยในขั้นนี้ยงั ไม่ใช่แผนปฏิบตั ิการที่จะทา
แต่เป็ นเพียงแผนงาน โครงการ หรื อกิจกรรม
เบื้องต้นที่ตอ้ งทาเพื่อบรรลุเป้ าหมายที่ตอ้ งการ
แนวคิดพืน้ ฐานเกีย่ วกับ
Balanced Scorecard
1. Balanced Scorecard เป็ นเครื่ องมือทางด้านการ
จัดการที่ช่วยในการนากลยุท์ไปสู่ การปฏิบตั ิ
(Strategic Implementation) และเป็ นเครื่ องมือใน
การวัด และประเมินผลองคกร โดยอาศัยการวัดหรื อ
ประเมิน (Measurement) ที่จะช่วยทาให้องคกรเกิดความ
สอดคล้อง เป็ นอันหนึ่งอันเดียวกัน และมุ่งเน้นในสิ่ งที่มี
ความสาคัญต่อความสาเร็ จขององคกร (Alignment and focused)
2. Balanced Scorecard ในฐานะเครื่องมือที่
ช่ วยในการนากลยุทธ์ ไปสู่ การปฏิบัติ
เป็ นเครื่ องมือที่ช่วยในการนากลยุท์ไปสู่
การปฏิบตั ิ ซึ่งในปัจจุบันพบว่ าจุดอ่ อนที่สาคัญ
ของผู้บริหารส่ วนใหญ่ ไม่ ได้ อยู่ทกี่ ารวางแผน
หรือการจัดทากลยุทธ์ แต่ อยู่ทคี่ วามสามารถใน
การนากลยุทธ์ ทไี่ ด้ กาหนดขึน้ ไปสู่ การปฏิบัติ
อย่ างมีประสิ ทธิภาพและประสิ ทธิผล
3. Balanced Scorecard ในฐานะเครื่องมือ
ในการประเมินผลองค์ กร
การประเมินผลองคกรไม่สามารถใช้แต่ตวั ชี้วดั
ทางการเงินได้เพียงอย่างเดียว ผูบ้ ริ หารต้อง
พิจารณามุมมองอื่น ๆ
หลักการเกี่ยวกับ BSC
หน้ าทีท่ างการบริหารของผู้บริหารองค์ กรต้ อง
ประกอบด้ วยหลักการ ดังนี้
1. การวางแผน (Planning)
2. การจัดองคกร (Organizing)
3. การจัดคนเข้าทางาน (Staffing)
4. การสัง่ การ (Directing)
5. การควบคุม (Controlling)
การบริหารเชิงกลยุทธ์ โดยใช้ BSC
มีกลยุทธ์ หลักทีส่ าคัญ 5 ประการ
1. Mobilize ผูน้ าสูงสุ ดขององคกรจะต้องเป็ นผูน้ า
ในการจุดชนวนความคิด เคลื่อนพลให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลง
2. Translate มีการถ่ายทอดแปลความหมาย ผ่าน
เครื่ องมือสาคัญที่เรี ยกว่า แผนที่กลยุท์ เพื่อให้
การบริ หารจัดการในองคกรมีการเชื่อมโยงกัน
ได้
3. Alignment ทาให้หน่วยงานมีการ
ผสมผสานกันเป็ นหนึ่งเดียวหรื อ
ความรู ้สึกความรักต่อองคกร
4. Motivate มีแรงกระตุน้ ดลใจ ให้
ทุกคนทาตามเป้ าหมายขององคกร
5. Govern ดูแลให้ทุกอย่างที่ทา
มาแล้วมีการดาเนินอย่างต่อเนื่อง
ขั้นตอนในการจัดทา Balanced Scorecard
1. การวิเคราะหจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาสและ
อุปสรรค (Swot Analysis) ขององคกรเพื่อให้
ทราบถึงสถานะ พื้นฐานขององคกร
2. การพัฒนาวิสยั ทัศน (Vision) ขององคกร
ผูบ้ ริ หารจะมีวสิ ยั ทัศนแตกต่างกันไปขึ้นอยูก่ บั
ความรู้ ความสามารถ และประสบการณของ
ผูบ้ ริ หาร
3. การกาหนดมุมมอง (Perspective) ด้านต่าง ๆ ที่
จะเป็ นตัวชี้วดั ความสาเร็ จในการดาเนินกิจการ
มุมมองของแต่ละกิจการ จะแตกต่างกันทั้งนี้
ขึ้นอยูก่ บั พื้นฐานของการดาเนินกิจการ
4. การกาหนดกลยุท์ (Strategy) และ
วัตถุประสงค (Objective) ในมุมมองด้านต่าง ๆ
โดยเรี ยงลาดับความสาคัญ เพื่อบรรลุวิสยั ทัศน
ขององคกร
5. การจัดทาแผนกลยุท์เพื่อทดสอบความสัมพัน์
ระหว่างกลยุท์และวัตถุประสงคด้านต่าง ๆ ใน
ลักษณะของเหตุและผล เพื่อสร้างเป็ นแผนที่ทาง
กลยุท์ (Strategy Map)
6. การกาหนดตัวชี้วดั (Key Performance Indicators :
KPIs) และเป้ าหมาย (Target) สาหรับแต่ละมุมมอง
พร้อมทั้งเรี ยงลาดับความสาคัญ
7. การจัดทาแผนปฏิบตั ิการ (Action Plan)
แนวทางการนา Balanced Scorecard มาใช้ ให้ เกิดผลสาเร็จ
 ผูบ
้ ริ หารระดับสู งถือเป็ นปัจจัยสาคัญที่สุดในการนา BSC มา
ใช้ให้เกิดผลสาเร็ จ ผูบ้ ริ หารต้องมีความเข้าใจและมีทศั นคติที
ดี
 การบริ หารการเปลี่ยนแปลง การนา BSC มาใช้เกิดผลจะต้อง
นาแนวคิดในเรื่ องการเปลี่ยนแปลงเข้ามาใช้ร่วมด้วย
 การนา BSC มาใช้ตอ้ งเน้นที่ความเร็ ว เรี ยบง่าย ต่อเนื่อง
 การผูกผลของ BSC กับสิ่ งที่จูงใจบุคลากร
 BSC ถือเป็ นเครื่ องมือทางกลยุท์
ประโยชน์ ทไี่ ด้ จากการนา Balanced Scorecard ไปใช้
1.ช่วยให้ผลการดาเนินงานขององคกรดีข้ ึน
2.ทาให้ท้ งั องคกรมุ่งเน้น และ ให้ความสาคัญต่อ
กลยุท์ขององคกร โดยต้องให้เจ้าหน้าที่ท้ งั
องคกรให้ความสาคัญกับกลยุท์ขององคกร
มากขึ้น และเป็ นเครื่ องมือหนึ่งที่ช่วยในการนา
กลยุท์ไปสู่การปฏิบตั ิ
3.ช่วยในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
และวัฒน์รรมขององคกรโดยอาศัยการกาหนด
ตัวชี้วดั และเป้ าหมายเป็ นเครื่ องมือในการ
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของเจ้าหน้าที่
4. ทาให้พนักงานเกิดการรับรู้และเข้าใจว่างานแต่
ละอย่างมีที่มาที่ไปอีกทั้งผลของงาน
BSC กับระบบราชการ
ตัวแบบประยุกตของ BSC ที่ปรับใช้กบั ส่ วนราชการไทย
ผู้มสี ่ วนเกีย่ วข้ องภายนอกองค์ การ
ประชาชนผู้รับบริการ,นักวิชาการ,
หน่ วยงานราชการและรัฐวิสาหกิจ
,รัฐบาล
ผู้มสี ่ วนได้ เสี ยประโยชน์
องค์ ประกอบภายในองค์ การ
ความรู้ ความสามารถของบุคลากร,ทักษะ
จริยธรรม,ขวัญและกาลังใจ
กระบวนการทางาน,
วัฒนธรรมขององค์ กร
นวัตกรรม
งานวิจัยทีส่ ามารถนาไปใช้ ประโยชน์ ,
การพัฒนาระบบงาน, การสร้ างเครือข่ าย
,ระบบการตรวจค้ นข้ อมูล
ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
การเงิน
ความประหยัด,ความมีประสิ ทธิภาพ,
ความคุ้มค่ าของการใช้ ทรัพยากร
การใช้ งบประมาณให้ ตรงตาม
วัตถุประสงค์
การตรวจสอบป้องกันการรั่วไหล
การป้ องกันการทุจริต
และประพฤติมชิ อบ
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.)
ได้แบ่งมุมมอง (Perspective) ด้านการจัดการศึกษา
ออกเป็ น 4 มุมมอง คือ
1. มุมมองด้านนักเรี ยน ( Student ) โดยเน้นที่โอกาสการได้รับ
บริ การการศึกษาจบหลักสูตร คุณภาพตามหลักสูตร การ
เป็ นบุคคลแห่งการเรี ยนรู ้
2. มุมมองด้านกระบวนการภายใน ( Internal Process ) โดย
เน้นด้านรู ปแบบการจัดการศึกษา เครื อข่ายที่เข้าร่ วม การ
พัฒนาหลักสูตร การเป็ นบุคคลแห่งการเรี ยนรู้
3. มุมมองด้านการเรี ยนรู้และเจริ ญเติบโต ( Learning and
Growth ) โดยเน้นความสามารถของบุคลากรตาม
มาตรฐานวิชาชีพ ระบบ ICT เพื่อการบริ หาร วัฒน์รรม
ค่านิยม
4. มุมมองด้านงบประมาณและทรัพยากร ( Budget and
Resource ) โดยเน้นด้านความเพียงพอของทรัพยากรและ
เหมาะสม การบริ หารทรัพยากรที่มีประสิ ท์ิภาพ
การใช้ แนวคิด BSC ในการประเมินองค์ กรสถานศึกษา
มุมมองด้านนักเรี ยน (Student) โดยเน้นที่โอกาสการได้รับการ
บริ การการศึกษาจบหลักสูตร
 มุมมองด้านกระบวนการภายใน (Internal Process) โดยเน้นด้าน
รู ปแบบการจัดการศึกษา
 มุมมองด้านการเรี ยนรู ้และเจริ ญเติบโต (Learning and Growth)
โดยเน้นความสามารถของบุคลากรตามมาตรฐานวิชาชีพ
 มุมมองด้านงบประมาณและทรัพยากร (Budget and Resource)
โดยเน้นด้านความพอเพียงของทรัพยากรและเหมาะสม

จบการนาเสนอ