********** AET 352741 ****************** (Agricultural Community

Download Report

Transcript ********** AET 352741 ****************** (Agricultural Community

กระบวนวิชา 352323 การพัฒนาชุมชนและ
การพัฒนาการเกษตร
(Community and Agricultural
1
่
บทที่ 1 ความเข้าใจเกียวกั
บการ
พัฒนา
1. ความเป็ นมาของการ
พัฒนา
2. ความหมายของการพัฒนา
3. ปร ัชญาการพัฒนา
4. ทฤษฎีการพัฒนา
่ วั้ ดการพัฒนา
5. เครืองชี
Assoc.Prof.Dr.Suraphol Sreshthaputra
2
1. ความเป็ นมาของการพัฒนา
- การวิวฒ
ั นาการ (Evolution)
- การพัฒนาการทาการเกษตร
Hunting-Gathering-SelectingDomestication-Cultivation
- แนวคิดของ Plato และ Aristotle (427-347
B.C.)
- การปฏิวต
ั อิ ต
ุ สาหกรรมของยุโรป ค.ศ.ที่ 19
- การปฏิวต
ั เิ ขียว (Green Revolution)
Assoc.Prof.Dr.Suraphol
Sreshthaputra
3
2. ความหมาย
พิจารณาในรู ปแบบของสาขาวิชาต่าง ๆ
่
2.1 ความหมายโดยทัวไป
2.2 ความหมายในทางเศรษฐศาสตร ์
2.3 ความหมายในทางสังคม
2.4 ความหมายในทางระบบนิ เวศ
2.5 ความหมายในทางพัฒนาชนบทและ
พัฒนาเกษตร
่ ความหมายใกล้เคียงกัน
่ ๆ ทีมี
2.6 คาอืน
Assoc.Prof.Dr.Suraphol Sreshthaputra
4
- ก า ร พั ฒ น า ห ม า ย ถึ ง ค ว า ม
เจริญกา้ วหน้า โดยทั่วๆ ไป เช่น การ
พั2.1
ฒ นาหน่
ว ยงานชุม ชนหรือ ประเทศ
ความหมาย
คืโดยทั
อ การทวไป
่ าสิ่งเหล่านั้ นใหด้ ีขึน้ เจริญ
ขึ ้ น ส น อ ง ค ว า ม ต ้ อ ง ก า ร ข อ ง
ป ร ะ ช า ช น ส่ ว นใ ห ญ่ ดี ยิ่ ง ขึ ้ น
- การพัฒ นา เป็ นกระบวนการของ
่
่ น่าพอใจ
การเคลือนไหวจากสภาพที
ไม่
่ าพอใจ เป็ นกระบวนการ
ไปสู่สภาพทีน่
่ ยนแปลงอยู
่
ทีเปลี
เ่ สมอไม่หยุดนิ่ ง
Assoc.Prof.Dr.Suraphol
Sreshthaputra
5
ก า ร พั ฒ น า ห ม า ย ถึ ง
ก ร ะ บ ว น ก า ร พั ฒ น า ท า ง
เศรษฐกิจ อย่า งเป็ นระบบ มี
ประสิท ธิภ าพในการที่จะเพิ่ม
รายได ้ เฉลี่ยต่อ หัว และความ
มั่ น ค ง ท า ง ก า ร เ งิ น โ ด ย
คานึ งถึงความเสมอภาค การ
ก ร ะ จ า ย ร า ยไ ด ้ แ ล ะ ค ว า ม
ยุตธิ รรม
Assoc.Prof.Dr.Suraphol Sreshthaputra
6
การพัฒนา หมายถึง การ
่ า
่
งคมทีน
เปลียนแปลงทางสั
ความคิดใหม่ ๆ หรือเทคโนโลยี
่ า
เข ้ามาไว ้ในระบบสังคม เพือท
ให ้รายได ้ต่อหัวและระดับการ
ดารงชีวต
ิ สูงขึน้ โดยใช ้การผลิต
่ นสมัย และเพือปร
่
ทีทั
ับปรุง
ระเบียบองค ์กรทางสังคม
Assoc.Prof.Dr.Suraphol Sreshthaputra
7
ทางด้านระบบนิ เวศ
่
การเปลียนแปลงของผลผลิ
ตที่
่ นอย่
้
เพิมขึ
างมั่นคงหรือสมดุล
พอดีกบ
ั ความต ้องการของ
ประชากร โดยสภาพแวดล ้อมไม่
่
เปลียนแปลงหรื
อทรุดโทรม และมี
ประสิทธิภาพในการผลิตอย่าง
่
เพียงพอเพือสนองความต
้องการ
ในอนาคต
Assoc.Prof.Dr.Suraphol Sreshthaputra
8
ความหมายใกล้เคียง
กัน
การปฏิวต
ั ิ (Revolution)
่
เป็ นการเปลียนแปลงใน
่ ว
ด ้านการพัฒนาการเกษตรทีเร็
ขึน้ โดยมีมนุ ษย ์เข ้ามามีบทบาท
ในการพัฒนา เช่น การปฏิวต
ั ิ
เขียว (Green Revolution)
Assoc.Prof.Dr.Suraphol Sreshthaputra
9
่ นในระยะเวลาที
้
่ าหนด แล ้วแสดง
เพิมขึ
ก
่
้น
คุณสมบัตอิ อกมา โดยการเพิมของมวลนั
่
ไม่ได ้คานึ งถึงประสิทธิภาพของการเพิมแต่
อย่าง
ใด
ความทันสมัย
(Modernization)
เป็ นกระบวนการทางวิทยาศาสตร ์ใหม่ ๆ
่ ญแล ้ว แพร่ไปสู่
ด ้านชีวต
ิ มนุ ษย ์จากแหล่งทีเจริ
่ ้าหลัง
แหล่งทีล
Assoc.Prof.Dr.Suraphol Sreshthaputra
10
้
แนวความคิดเบืองต้
นของ
ความหมายของการพั
ฒ
นา
การพัฒนา
(Development)
 ก า ร พั ฒ น า ห ม า ย ถึ ง ก า ร
เ จ ริ ญ เ ติ บโ ต เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง แ ล ะ
้
ก ้าวหน้าอย่างมีระบบทังในรู
ปธรรม
คื อ สิ่ ง ที่ เ ห็ น เ ป็ น รู ป ร่ า ง แ ล ะ
นามธรรมคื อ สิ่งที่ บัง เกิด เป็ นผล
ทางใจหรือทางความรู ้สึกนึ กคิด ซึง่
Assoc.Prof.Dr.Suraphol Sreshthaputra
11
ความหมายของการพัฒนา
(Development)
่ ่
 เป็ นสิงทีมีผลกระทบต่อเราทุกคนไม่ว่าทางใดก็
ทางหนึ่ ง
ไม่ใช่เพียงปัจเจกชนแต่ละคนที่
้
ต อ้ งการยกระดับ ของตนเองให ด
้ ีขึนเท่
า นั้ น
เป้ าหมายของการพัฒนา (Development) ที่
สูงสุดคือ “การยกระดับคุณภาพชีวต
ิ ของทุ ก
้ ดังนั้นจึงควรพยายาม
คนใหม้ ม
ี าตรฐานสูงขึน”
่ าใหก้ ารพัฒนาบรรลุเป้ าหมายในทิศทาง
ทีจะท
่
้
่
Assoc.Prof.Dr.Suraphol
Sreshthaputra
12
ความหมายของการพัฒนา
(Development)
่
 การพัฒนาตามแนวคิดของ การเปลียนแปลงไป
่ ขนกว่
ในทางทีดี
ึ้
าเดิม (Change for the
่
้นจะต ้องมีเกณฑ ์
better) โดยการเปลียนแปลงนั
กาหนดแนวทางของการพัฒนาและการพัฒนา
นั้นๆจะต ้องจาเป็ นหรือเป็ นไปตามความปรารถนา
ของบุคคลในสังคมนั้นด ้วย
Assoc.Prof.Dr.Suraphol Sreshthaputra
13
ความหมายของการพัฒนา (De
่
 ซึงจากความหมายดั
งกล่าว
การพัฒนา
(Development) อาจจะมีความหมายครอบคุลม
่
ไปถึงคาว่า “การเปลียนแปลง”
(Change) และ
่
่
“ทิศทาง” (Direction) ซึงการเปลี
ยนแปลง
่ ยวกันเมือ
่
หมายถึงความแตกต่างในของสิงเดี
เปรียบเทียบต่างเวลากัน
และทิศทาง
หมายถึง
่ ้องการไปสู่
จุดหมายเป้ าหมาย หรือวัตถุประสงค ์ทีต
่ ศทางจึงเป็ นสิงที
่ ต
่ ้องมีการ
หรือต ้องการบรรลุ Assoc.Prof.Dr.Suraphol
ซึงทิ
้ ้ล่วงหน้าSreshthaputra
กาหนดขึนไว
นั่นคือ จะต ้องมีการวางแผน14
ความหมายของการพัฒนา
(Development)
 การพัฒนาตามแนวความคิดของ
่
Seers (1969) หมายถึงการเพิม
ปั จจัยในทุก ๆ หน่ วยงานของการ
พัฒนาเศรษฐกิจ
รวมถึงการ
ระดมทร พ
ั ยากรและวิ ท ยาการ
ใหม่ ๆ เพื่ อเสริม สร า
้ งสิ่ งบริก าร
่ านวยความสะดวก
และสิงอ
อีก
้ งเป็ นการกระจายปั จจัย หรือ
ทังยั
Assoc.Prof.Dr.Suraphol Sreshthaputra
้
่ ่
15
3.ปร ัชญาการพัฒนา
ปร ัชญา เป็ นการศึกษาหาความรู ้ความ
้ ้านวัตถุและ
เข ้าใจในชีวต
ิ ส่วนตัวและสังคม ทังด
จิตใจ จากจุดเล็ก คือ ตัวเราแผ่ออกไปถึงโลก
และจักรวาล
ปร ัชญาการพัฒนาความร่วมมือร่วมใจ
ของคนในสมัย โดยมีแรงกระตุ ้นจากภายนอก
่ อให ้เกิดการเปลียนแปลงภายใต
่
เพือก่
้สภาวะที่
เหมาะสม อันนาไปสูก
่ ารอยูร่ ว่ มกันอย่างผาสุข
ในสังคม
Assoc.Prof.Dr.Suraphol Sreshthaputra
16
ปร ัชญาการพัฒนา
ชุมชน
ศร ัทธาในตัวคน ว่าคน
่ คณ
เป็ นทร ัพยากรทีมี
ุ ค่า
(Human Resource)
่
ศร ัทธาในเรืองความยุ
ตธิ รรม
้ บ
(Social Justice)ตังอยู
่ น
้
พืนฐานของการร
ักษาหรือ
Assoc.Prof.Dr.Suraphol Sreshthaputra
17
่
การเปลียนแปลง
(Change)
่
เป็ นการเปลียนแปลงสภาพของสิ
ง่
่
ใด ๆ โดยทัวไป
ไม่เจาะจงว่าเป็ นแบบวิธ ี
่
ใดหรือทิศทางใด เป็ นการเปลียนแปลง
้
ทังบวกและลบ
Assoc.Prof.Dr.Suraphol Sreshthaputra
18
-การพัฒนาตนเอง การช่วยเหลือ
ตนเอง (Self Help)
- การสมัครใจมีสว่ นร่วม (Voluntary
Participation)
- ความเสมอภาคและการกระจาย
(Equity and Distribution)
- คุณภาพของชีวต
ิ (Quality of Life)
Assoc.Prof.Dr.Suraphol Sreshthaputra
19
เกษตร
การผลิตด ้านการเกษตร
้ บ
อย่างเป็ นระบบโดยตังอยู
่ น
้
่ นของ
พืนฐานของความยั
งยื
่
้อม สามารถ
ทร ัพยากรสิงแวดล
่ าเป็ นในการ
ผลิตอาหารและสิงจ
่
้
ดารงชีวต
ิ เพือพอเลี
ยงประชากร
้
อย่างเพียงพอ ทังในปั
จจุบน
ั และ
อนาคต
Assoc.Prof.Dr.Suraphol Sreshthaputra
20
ทฤษฎีการพัฒนา
ทฤษฎีความล ้าหลังทางวัฒนธรรม
(Cultural Lag)
่ อนไหวได
่
วัฒนธรรมเป็ นพลังงานทีเคลื
้ด ้วยตัวเอง มี
่ นวัตถุ
2 ประเภท ได ้แก่ วัฒนธรรมทีเป็
และ
่ ใช่วต
วัฒนธรรมทีไม่
ั ถุหรือความคิด (Idea)
วัฒนธรรมทางวัตถุจะถูกยอมร ับก่อน
่ ใช่วต
ั ถุ
วัฒนธรรมทีไม่
Assoc.Prof.Dr.Suraphol Sreshthaputra
21
ทฤษฎีมนุ ษย ์นิ เวศ (Human
Ecology Theory)
้
รูปแบบของชุมชนจะขึนอยู
ก
่ บั ความสัมพันธ ์
่ ่อาศัย หรือสิงแวดล
่
ระหว่างมนุ ษย ์กับทีอยู
้อม ส่วน
้
่
วัฒนธรรมจะถูกสร ้างขึนโดยสั
งคมย่อย ๆ ซึงมี
้
้
พืนฐานขึ
นอยู
่กบั ความสัมพันธ ์ระหว่าง มนุ ษย ์ พืช
สัตว ์ และสภาพแวดล ้อม
Assoc.Prof.Dr.Suraphol Sreshthaputra
22
วัฒนธรรมใหม่ หรือ นวัตกรรม
่
นวัตกรรมทีจะยอมร
ับได ้ง่ายมีลก
ั ษณะ
ดังนี ้
่ นเข ้า
1. ได ้ประโยชน์มากกว่าของเดิมทีมั
มาแทนที่
2. สอดคล ้องกับวัฒนธรรมทีร่ ับ
3. ไม่มค
ี วามสลับซ ับซ ้อนมาก
้ั
4. สามารถแบ่งทดลองครงละน้
อยได ้
5. สามารถมองเห็นหรือเข ้าใจได ้ง่าย
Assoc.Prof.Dr.Suraphol Sreshthaputra
23
“It is not the strongest
species that
survive...Nor the most
intelligence, but the
one most responsive to
change ..”
่
่
งทีสุ่ ดทีจะอยู
่
“ไม่ใช่เผ่าพันธุ ์ทีแกร่
Suraphol Sreshthaputra, CMU
24
รอด...
Theory)
เป็ นทฤษฎีของ Charles Darwin
่ ชวี ต
่
“สิงมี
ิ เกิดจากแบบชีวต
ิ ทีมี
โครงสร ้างง่าย วิวฒ
ั นาการไปสูแ่ บบ
่ โครงสร ้างสลับซ ับซ ้อนมากขึน้
ชีวต
ิ ทีมี
่
โดยใช ้ระยะเวลายาวนาน เพือความอยู
่
รอดในสภาพแวดล ้อมใหม่”
Assoc.Prof.Dr.Suraphol Sreshthaputra
25
วัฒนธรรม
(Cultural Diffusion Theory)
่
้
การเปลียนแปลงทางสั
งคมเกิดขึนจาก
การแพร่กระจายทางวัฒนธรรม โดยการ
่
่
ติดต่อสือสารระหว่
างกัน การเปลียนแปลง
่ ้ร ับวัฒนธรรม
ทางสังคมนั้นมีมาก เมือได
่
จากภายนอกเข ้ามามากว่าทีจะเกิ
ดจาก
วัฒนธรรมภายในเอง
Assoc.Prof.Dr.Suraphol Sreshthaputra
26
พัฒนา (Voluntary
Participation)
เป็ นทฤษฎีทก่
ี่ อให ้เกิดความร่วมมือร่วมใจ
ของ ประชาชนในการพัฒนา โดยถือว่า
้
ประชาชนจะต ้องมีสว่ นร่วมในทุกขันตอนของ
่
การพัฒนา เป็ นทฤษฎีทท
ี่ าให ้เกิดการพึงพา
่ น ทฤษฎีนียั
้ ง
ตนเอง เป็ นการพัฒนาแบบยังยื
แบ่งย่อยออกไปอีกมาก เช่น ทฤษฎีการสร ้าง
ขวัญและกาลังใจ ทฤษฎีการปลุกระดม ทฤษฎี
การสร ้างผูน้ า เป็ นต ้น
Assoc.Prof.Dr.Suraphol Sreshthaputra
27
้ ม (Traditional
1.ระบบเศรษฐกิจสังคมแบบดังเดิ
Society)
้
2.ขันเตรี
ยมการพัฒนา (Precondition on for
Take-off)
้
3.ขันเข
้าสูก
่ ระบวนการพัฒนา (Take-off
Stage)
้
้าสูส
่ ภาวะของความอุดมสมบูรณ์
4.ขันทะยานเข
(Drive-to Maturity)
้ ดมสมบูรณ์ (Stage of High Mass
5.ขันอุ
Consumption)
Assoc.Prof.Dr.Suraphol Sreshthaputra
28
ทันสมัยในเชิงการผลิตการลงทุน เน้นการพัฒนาทางวัตถุเป็ น
สาคัญ
้ เพราะเป็
้
่ งใจทาให ้เกิดความเคลือนไหวใน
่
ทังนี
นสิงจู
3 รูปแบบ
คือ
่
1.การเคลือนไหวทางกายภาพ
คือ เน้นการพัฒนาด ้าน
วัตถุ
่
2.การเคลือนไหวทางจิ
ต เช่น ค่านิ ยม ความรู ้สึกนึ กคิด
่ ้าวไกล
ทีก
่
3.การเคลือนไหวทางสั
งคมหรือเศรษฐกิจ เช่น
การศึกษา รายได ้
่
่
ความทันสมัยทีสมบู
รณ์ จะต ้องมีทง้ั 3 ประการเคลือนไหว
พร ้อม ๆ กัน
Assoc.Prof.Dr.Suraphol Sreshthaputra
29
ต ัวชีว ัดการพัฒนาอิงสิงแวดล้อม
ได้แก่
การใช ้คุณสมบัตข
ิ องระบบนิ เวศโดยรวม
เรียกว่า “System Properties” โดยพิจารณาปัจจัย
่ เข ้าไปในระบบและผลผลิต (Outputs)
(Inputs) ทีใส่
่
่
ทีออกมานอกระบบแล
้วศึกษาและวัดการเปลียนแปลง
ของระบบ นั่นคือวัด
1. ผลิตภาพ (Productivity)
2. เสถียรภาพ (Stability)
3. ความเสมอภาค (Equitability)
่ น (Sustainability)
4. ความยังยื
Assoc.Prof.Dr.Suraphol Sreshthaputra
30
(Trickledown Effect Theory)
้ แนวคิดว่า
ทฤษฎีนีมี
คนในสังคมมีหลายระดับแต่ละระดับมี
ความสามารถในการร ับการพัฒนาได ้ไม่เท่ากัน
่ ทร ัพยากรอยู่อย่างจากัด หากนาเอกมา
ในขณะทีมี
่ ้เท่า ๆ กัน แล ้วประโยชน์ทเกิ
้
แบ่งเฉลียให
ี่ ดขึนในสั
งคม
่ ความพร ้อมจะไปได ้เร็วกว่า เช่น
จะมีไม่เท่ากัน คนทีมี
่
่ ้วจึงจะกระจายสูช
คนรวย เมือผลการพั
ฒนาเต็มทีแล
่ น
้ั
ชนกลางและยากจนในระยะต่
อมา
Assoc.Prof.Dr.Suraphol Sreshthaputra
31
ตัวชีวด
ั การพัฒนาอิงเศรษฐกิจสังคม ได ้แก่
่ อหัว (Per Capita Income)
1.รายได ้เฉลียต่
2.ผลิตภัณฑ ์รวมของชาติ (Gross Domestic
Products)
3.จานวนประชากรวัยทางาน (Productive
Employment)
4.ความเสมอภาคในการกระจายของการได ้ร ับ
สวัสดิการของร ัฐ
่
5.อัตราการเพิมของประชากร
----------------------------------------------Assoc.Prof.Dr.Suraphol Sreshthaputra
32
่
้
เครืองชี
วัดในการพั
ฒนา
่ อหัว (Per Capita
1.รายได ้เฉลียต่
Income)
Assoc.Prof.Dr.Suraphol Sreshthaputra
33
3.จานวนประชากร จังหวัดเชียงใหม่ 1,670,317 คน (พ.ศ.
2551) (อันดับที่ 5)
ภาค
จังหวัด
เส้นความยากจน (บาท/คน/เดือน)
2543 2545 2547 2549 2550
ภาคเหนื อ
สัดส่วนคนจน (ร ้อยละ)
2543
2545
2547
2549
2550
เชียงใหม่
1,06 1,132 1,156 1,320 1,394 17.86 23.28 20.76 8.80
9.00
ลาพู น
1,04 1,107 1,170 1,320 1,378 10.02 11.17 8.95
4.05
ลาปาง
1,03 1,091 1,152 1,282 1,365 23.69 32.74 14.06 9.44
14.56
อุตรดิตถ ์
1,02 1,079 1,124 1,261 1,312 13.18 13.17 11.68 5.25
9.82
แพร่
1,03 1,090 1,142 1,273 1,337 25.99 22.67 8.19
น่ าน
1,00 1,058 Assoc.Prof.Dr.Suraphol
1,133 1,224 1,272 21.89 31.85 12.59 19.29 20.21
Sreshthaputra
4.66
11.37 10.54
34
ประชากรไว้ดงั นี
อายุ 1-14 ปี เรียกว่า วัยเด็ก
อายุ 15-60 หรือ 65 ปี เรียกว่า ว ัยทางาน
้
อายุ 65 ปี ขึนไป
เรียกว่า ว ัยชรา
อายุของประชากรจะแสดงให้เห็นถึงสัดส่วนของ
่ นภาระพึงพิ
่ ง) ซึง่
ประชากรว่าอยู ่ในวัยเด็ก วัยชรา(ว ัยทีเป็
่ งคมจะต้องเลียงดู
้
เป็ นภาระทีสั
จานวนเท่าไหร่และมี
่ ่ในว ัยทางานจานวนเท่าไหร่ ประเทศทีมี
่
ประชากรทีอยู
่ ่ในว ัยทางานมาก จะได้เปรียบกว่า
จานวนประชากรทีอยู
่ ประชากร จานวนน้อยในว ัยทางาน ประเทศ
ประเทศทีมี
่
กาลังพัฒนามักจะมีอ ัตราการเพิมของประชากรสู
ง ทาให้
่
้
มีภาระทีจะต้
องเลียงดู
ประชากรในว ัยเด็กเป็ นจานวนมาก
่ นปั ญหาของประเทศทีจะต้
่
ซึงเป็
องแก้ไขก ันต่อไป
Assoc.Prof.Dr.Suraphol Sreshthaputra
35