การผลิ

Download Report

Transcript การผลิ

เสนอ...คุณครู วญั ชลี ด่านพนัง
วิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี ง43101(งานเกษตร)
การผลิตพืชโดยใช้ เทคโนโลยีชีวภาพ
พืชดัดแปลงพันธุกรรม
(genetically modified plant หรือ transgenic plant)
ไปเมนูหลัก
หัวข้อหลัก
• หน้าแรก
• แหล่งที่มา
• ความหมายของเทคโนโลยีชีวภาพ
• ประโยชน์ของเทคโนโลยีชีวภาพ
• พืชดัดแปลงพันธุกรรม คืออะไร
• คุณลักษณะของพืช
• วิธีการทาพืชจีเอ็มโอ
• ตัวอย่างพืชดัดแปลงพันธุกรรม
• เทคนิคทางพันธุวศิ วกรรมพืช
• ประโยชน์และโทษของพืช GMO
• พืชดัดแปลงพันธุกรรมกับความปลอดภัย
• รายชื่อผูจ้ ดั ทา
วอลนัท
ข้าวโพด
สตรอเบอร์รี่
มันฝรั่ง
แอปเปิ้ ล
ถัว่ เหลือง
มะเขือเทศ
ฝ้ าย
ความหมายของเทคโนโลยีชีวภาพ
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology) คือ เทคโนโลยีที่เกิดจากการนาเอาสิ่ งมีชีวติ หรื อ
ชิ้นส่ วนของสิ่ งมีชีวติ มาพัฒนา เพื่อก่อให้เกิดกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางเคมีและทางชีวภาพ
ส่ งผลให้เกิดกระบวนการสร้าง กระบวนการทาลาย หรื อการก่อให้เกิดสิ่ งใหม่ข้ ึน เป็ นการสร้าง
ประโยชน์ให้แก่ มนุษย์
งานด้านเทคโนโลยีชีวภาพเป็ นงานที่มีความเกี่ยวพันกับสิ่ งมีชีวติ โดยตรง เพราะมีส่วน
เกี่ยวข้องกับกระบวนการทางชีวเคมีต่างๆที่ดาเนินอยูใ่ นสิ่ งมีชีวติ ซึ่ งกระบวนการ ทางชีวเคมีที่
เกิดขึ้นภายในเซลล์ของสิ่ งมีชีวติ เป็ นผลมาจากการทางานของสารพันธุกรรม หรื อดีเอ็นเอ และ
หน่วยพันธุกรรมหรื อยีน การศึกษางานด้านเทคโนโลยีชีวภาพจึงต้องอาศัยความรู ้พ้ืนฐาน
เกี่ยวกับสารพันธุกรรม และพฤติกรรมของสารพันธุกรรม รวมทั้งวิธีการสาคัญต่างๆที่มีส่วน
เกี่ยวข้องกับกระบวนการด้านเทคโนโลยีชีวภาพเพื่อการ นาไปใช้อย่างมีประสิ ทธิภาพ
ไปเมนูหลัก
ประโยชนของเทคโนโลยี
ชว
ี ภาพ
์
ในปัจจุบนั เทคโนโลยีชีวภาพได้ถกู นามาใช้ประโยชน์ในด้าน
ต่างๆ ได้แก่
-การแพทย์และเภสัชกรรม
-เกษตรกรรม
-อุตสาหกรรม
-พลังงานและสิ่ งแวดล้อม
โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อลดปริ มาณการใช้สารเคมี เพื่อเพิม่ พื้นที่
เพาะปลูก เพื่อเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร เพื่อคิดค้นอาหารทีใ่ ห้คุณค่าทาง
โภชนาการสู งขึ้น เพื่อคิดค้นตัวยาป้ องกันและรักษาโรค เป็ นต้น
ไปเมนูหลัก
พืชดัดแปลงพันธุกรรม คืออะไร
พืชดัดแปลงพันธุกรรม คือพืชที่ผา่ นกระบวนการทางพันธุวศิ วกรรม
เพื่อให้มีลกั ษณะตามต้องการถือเป็ นสิ่ งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรมหรื อจี เอ็ม
โอ (GMOs – Genetically Modified Organisms)ชนิดหนึ่ง เพื่อให้
สิ่ งมีชีวติ เหล่านี้มีคุณสมบัติหรื อคุณลักษณะที่จาเพาะเจาะจงตามที่เราต้องการ
เช่นมีความต้านทานต่อแมลงศัตรู พืช คงทนต่อสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม
หรื อมีการเพิ่มขึ้นของสารโภชนาการ ชีวโมเลกุลบางชนิด เช่นวิตามิน
โปรตีน ไขมัน เป็ นต้น
จีเอ็มโอ ไม่ใช่สารปนเปื้ อนและไม่ใช่สารเคมี แต่จีเอ็มโอคือสิ่ งมีชีวติ ที่เป็ น
ผลพวงของเทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม่ ซึ่ งเกิดจากความตั้งใจของนักวิทยาศาสตร์ที่จะ
ปรับปรุ งพันธุ์ให้มีคุณสมบัติที่ดีตามที่ตอ้ งการ
ไปเมนูหลัก
คุณลักษณะของพืช
1. พืชมีรูปแบบการเจริ ญเติบโตที่แน่นอน ง่ายต่อการติดตาม
2. พืชปรับตัวเมื่อต้องเผชิญกับสภาวะแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป
3. พืชเป็ นสิ่ งมีชีวติ ที่สามารถสร้างอาหารเองได้ และเป็ นแหล่งอาหารของคน และสัตว์
4. พืชมีคุณสมบัติในการเจริ ญเติบโตเป็ นต้นใหม่ได้จากเนื้อเยือ่ หรื อจากเซลล์เพียงเซลล์เดียวได้
5. พืชสามารถผสมตัวเองได้ เมื่อต้นพืช heterozygous ตรงที่ตาแหน่งยีนที่เกิดการกลายพันธุ์
เมื่อมีการผสมตัวเอง ประชากรรุ่ นลูกที่ได้จะประกอบด้วยต้นที่เหมือนกับต้นพ่อแม่ ต้นที่เป็ น
homozygous ตรงตาแหน่งยีนที่กลายพันธุ์ และต้นที่เป็ น heterozygous สามารถที่จะหา
ตาแหน่งที่เกิดการกลาย และทาให้ทราบตาแหน่งของยีนกลายพันธุ์ ซึ่ งสามารถนาไปใช้
ประโยชน์ในการถ่ายฝากยีนหรื อการจาแนกยีนด้วยเทคนิค insertion mutation ทาให้การ
โยกย้ายถ่ายเทพันธุกรรมทาได้สะดวก
ไปเมนูหลัก
วิธีการทาพืชจีเอ็มโอ
วิธีการทา GMO มี 2 ขั้นตอนดังนี้
1. เจาะจงโดยการค้นหายีนตัวใหม่หรื อจะใช้ยนี ที่เป็ น TRAITS (มีคุณลักษณะ
แฝง) ก็ได้ ตามที่เราต้องการ ยีนตัวนี้อาจจะมาจากพืช สัตว์ หรื อจุลินทรี ยก์ ไ็ ด้
2. นาเอายีนจากข้อที่ 1. ถ่ายทอดเข้าไปอยูใ่ นโครโมโซมของเซลล์ใหม่ ซึ่ งทาได้ 2
วิธีหลัก ดังนี้
2.1 ใช้ จุลนิ ทรีย์ เรี ยกว่า Agro-Bacterium
2.2 ใช้ ปืนยีน (GENE GUN)
ไปเมนูหลัก
เทคนิคทางพันธุวิศวกรรมพืช
ไปเมนูหลัก
ตัวอย่างพืชดัดแปลงพันธุกรรม
วอลนัท
หลังจากที่ทาการตัดต่อทางพันธุกรรมแล้ว จึงทาให้เมล็ดวอลนัทนั้นมี
คุณสมบัติที่ดีข้ ึนคือ
1. เมล็ดวอลนัทแข็งขึ้น
2. ทนทานต่อโรค
ไปเมนูหลัก
ตัวอย่างพืชดัดแปลงพันธุกรรม
สตรอเบอร์รี่
การตัดต่อทางพันธุกรรม (GMO) ส่ งผล
ให้ สตรอเบอร์รี่
1. เน่าช้าลง ทาให้สะดวกต่อการขนส่ ง
2. เพิม่ สารอาหาร
ไปเมนูหลัก
ตัวอย่างพืชดัดแปลงพันธุกรม
แอปเปิ้ ล
ผลของการตัดต่อทางพันธุกรรมที่มีต่อ แอปเปิ ล คือ
1. ทาให้ความสดและกรอบของผลมีระยะเวลานานขึ้น
(delay ripening)
2. ทนต่อแมลงต่างๆ ที่เป็ นศัตรู พืช
ไปเมนูหลัก
ตัวอย่างพืชดัดแปลงพันธุกรรม
มะเขือเทศ
ลักษณะที่ดีข้ ึนของ มะเขือเทศ หลังจาก
ที่ทาการตัดต่อทางพันธุกรรมแล้วมี
ดังนี้
1. ทนทานต่อโรคมากขึ้น
2. เพิ่มความแข็งของเนื้อมะเขือเทศมาก
ขึ้น ทาให้ลดปั ญหา
ผลผลิต
เสี ยหายขณะขนส่ ง
3. ผลผลิตที่ได้จากการเก็บเกี่ยวจะเกิด
การเน่าเสี ยช้าลง
ไปเมนูหลัก
ตัวอย่างพืชดัดแปลงพันธุกรรม
ข้าวโพด
ข้าวโพดนับว่าเป็ นพืชทางเศรษฐกิจ
อีกชนิดหนึ่งที่เรานามาทาการตัดต่อทาง
พันธุกรรม โดยการตัดต่อยีนของแบคทีเรี ยที่ชื่อ
ว่า Bacillus thuringiensis เข้าไปในยีนของ
เมล็ดข้าวโพด จึงทาให้ขา้ วโพดที่ได้ทาการตัด
ต่อทางพันธุกรรมนี้มีคุณสมบัติพิเศษ คือ
สามารถสร้างสารพิษต่อแมลงที่เป็ นศัตรู พืชได้
โดยเมื่อแมลงมากัดกินข้าวโพดนี้แมลงก็จะตาย
ไปเมนูหลัก
ตัวอย่างพืชดัดแปลงพันธุกรรม
มันฝรั่ง
มันฝรั่ง (Potato) เป็ นพืชเศรษฐกิจที่มีการตัด
ต่อทางพันธุกรรมเช่นเดียวกันกับข้าวโพด โดยใช้การตัด
ต่อยีนของแบคทีเรี ยที่ชื่อว่า Bacillus thuringiensis เข้า
ไปในยีนของมันฝรั่ง ทาให้มนั ฝรั่งที่ได้รับการตัดต่อทาง
พันธุกรรมแล้วมีคุณค่าทางสารอาหารเพิม่ ขึ้น (เพิม่
ปริ มาณโปรตีน) และในบางชนิดยังสามารถผลิตวัคซี นที่
เป็ นประโยชน์ต่อมนุษย์อีกด้วย
ไปเมนูหลัก
ตัวอย่างพืชดัดแปลงพันธุกรรม
ถัว่ เหลือง
หลังจากที่ทาการตัดต่อทาง
พันธุกรรมแล้ว พบคุณสมบัติพิเศษ
สามารถทนต่อยาที่กาจัดวัชพืชชนิ ด
Roundup ได้มากกว่าถัว่ เหลืองทัว่ ไป
ทาให้ผปู ้ ลูกสามารถใช้ยากาจัดวัชพืช
ชนิด Roundup มากขึ้น มีผลทาให้ได้ผล
ผลิตมากขึ้นตามไปด้วย
ไปเมนูหลัก
ตัวอย่างพืชดัดแปลงพันธุกรรมฝ้ าย
ฝ้ ายที่ผา่ นการดัดแปลงทาง
พันธุกรรมโดยใส่ ยนี ของแบคทีเรี ย
Bacillus thuringiensis var.
kurataki (B.t.k)เข้าไปใน
โครโมโซมของต้นฝ้ าย ทาให้
สามารถผลิตโปรตีน Cry 1A ซึ่ งมี
คุณสมบัติในการฆ่าหนอนที่เป็ นศัตรู
ฝ้ ายได้
ไปเมนูหลัก
ประโยชน์และโทษของพืชGMO
ประโยชน์ ของพืช GMO
1. สามารถต้านทานโรคพืชชนิด
รุ นแรงได้
2. สามารถต้านทานต่อยาปราบวัชพืช
3. สามารถต้านทานอุณหภูมิต่า ๆ ได้
4. สามารถขยายอายุการเก็บได้
5. ทนต่อสภาพการขนส่ งได้ดีข้ ึน
6. มีผลต่อการแปรรู ป
7. มีคุณค่าทางโภชนาการสู งขึ้น
โทษของพืช GMO
อาจส่ งผลให้เกิดการกลายพันธุ์ในทางที่ไม่ดี
ไปเมนูหลัก
พืชดัดแปลงพันธุกรรมกับความปลอดภัย
การพิจารณาว่าพืชจีเอ็มโอ ปลอดภัยต่อผูบ้ ริ โภค และหรื อ สิ่ งแวดล้อม
นั้นจะต้องผ่านการทดลองหลายด้านเพื่อให้ได้มาซึ่ งข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ที่เชื่อถือ
ได้ เนื่องจากสิ่ งมีชีวติ แต่ละชนิดมีความหลากหลายทางพันธุกรรมและมีบทบาทใน
สิ่ งแวดล้อมต่างๆกันไป และก่อนที่ผผู้ ลิตรายใดจะนาเอาพืชจีเอ็มโอ หรื อผลผลิตจาก
พืชจีเอ็มโอแต่ละชนิดออกสู่ผบู้ ริ โภคนั้น จะต้องได้รับการประเมินความปลอดภัย
จากหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ตอ้ งอาศัยผูท้ รงคุณวุฒิในแต่ละสาขาวิชา
เพื่อให้มนั่ ใจว่าผลิตภัณฑ์น้ นั ๆมีความปลอดภัยเทียบเท่ากับผลิตภัณฑ์ในลักษณะ
เดียวกันที่มีอยูแ่ ล้วในธรรมชาติ ดังนั้นจึงถือได้วา่ ผลิตภัณฑ์จีเอ็มโอ ทุกชนิด ทั้งที่
นามาเป็ นอาหาร หรื อที่นามาปลูกเพื่อจาหน่ายในทางพาณิ ชย์มีความปลอดภัยแล้ว
ไปเมนูหลัก
แหล่งที่มา
http://witwang.blogspot.com/2007/08/gmos.html
http://www.vcharkarn.com/include/vcafe/showkratoo.php?Pid=28004
http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9E%E0%B8%B7%E0%B8%8A%E0%B8%94%E0
%B8%B1%E0%B8%94%E0%B9%81%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%87%E0%B8%
9E%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%98%E0%B8%B8%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0
%B8%A3%E0%B8%A1
http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B9%82%E0
%B8%99%E0%B9%82%E0%B8%A5%E0%B8%A2%E0%B8%B5%E0%B8%8A%E0%
B8%B5%E0%B8%A7%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E
ไปเมนูหลัก
รายชื่อผูจ้ ดั ทา
1.นางสาว เปรมภัค
1
ลิขิตลิขสิ ทธิ์
ม.6.13
เลขที่
2.นางสาว ศัลยา
5
3.นางสาว จิตพิสุทธิ์
เลขที่ 32
ตันวัชรพันธ์ ม.6.13
เลขที่
ดีสงคราม
ม.6.13
ไปเมนูหลัก