ตัวอย่างการเขียนประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

Download Report

Transcript ตัวอย่างการเขียนประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

ตอนที่ 4
การเขียนวัตถุประสงค์ ขอบเขต
ประโยชน์ ที่คาดว่ าจะได้ รับ และนิยามศัพท์
ไพศาล กาญจนวงศ์
เนือ้ หา
1.
2.
3.
4.
5.
วัตถุประสงค์สาหรับการวิจยั link
ขอบเขตของการวิจยั link
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจยั link
นิยามศัพท์ link
งานที่มอบหมาย link
วัตถุประสงค์ สาหรับการวิจัย
การกาหนดวัตถุประสงค์ในการวิจยั (Statement
of research objectives) จะทาเมื่อผูว้ จิ ยั ตัดสิ นใจ
เกี่ยวกับสิ่ งที่จะทาการวิจยั แล้ว ผูว้ จิ ยั ต้องกาหนด
ข้อความที่เป็ นปัญหาและวัตถุประสงค์ในการวิจยั
ให้ชดั เจน
วัตถุประสงค์ สาหรับการวิจัย
การเขียนวัตถุประสงค์เป็ นการแสดงให้ทราบถึง
เป้ าหมายของผูว้ จิ ยั ว่าต้องการศึกษาอะไร กับใคร
ที่ไหน เมื่อไหร่ ศึกษาแง่มุมใด และศึกษาอย่างไร
วัตถุประสงค์ สาหรับการวิจัย
วิธีการเขียน สามารถเขียนได้ 2 แบบ
1.
2.


เขียนในรู ปแบบคาถาม
เขียนในรู ปแบบบอกเล่า
กว้าง ไปแคบ
เขียนเป็ นข้อๆ
กระบวนการตัดสิ นใจเลือกที่พกั ของนักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศ :
กรณี ศึกษา สถานที่พกั แรม ถนนข้าวสาร กรุ งเทพมหานคร
หลักการในการกาหนดวัตถุประสงค์ การวิจัย
 Specific & sensible หมายถึง วัตถุประสงค์ที่ดีตอ้ งมี
ความเป็ นไปได้และชัดเจน นัน่ คือ ควรกาหนด
วัตถุประสงค์ให้มีความเป็ นไปได้ สามารถปฏิบตั ิได้จริ ง
นอกจากนี้ยงั ควรมีความชัดเจน โดยผูป้ ฏิบตั ิสามารถ
เข้าใจความหมายได้ตรงกัน และปฏิบตั ิได้อย่าง
สอดคล้องและเป็ นไปในแนวทางเดียวกัน
เฉพาะเจาะจง
 Measurable หมายถึง วัตถุประสงค์น้ น
ั ต้องสามารถวัดผล
ได้ นัน่ คือในการกาหนดวัตถุประสงค์ควรพิจารณาถึง
ประเด็นเกี่ยวกับการวัดผลด้วย การกาหนดวัตถุประสงค์ที่
สามารถวัดผลได้ทาให้สามารถรู้ได้แน่ชดั ว่าดาเนินการถึง
ขั้นตอนใด และผลของการดาเนินการในแต่ละขั้นเป็ น
อย่างไร บรรลุผลสาเร็ จหรื อไม่
สามารถวัดได้

Achievement หมายถึง วัตถุประสงค์ที่ดีตอ้ งสามารถบรรลุผลและ
มอบหมายได้ ในการกาหนดวัตถุประสงค์น้ นั ไม่ควรกาหนดไว้สูงเกินไป
จนไม่สามารถปฏิบตั ิเพื่อบรรลุตามวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ได้ ทาให้ผู้
ปฏิบตั ิรู้สึกท้อแท้เพราะทาอย่างไรก็ไม่สามารถบรรลุวตั ถุประสงค์ได้
นอกจากนี้วตั ถุประสงค์ที่ดีตอ้ งสามารถมอบหมายให้ผปู ้ ฏิบตั ินาไป
ปฏิบตั ิได้ สามารถนามาแยกย่อยเป็ นกิจกรรมหลาย ๆ กิจกรรมเพื่อ
มอบหมายให้ผทู ้ ี่เกี่ยวข้องนาไปปฏิบตั ิตามความรับผิดชอบของตน เพื่อ
มุ่งไปสู่ เป้ าหมายเดียวกันคือการบรรลุตามวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้
สามารถบรรลุผลได้
 Reasonable & Realistic หมายถึง วัตถุประสงค์ที่ดีตอ้ ง
สามารถอธิบายได้ มีความสมเหตุสมผลและมีความเป็ น
จริ ง ปฏิบตั ิได้จริ ง
มีเหตุมีผล/เป็ นจริ ง
 Time Available หมายถึง วัตถุประสงค์ที่ดีตอ้ งเหมาะสม
กับห้วงเวลาในขณะนั้น วัตถุประสงค์ขอ้ หนึ่งอาจมีความ
เหมาะสมกับช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง เมื่อเวลาเปลี่ยนไป
วัตถุประสงค์ขอ้ นั้นอาจไม่เหมาะสมกับสถานการณ์ที่
เปลี่ยนไปได้
มีการกาหนดเวลา
ข้ อควรคานึงการเขียนวัตถุประสงค์ ของงานวิจัย




วัตถุประสงค์ของการวิจยั จะต้องสอดคล้องกับชื่อเรื่ อง และความ
เป็ นมาและความสาคัญของปัญหา
สามารถกาหนดสมมุติฐานการวิจยั ได้ (ถ้าเป็ นการวิจยั ที่ตอ้ งการ
ทดสอบสมมุติฐาน)
วัตถุประสงค์ของการวิจยั ต้องครอบคลุมสิ่ งที่ตอ้ งการศึกษา
จานวนวัตถุประสงค์มากน้อยแค่ไหนขึ้นอยูก่ บั ขอบเขตของการวิจยั ว่า
ต้องการศึกษาแค่ไหน



ภาษาที่ใช้เขียนจะต้องสั้นกะทัดรัดได้ใจความ และมีความชัดเจน
วัตถุประสงค์จะต้องระบุวิธีการศึกษา ตัวแปร และกลุ่มที่ศึกษา
สามารถกาหนดรู ปแบบการวิจยั ได้




การเขียนอาจเขียนในลักษณะการบรรยาย หรื อคาถามก็
ได้
วัตถุประสงค์สามารถเขียนในรู ปของการเปรี ยบเทียบ เพื่อ
เน้นความแตกต่าง หรื อเขียนในรู ปของความสัมพันธ์
ถ้าวัตถุประสงค์มีหลายข้อควรเขียนเรี ยงจากวัตถุประสงค์
หลักไปสู่วตั ถุประสงค์ยอ่ ย
การเขียนวัตถุประสงค์อาจเขียนในลักษณะวัตถุประสงค์
รวมก่อนแล้ว แยกเป็ นวัตถุประสงค์ยอ่ ย ๆ

อย่านาประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับมาเขียนไว้ในวัตถุประสงค์การวิจยั
เพราะวัตถุประสงค์การวิจยั เป็ นเรื่ องที่ตอ้ งทา แต่ประโยชน์ที่คาดว่าจะ
ได้รับเป็ นผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นหลังจากสิ้ นสุ ดการวิจยั แล้ว ประโยชน์
ที่คาดว่าจะได้รับไม่ได้เป็ นเรื่ องบังคับให้ผวู ้ ิจยั ต้องทาเหมือน
วัตถุประสงค์ และเมื่อทาวิจยั เสร็ จแล้วผลที่คาดหวังไว้อาจจะเป็ นไป
ตามที่คาดหรื อไม่กไ็ ด้
ตัวอย่ างการเขียนวัตถุประสงค์ งานวิจยั
 วัตถุประสงค์ เป็ นพฤติกรรมการหาคาตอบ หรื อ การพิสูจน์สมมุติฐาน
เช่น
 เพื่อระบุระดับ......
 เพื่อหาแนวโน้ม.....
 เพื่อเปรี ยบเทียบ......
 เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่าง......
 เพื่อศึกษาอิทธิ พลของ.....ต่อ....
 เพื่อทานาย.......
ตัวอย่ าง
การเขียนวัตถุประสงค์ งานวิจยั
กลับ
ขอบเขตของงานวิจัย
 ขอบข่ าย เป็ นการอธิ บายขอบข่ายเกี่ยวกับตัวแปร
และเงื่อนเวลา ของเรื่ องที่จะศึกษาวิจยั
ประชากร
ขอบเขตของงานวิจัย
1.
2.
3.
4.
5.
ลักษณะประชากรและจานวนประชากร (ถ้าหาได้)
/ การเลือกกลุ่มตัวอย่าง ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง
และวิธีเลือกกลุ่มตัวอย่าง
ตัวแปรที่ศึกษา โดยระบุท้ งั ตัวแปรตาม และตัว
แปรอิสระ
ระยะเวลา ที่ใช้ในการศึกษาวิจยั
เนื้อหา ในการศึกษาวิจยั โดยเฉพาะในกรณี ทีเป็ น
การวิจยั เชิงทดลอง
สถานที่ ที่ใช้ในการศึกษาวิจยั
ขอบเขตของงานวิจัย
ั
 การวิจยั แต่ละเรื่ องมีขอบเขตมากน้อยเพียงใดขึ้นอยูก่ บ
งบประมาณและระยะเวลาที่จะทาการวิจยั
 การกาหนดขอบเขตของการวิจยั จะช่วยให้ผวู ้ จิ ยั วางแผนการเก็บ
ข้อมูลได้ครอบคลุมและตรงกับความมุ่งหมายของการวิจยั ที่ต้ งั
ไว้
การพิจารณาขอบเขตของงานวิจัย
1.
2.
ปัญหานั้นมีขอบเขตเพียงพอที่จะพิจารณาตัวแปรต่ างๆ ได้
อย่ างถูกต้ องและทัว่ ถึงเพียงใด
ปัญหานั้นระบุขอบเขตชัดเจนเพียงใด
ตัวอย่ างการเขียนขอบเขต
งานวิจัย
กลับ
ตัวอย่ างการเขียนขอบเขตงานวิจัย
การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ : กรณี ศึกษาตลาด
น้ าตลิ่งชัน
ตัวอย่ างการเขียนขอบเขตงานวิจัย
การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ : กรณี ศึกษาตลาด
น้ าตลิ่งชัน
ตัวอย่ างการเขียนวัตถุประสงค์
การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ : กรณี ศึกษาตลาดน้ า
ตลิ่งชัน
 เพื่อศึกษาถึงแรงจูงใจของนักท่องเที่ยวชาวไทยต่อการ
ท่องเที่ยวเกาะเกร็ ด จังหวัดนนทบุรี
 เพื่อเปรี ยบแรงจูงใจของนักท่องเที่ยวชาวไทยต่อการ
ท่องเที่ยวเกาะเกร็ ด จังหวัดนนทบุรี จาแนกตามลักษณะ
ประชากรศาสตร์
ประโยชน์ ที่คาดว่ าจะได้
 การทาวิจยั ทุกเรื่ อง ผูท
้ าวิจยั จะต้องทราบว่าเมือ่ ทาเสร็ จแล้ว
ผลการวิจยั จะก่อให้เกิด ประโยชน์อย่างไร ประโยชน์ของการ
วิจยั มีได้หลายลักษณะ เช่น การนาผลการวิจยั ไปใช้ในการ
กาหนดนโยบาย ปรับปรุ งการปฏิบตั ิงาน ใช้เป็ นแนวทางการ
ตัดสิ นใจ ใช้ในการแก้ปัญหา หรื อทาวิจยั ต่อไป เป็ นต้น
 ประโยชน์ จงึ เป็ นการอธิ บายถึงประโยชน์ของงานวิจยั นี้ โดย
อาศัยความสาคัญของเรื่ อง ควรพยายามให้เห็นประโยชน์ตอ่ วง
วิชาการ ประชากร ฯลฯ
แนวทางการเขียนประโยชน์ ที่คาดว่ าจะได้
 เขียนประโยชน์ที่ได้รับโดยตรงมากที่สุด ไปหา
ประโยชน์นอ้ ยที่สุดจากการวิจยั
 ไม่ขยายความเกินความเป็ นจริ ง ต้องอยูใ่ นขอบข่าย
ของวัตถุประสงค์ที่ศึกษาเท่านั้น
 ควรเขียนให้ครอบคลุมทั้งผลในระยะสั้นและระยะ
ยาว
แนวทางการเขียนประโยชน์ ที่คาดว่ าจะได้
ทั้งผลทางตรงและทางอ้อม
ควรระบุในรายละเอียดว่าผลดังกล่าวจะตกกับ
ใครเป็ นสาคัญ
ไม่ควรเขียนในลักษณะที่ลอ้ จากวัตถุประสงค์
ตัวอย่างเช่น วัตถุประสงค์ คือ “1. เพื่อศึกษา…”
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับก็ไม่ควรเขียนล้อเลียนใน
ลักษณะ “1. เพื่อทราบ…” เพราะการศึกษาเรื่ องใดก็
ย่อมจะทราบเรื่ องนั้นอยูแ่ ล้ว ควรเขียนในทานองว่า เมื่อ
ทราบผลแล้วจะนาผลไปใช้ประโยชน์อะไร
ตัวอย่ าง
การเขียนประโยชน์ ที่คาด
ว่ าจะได้ รับ
กลับ
ตัวอย่ างการเขียนประโยชน์ ที่คาดว่ าจะได้ รับ
การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ : กรณี ศึกษาตลาดน้ า
ตลิ่งชัน
 ผลจากการวิจยั ครั้งนี้ สามารถใช้เป็ นแนวทางในการ
วางแผนปรับปรุ งและพัฒนาการส่ งเสริ มการท่องเที่ยว
เกาะเกร็ ด จังหวัดนนทบุรี
เป็ นข้อมูลและแนวทางในการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวอื่นๆ
เป็ นข้อมูลเบื้องต้นสาหรับผูท
้ ี่จะศึกษาต่อไป
นิยามศัพท์
นิ ยามศัพท์ปฏิบตั ิการ
(Operational definition)
นิ ยามศัพท์เฉพาะ
(Definitions of specific terms)
ความสาคัญของนิยามศัพท์
 นิ ยามศัพท์เฉพาะ (Definitions of specific terms)
หรื อ นิยามศัพท์ปฏิบตั ิการ
(Operational definition) เป็ นการให้ความหมาย
ของตัวแปร หรื อ คาศัพท์ ที่นามาใช้ในการวิจยั
ให้เกิดความเข้าใจตรงกัน ระหว่างผูอ้ ่านงานวิจยั
กับผูว้ จิ ยั คาที่ควรเขียนเป็ นนิยามศัพท์เฉพาะ
ควรเป็ นตัวแปร หรื อคาที่ผวู้ ิจยั เขียนบ่อยมากใน
งานวิจยั ครั้งนั้น
 มิใช่นิยามที่เกิดมาจากการเปิ ดพจนานุกรมแล้ว
พรรณนาว่า คา ๆ นั้น/แนวคิดนั้น ๆ แปลว่าอะไร
เพราะการนิยามศัพท์ในการวิจยั นั้นนักวิจยั จะตกลงกับ
ผูอ้ ่านว่าเขาจะวัด “แนวคิด” นั้นได้อย่างไร
 การให้ความหมายของคาที่เป็ นแนวคิด ออกมาในลักษณะที่
วัดได้ สังเกตได้ เพื่อให้มีความหมายที่แน่นอนมีขอบเขตเป็ น
อย่างเดียวกัน จะได้ไม่เกิดความคลาดเคลื่อนในงานวิจยั ทาให้
ผูอ้ ่านเข้าใจความหมายตรงกัน การให้ความหมายของคาใน
เชิงปฏิบตั ิการจะต่างไปจากความหมายเชิงทฤษฎี คือ จะเน้นที่
การวัด การสังเกตที่ปฏิบตั ิได้แต่คานิยามที่ให้ตอ้ งไม่ขดั กับ
ความหมายเชิงทฤษฎี
หลักการเขียนนิยามศัพท์
1.
2.
3.
4.
5.
ไม่ขดั แย้งกับหลักทฤษฎี หรื อ ข้อเท็จจริ งทัว่ ไป
ควรเป็ นนิยามที่ผวู้ จิ ยั เขียนขึ้นเอง โดยศึกษาจาก
เอกสาร งานวิจยั และทฤษฎี
ควรนิยามตามตัวแปรที่จะศึกษา และ เนื้อหาที่วิจยั
มีความชัดเจน เข้าใจได้ง่าย และผูอ้ ่านเข้าใจได้
ตรงกัน
ควรเป็ นนิยามเชิงปฏิบตั ิการ (ตัวแปรวัดด้วยอะไร
ผลเป็ นอะไร)
ตัวอย่ างการเขียน
นิยามศัพท์
กลับ
ตัวอย่ างการเขียนนิยามศัพท์
การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ : กรณี ศึกษาตลาด
น้ าตลิ่งชัน
 แรงจูงใจของนักท่องเที่ยวชาวไทยต่อการท่องเที่ยว
เกาะเกร็ ด หมายถึง ……
งานที่มอบหมาย
ให้ทาบทที่ 1 ประกอบด้วย
 ชื่อเรื่ อง
 ความเป็ นมาและความสาคัญของการวิจยั – มาจากสภาพปั ญหา
 วัตถุประสงค์ของการวิจยั
 ขอบเขตของการวิจยั
 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
 นิ ยามศัพท์เฉพาะ