บทที่ 4 การเกษตร (Agriculture) - Econ and Extens

Download Report

Transcript บทที่ 4 การเกษตร (Agriculture) - Econ and Extens

AET 323
การพัฒนาชุ มชนและการพัฒนาการเกษตร
(Community and Agricultural Development)
บทที่ 4 การเกษตร(Agriculture)
รศ.ดร.สุ รพล
เศรษฐบุตร
Suraphol
Sreshthaputra
ภาควิชาส่ งเสริมและเผยแพร่ การเกษตรคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
1
จุดกาเนิดการเกษตร
สาเหตุทมี่ นุษย์ เริ่มทาการเกษตร
- จานวนประชากรมนุษย์ เพิม่ มากขึน้
- การทาการเกษตรถือเป็ นความสาเร็จ
ของมนุษย์ ในยุคแรก (ยุค Neolithic ประมาณ 12,000
5,000 BC.)
- การทาการเกษตรให้ ความมั่นคง (Security) และความ
ร่ วมมือกัน (Sociability)
- การทาการเกษตรเป็ นการหลีกเลีย่ งความหิวโหย
Suraphol Sreshthaputra
–
2
ความหมายของการเกษตร
(Agriculture)
มาจากภาษาลาติ น Agri
+
Culture
Agri
หมายถึ ง Field หรื อ ทุ่ ง กว้ า ง
Culture หมายถึง Cultivation การเขตกรรม
การเกษตร หมายถึง การปลูกพืช (Domesticated Plant)
และการเลีย้ งสั ตว์ (Domesticated Animal) เพือ่ ใช้ ในการ
ด ารงชี วิ ต โดยมนุ ษ ย์ มี บ ทบาทที่ ส าคั ญ ในการด าเนิ น
กิจกรรม
Suraphol Sreshthaputra
3
Cultivation เ ป็ น ก ร ะ บ ว น ก า ร ป ลู ก ข ย า ย พั น ธุ์
ปรั บ ปรุ ง พั น ธุ์ และการดู แ ลรั ก ษาที่ ผ่ า นกระบวนการ
“Domestication” มาแล้ ว หรื อเป็ นกระบวนการสร้ าง
แวดล้ อมใหม่ ซึ่งเปลีย่ นไปจากสภาพแวดล้ อมเดิมในป่ า
Suraphol Sreshthaputra
4
วัตถุประสงค์ ของการทาการเกษตร
1) มีความแตกต่ างกันตั้งแต่ ระดับเกษตรกร ถึง ระดับชาติ
ระดับเกษตรกร
- เพือ่ ยังชีพ - เพือ่ รายได้ – เพือ่ สภาพแวดล้อม
ระดับชาติ
- เพือ่ มีอาหารพอเลีย้ งประชากร – เพือ่ ส่ งออกนารายได้ เข้ าประเทศ
Suraphol Sreshthaputra
5
ระดับชาติ- เพือ่ มีอาหารพอเลีย้ งประชากร – เพือ่ ส่ งออกนารายได้ เข้ าประเทศ
Suraphol Sreshthaputra
6
วัตถุประสงค์ ของการทาการเกษตร
2) มีความแตกต่ างกันในช่ วงเวลา จากอดีตถึงปัจจุบัน
 อดีต - เพือ่ ยังชีพ เพือ่ แลกเปลีย่ นสิ นค้ า เพือ่ รายได้
 ปัจจุบัน - เพือ่ รายได้ เพือ่ สภาพแวดล้อมที่ยั่งยืน
- เพือ่ สภาพแวดล้อมและเศรษฐกิจพอเพียง
3) มีความแตกต่ างกันในด้ านของผู้รับประโยชน์
 ผู้รับประโยชน์ - เป็ นเกษตรกร เพือ่ ยังชีพ รายได้
- เป็ นรัฐบาล เพือ่ ส่ งออก เพือ่ การมีงานทา
- เป็ นเจ้ าของโรงงาน
เพือ่ วัตถุดิบ
Suraphol Sreshthaputra
7
อดีต
- เพือ่ ยังชีพ เพือ่ แลกเปลีย่ นสิ นค้ า เพือ่ รายได้
Suraphol Sreshthaputra
8
วัตถุประสงค์ ของการทาการเกษตร
4) มีความแตกต่ างในรูปแบบการทาการเกษตร
การเกษตรพื้นบ้าน
- เพื่อยังชีพ - เพื่อออม -เพื่อเป็ นปุ๋ ย เพื่อพิธีกรรม- เพื่อสิ่ งจาเป็ นอื่น ๆ
การเกษตรสมัยใหม่ - เพื่อเงินสด –เพื่อคุณภาพชีวิต เพื่อคุณค่า
ทางเศรษฐกิจ
การเกษตรยัง่ ยืน
- เพื่อรักษาสภาพแวดล้อม - เพื่อลดความ
เสี่ ยงจากความเสี ยหายจากภัยธรรมชาติ - เพื่อความสมดุ ลของ
ระบบนิเวศ เพื่อเศรษฐกิจพอเพียง
Suraphol Sreshthaputra
9
ลักษณะธรรมชาติของการเกษตร
การเกษตรเป็ นวิทยาศาสตร์
เป็ นวิทยาศาสตร์ประยุกต์
เป็ นสหสาขาวิชา
(Multi-disciplinary)
เป็ นระบบนิเวศ (Ecosystem)
หรื อเรี ยกว่า ระบบเกษตรนิเวศ “Agroecosystem”
หมายถึง ระบบเกษตรนิเวศที่มีการทาการเกษตรเป็ น
วัตถุประสงค์หลัก
Suraphol Sreshthaputra
10
คุณสมบัตโิ ดยรวมของการเกษตร (System Property)
ผลิตภาพ (Productivity) หรื อ ความสามารถในการผลิตวัดจาก
ผลผลิตของระบบนั้น
เสถียรภาพ (Stability) ความมัน่ คงของผลผลิตที่มีผลจากการ
เปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม
เสมอภาค (Equitability) การกระจายของผลผลิต รายได้
ความยัง่ ยืน (Sustainability) ความสามารถของระบบที่ยงั รักษา
ระดับของผลผลิต
Suraphol Sreshthaputra
11
ผลกระทบจากมนุษย์ ต่อการเกษตร
 ปั จ จั ย ทางสั ง คมและการเมื อ ง เช่ น ระบบเหมื อ งฝาย
ระบบการถื อ ครองที่ ดิ น มรดก ระบบทางการเมื อ งที่
สามารถแก้ ไขกฎระเบียบ ราคาตลาดโลกกับการระดม
ทรัพยากรในการผลิต
 ปัจจัยทางวัฒนธรรม เช่ น รสชาติอาหารกับวัฒนธรรม
รู ปแบบการเกษตรกับวัฒนธรรม ระดับชั้นทางสั งคมกับ
ผู้ทาการเกษตร
Suraphol Sreshthaputra
12
ปัจจัยความก้ าวหน้ าทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
มีการนาพัฒนาด้านการผลิต มีการเชื่ อมโยงใช้พลังงานร่ วมกัน
(Synergy) ทางานร่ วมกันระหว่างสถาบันมีเครื อข่ายการส่ งเสริ ม
และพัฒนา ทาให้ประสิ ทธิ ภาพการผลิตเปลี่ยนแปลง คุณสมบัติ
ของระบบเกษตรเปลี่ยนแปลง
ปัจจัยทางเศรษฐกิจการเงิน
 ความต้องการของตลาดมีผลต่อการเร่ งระดมในการผลิต เกิด
การผลิตในเชิงธุรกิจ
Suraphol Sreshthaputra
13
วิวฒ
ั นาการทางการเกษตร (แบ่ งตามยุค 4 ยุค คือ)
 การเกษตรยุคก่ อนประวัตศิ าสตร์
 การเกษตรยุคประวัตศิ าสตร์ ถึง ยุคโรมันเรืองอานาจ
(ยุคการเช่ าทีด่ นิ ทาการเกษตร)
 ยุคการใช้ วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี (ยุคการปฏิวตั ิ
เขียว)
Suraphol Sreshthaputra
14
วิวฒ
ั นาการทางการเกษตร
แบ่ งตามวัตถุประสงค์
ขั้นที่ 1 การทาการเกษตรเพือ่ ยังชีพ (Subsistence)
ขั้นที่ 2 การทาการเกษตรเพือ่ เงินสด (Cash) หรือ ยุคการใช้
วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี (ยุคการปฏิวตั เิ ขียว)
ขั้นที่ 3 การทาการเกษตรเพือ่ สภาพแวดล้ อม
(Environment)
Suraphol Sreshthaputra
15
ขั้นที่ 1 การทาการเกษตรเพือ่ ยังชีพ Subsistence)
Suraphol Sreshthaputra
16
Suraphol Sreshthaputra
17
Suraphol Sreshthaputra
18
ขั้นที่ 2 การทาการเกษตรเพือ่ เงินสด (Cash) หรือ ยุคการใช้ วิทยาศาสตร์ และ
เทคโนโลยี (ยุคการปฏิวตั ิเขียว)
Suraphol Sreshthaputra
19
Suraphol Sreshthaputra
20
วิวฒ
ั นาการ และ การปฎิวตั ิทางการเกษตร
(Agricultural Evolution / Revolution )
Suraphol Sreshthaputra
21
Welcome to the Agricultural Revolution
WASHINGTON STATE UNIVERSITY
Technology Necessary for Agriculture
The techniques for gathering or harvesting cereal crops, shown above left in a
tomb painting of New Kingdom Egypt and below right in photograph of a modern Egyptian
farmer, remind us how precious a commodity grain was to early civilizations. Grain was dearly
bought with human sweat and diligence and strict social organization. Most cultures quite
naturally came to associate the main crops that sustained their existence with the substance
of life itself, either worshipping those plants or seeing them as symbols of the power of life.
Pottery
In the photo above, an Egyptian woman fashions a bowl out of
rings of clay-- probably the oldest way of making pottery. At
right, an Egyptian craftsman fashions a large container using
the next level of technological development--a potter's wheel,
which he moves with his foot. Technology as basic as the
potter's wheel allowed early humans to enjoy the first fruits of
mass production
The discovery of techniques for turning plant and animal fibers into cloth
represented a revolutionary improvement in the quality of human life. Weaving
may have preceded agriculture, as it grew naturally out of basketry and the
weaving of reed mats. Life in sedentary agricultural villages permitted the
refinement of ancient techniques and the adoption of more complex looms, as
shown
above.
วิวฒ
ั นาการของสั งคม
มนุษย์ มีววิ ฒ
ั นาการมากกว่ า 50 ล้านปี มีการพัฒนาทีเ่ ริ่มจาก
Animal Homo sapiens ( อาศัยในถา้ ,เร่ ร่อน , ล่าสั ตว์ ฯลฯ)
การแบ่ งช่ วงวิวฒ
ั นาการ
ทีม่ า: อ.ศรายุทธ ตรีรัตน์ มหาวิทยาลัยแม่ โจ้ วิทยาเขตแพร่ (ตั้งแต่ หน้ า 27-32)
Agriculture History and It’s Revolution
Suraphol Sreshthaputra
http://www.phrae.mju.ac.th/cirriculum/web_Agricultural/Lisson1.html
27
วิวฒ
ั นาการของการเกษตร
Agriculture History and It’s Revolution
ในช่ วงยุคสมัยของการเกษตรแบ่ งเป็ น 3 ยุค คือ
1.
ยุคเริ่มแรก 2. ยุคปฏิวตั กิ ารเกษตรกรรม 3. ยุคการปฏิวตั เิ ขียว
Suraphol Sreshthaputra
28
1. ยุคเริ่มแรก
- ตะวันออกกลาง , เอเชีย , ยุโรป , อเมริกา , แอฟริกา , หมู่เกาะ มหาสมุทร
แปซิฟิก
- ล่าสั ตว์ หาของป่ า - การเกษตรเพือ่ ยังชีพ
- พันธุ์พชื กระจายไปตามการย้ ายถิ่นฐาน
- ทาการปลูกพืชตามลุ่มนา้ เลีย้ งสั ตว์ ตามทุ่งหญ้ าป่ าเขา.
2.ยุคปฏิวตั กิ ารเกษตรกรรม
-ปลูกพืชพันธุ์ใหม่ -ปลูกพืชหมุนเวียน ทาการเกษตรผสมผสาน
-ปลูกเพือ่ การค้ า เช่ น พืชอาหารต่ างๆ
-ใช้ เครื่องจักรกลการเกษตร Suraphol
-ใช้Sreshthaputra
สารเคมี
29
3. ยุคการปฏิวตั เิ ขียว
 ใช้ พนั ธุ์พชื และสั ตว์ ทใี่ ห้ ผลผลิตสู ง เช่ น ข้ าวโพดพันธุ์ลูกผสม
,Hybrid rice หรือ Super rice
 การใช้ เทคโนโลยีชีวภาพ การตัดต่ อทางพันธุกรรม ฉายรังสี
เช่ น ข้ าวโพด BT , ถั่วเหลืองที่ทนต่ อกรัมม๊ อคโซน , ข้ าวพันธุ์
กข.6 และ กข.15 ที่เกิดจากการฉายรังสี แกมม่ า
 การใช้ เครื่องมือทางการเกษตรทีท่ ันสมัย
 การใช้ สารเคมี ปุ๋ ยเคมีทมี่ ีประสิ ทธิภาพ
Suraphol Sreshthaputra
30
ผลของการปฏิวตั ิเขียว
 เพิม่ ปริมาณพืชอาหาร เอาชนะความ
อดอยาก
 สั งคมเริ่มเปลีย่ นเป็ นระบบอุตสาหกรรมเกษตร และทุนนิยม
 ส่ งผลกระทบต่ อสภาพแวดล้ อม
 และจะย้ อนกลับมายังระบบการเกษตรทีเ่ กือ้ กูล เช่ น เกษตร
อินทรีย์ เกษตรธรรมชาติ การใช้ จุลลินทรีย์ทเี่ ป็ นประโยชน์ เช่ น
E.M., Tricoderma ฯ
Suraphol Sreshthaputra
31
การเกษตรของประเทศไทย
 ประเทศไทยเริ่มต้ นด้ วยระบบเศรษฐกิจเกษตร
 จากหลักฐานทางโบราณคดีพบว่ าประเทศไทยมีการทา การเกษตรมา
นานประมาณ 7,000 ปี ถึง 9,000 ปี ก่อนคริสต์ กาล
 จากหลักฐานเมล็ดพันธุ์พชื และรูปวาดเมล็ดพืชพวกข้ าว ทีจ่ ังหวัด
แม่ ฮ่องสอน และอุดรธานี
 " ความเจริญเดินตามรอยไถ" (Civilizations follow the plough)
 " เงินทองเป็ นของมายา ข้ าวปลาเป็ นของจริง "
 " ในนา้ มีปลา ในนามีข้าว "
Suraphol Sreshthaputra
32