ปรัชญาและสันติภาพ

Download Report

Transcript ปรัชญาและสันติภาพ

ปรัชญาและสั นติภาพ
ปรัชญา
•
•
•
•
•
•
•
Philo แปลว่าความรัก
Sophia แปลว่าความปราดเปรื่ อง
Philosophy แปลว่าความอยากรู ้ อยากเรี ยน อยากฉลาด
ชญา แปลว่า รู ้ เข้าใจ
ปร + ชญา แปลว่าความรอบรู ้
เรี ยนปรัชญาเพื่อให้รู้ปัญหาที่ยงั แก้ไม่ตก
จงยกปั ญหาที่ยงั แก้ไม่ตก
เนือ้ หาของวิชาปรัชญา
• อภิปรัชญา พยายามค้นคว้าว่าความเป็ นจริ งคืออะไร
• ญาณวิทยา พยายามตอบคาถามว่าเรารู ้ความเป็ นจริ งได้
อย่างไร
• ตรรกวิทยา ช่วยให้รู้กฎเกณฑ์ของความคิด เพื่อนาไปคิด
ปัญหาปรัชญา
• จริ ยศาสตร์ คือวิชาว่าด้วยความประพฤติ พยายามตอบ
คาถามว่าความดีคืออะไร
กระบวนทัศน์
• กระบวนทัศน์ (paradign) แปลว่า ชุดของทฤษฎี ชุดของ
แนวคิด ค่านิยม การรับรู้ และการปฏิบตั ิ ที่คนกลุ่มหนึ่ง
ในยุคสมัยหนึ่งมีร่วมกัน และได้ก่อตัวเป็ นแบบแผน
ความคิดเกี่ยวกับความเป็ นจริ งของคนกลุ่มนั้น
• ประวัติความคิดเชิงปรัชญาของมนุษย์ อาจสรุ ปได้เป็ น
กระบวนทัศน์ความคิดของมนุษย์
5 กระบวนทัศน์ ความคิดของมนุษย์
1. กระบวนทัศน์ ดกึ ดาบรรพ์ มองว่าโลกไม่มีกฎ และอะไรก็ไม่มี
กฎ ทุกอย่างเป็ นไปตามน้ าพระทัยของเบื้องบน แต่น้ าพระทัย
ของเบื้องบนเองก็ไม่มีกฎ ผูถ้ ือกระบวนทัศน์แบบนี้หากมีคมั ภีร์
อ่านก็คงตีความตามตัวอักษร เฉพาะประโยค และเฉพาะตอน ซึ่ง
อาจจะเปลี่ยนแปลงข้อความในคัมภีร์ได้ตามน้ าพระทัย
ความหมายขัดแย้งไม่ถือว่าสาคัญสาหรับมนุษย์ดึกดาบรรพ์
เพราะมนุษย์ดึกดาบรรพ์จะเพ่งเล็งเฉพาะหน้าเท่านั้น ข้อความ
บางข้อความอาจจะมีมนต์ขลัง เป็ นคาถาอาคมเฉพาะหน้าจนกว่า
จะเสื่ อมมนต์ขลัง ถ้าไม่มีคมั ภีร์กถ็ ือเรื่ องผี หรื อจิตวิญญาณ
5 กระบวนทัศน์ ความคิดของมนุษย์
2. กระบวนทัศน์ โบราณ มองว่าเอกภพมีกฎตายตัว กฎทุกกฎของ
เอกภพเป็ นกฎนิรันดร จึงตายตัว แต่ยงั ไม่รู้วธิ ี การ
วิทยาศาสตร์ จึงไม่มีใครกล้ายืนยันว่า ใครๆก็สามารถเข้าถึง
กฎของเอกภพได้ดว้ ยตนเอง ในช่วงนี้จึงมีเจ้าสานักเกิดขึ้น
ราวกับดอกเห็ด ใครอยากได้ความจริ งต้องยึดเจ้าสานักที่ตน
พอใจเป็ นหลัก และหันหลังให้เจ้าสานักอื่นๆทั้งหมด
ผูถ้ ือกระบวนทัศน์แบบนี้ หากมีคมั ภีร์ให้ตีความ ก็จะยึด
หลักการตีความของเจ้าสานักเป็ นหลัก และปฏิเสธการตีความ
ของสานักอื่นทั้งหมด ใครเป็ นศิษย์หลายสานักถือว่าเลวมาก
ถูกตาหนิวา่ เหยียบเรื อสองแคม ชายหลายโบสถ์ คบไม่ได้
5 กระบวนทัศน์ ความคิดของมนุษย์
3. กระบวนทัศน์ ยุคกลาง มองว่าเอกภพมีกฎตายตัวก็จริ ง แต่
ให้เพียงความสุ ขเจือความทุกข์ จึงเชื่อตามศาสดาที่ยนื ยัน
ว่า ความสุ ขในโลกหน้าเท่านั้นที่เที่ยงแท้ถาวร และยินดี
ทาทุกอย่างเพื่อได้ความสุ ขในโลกหน้าตามที่ศาสดาสอน
ผูถ้ ือกระบวนทัศน์แบบนี้ หากมีคมั ภีร์ให้ตคี วาม ก็จะ
ตีความให้เข้าล็อคดังกล่าว มิฉะนั้นก็ไม่สนใจ และถือว่า
เป็ นประเด็นย่อยส่ งเสริ มประเด็นหลัก ถ้ามองไม่เห็นก็ทิ้ง
ไว้ก่อนจนกว่าจะเห็น
5 กระบวนทัศน์ ความคิดของมนุษย์
4. กระบวนทัศน์ นวยุค มองว่าเอกภพมีกฎประสานกันเป็ นระบบ
เครื อข่ายที่รู้ได้ดว้ ยวิธีการวิทยาศาสตร์และเหตุผล
ผูถ้ ือกระบวนทัศน์แบบนี้ หากมีคมั ภีร์ตอ้ งตีความ ก็จะตีความให้
สอดคล้องกับการค้นพบของนักวิทยาศาสตร์ เป็ นส่ วนหนึ่งของ
ระบบเครื อข่ายของความจริ ง หากเรื่ องใดตีความให้สอดคล้อง
กับวิทยาศาสตร์ไม่ได้จริ งๆ ก็จะอธิบายว่าเป็ นเรื่ องที่พระเจ้า
แทรกไว้ในคัมภีร์เพื่อทดลองความเชื่อ ความวางใจ และความรัก
ของผูม้ ีศรัทธาในพระองค์ เพื่อเป็ นมาตรการคัดสรรมิให้ผขู้ ้ ึน
สวรรค์มีมากนัก
5 กระบวนทัศน์ ความคิดของมนุษย์
5. กระบวนทัศน์ หลังนวยุค มองว่าเอกภพมีกฎเป็ นระบบเครื อข่ายที่
ประกอบด้วยปมข่าย ใยข่าย และตาข่าย
- ปมข่าย (netpoint) รู้ได้ดว้ ยวิธีการวิทยาศาสตร์
- ใยข่าย (netline) รู้ได้ดว้ ยกฎตรรกะและกฎคณิ ตศาสตร์
- ตาข่าย (neteye) รู้ได้ดว้ ยการหยัง่ รู้ เพ่งฌาณ หรื อวิวรณ์
ผูถ้ ือกระบวนทัศน์น้ ี หากมีคมั ภีร์ตอ้ งตีความ ก็มีแนวโน้มที่จะ
ตีความแบบพหุนิยม (pluralism) ไม่ยดึ มัน่ ถือมัน่ ไม่สนใจเจตนา
ของผูเ้ ขียนเท่ากับเจตนาขององค์การศาสนาที่เลือกเอาตัวบทนั้น
มาเป็ นคัมภีร์ของตน และตนเองก็มีหน้าที่เข้าใจและตีความให้
ได้คุณภาพชีวติ สูงสุ ดตามเป้ าหมายของศาสนาโดยรวม คือ การ
พัฒนาคุณภาพชีวติ อย่างดีที่สุด อีกทั้งยึดถือนโยบาย Reread all,
Reject none
กระบวนทัศน์ ทบั ซ้ อน
• ความคิดของสังคมไทยประกอบไปด้วย กระบวนทัศน์ซ่ ึง
ผสมผสานกันบ้าง ขัดแย้งกันบ้าง กล่าวคือมีกระบวนทัศน์ดึกดา
บรรพ์ที่ถือผีถือโชคลาง กระบวนทัศน์ที่เชื่อว่ามีกฎเกณฑ์ทาง
โลก และที่เชื่อในกฎเกณฑ์ทางธรรม กระบวนทัศน์วทิ ยาศาสตร์
และกระบวนทัศน์พหุนิยมตามหลักกาลามสูตรก็ปนเปกันไป
• ความไม่ลงตัวเท่าที่ควรทางกระบวนทัศน์ทาให้สงั คมไทยเป็ น
สังคมหลวม ๆ หลายมาตรฐาน
• ความขัดแย้งในเรื่ องความคิดความเชื่อ ทาให้ระบบการเมืองการ
ปกครองขาดเสถียรภาพ สังคมขาดสันติธรรม
สั นติภาพ
• สันติภาพคืออะไร
• คาถามนี้มีคาตอบตรงกันทุกยุคทุกสมัยหรื อไม่
• การสร้างสันติภาพเป็ นปัญหาที่แก้ตกแล้ว หรื อเป็ นปัญหา
ปรัชญาที่ยงั แก้ไม่ตก
• สันติภาพเป็ นเป้ าหมาย หรื อเป็ นเพียงภาวะที่เอื้อต่อการไปสู่
เป้ าหมายอื่น เช่น ความสุ ข ความยุติธรรม การพัฒนาเต็มตาม
ศักยภาพ คุณภาพชีวติ การหลุดพ้นจากกิเลศ ความยาเกรงต่อ
พระผูเ้ ป็ นเจ้า ฯลฯ
นิยามสั นติภาพ
• จงเขียนนิยามคาว่าสั นติภาพในความเห็นของท่านลงใน
กระดาษแผ่นหนึ่ง: สั นติภาพ คือ
................................………………… ………
…………………………………………………….
• แบ่งกลุ่มย่อย กลุ่มละ ๔-๕ คน แต่ละคนในกลุ่มอธิบาย
นิยามที่เขียนให้ของท่านให้เพื่อนร่ วมกลุ่มทราบ
นิยามสั นติภาพ
•
สมาชิกกลุ่มช่วยกันเขียนนิยามคาว่าสั นติภาพ ของ
กลุ่มที่เป็ นบูรณาการความคิดของทุกคนในกลุ่ม
• สุ่ มเลือกบางกลุ่มให้อ่านนิยามของกลุ่มให้ทุกคนใน
ห้องฟัง
• สังเกตแนวคิดหลักที่มีในการเสนอของหลายกลุ่ม
แล้วช่วยกันหานิยามของคาว่าสั นติภาพ ที่เป็ นของ
นักศึกษาในห้อง
นิยามสั นติภาพ
• กลุ่มบัวขาว ป. ประมุข ความสงบสุขโดยการเริ่มต้ นจากตนเอง
การอยู่ร่วมกันภายในสังคมโดยพยายามให้ เกิดความขัดแย้งกัน
น้ อยที่สุด
• กลุ่ม 4 minute: ความสงบสุข ไม่ เบียดเบียน ไม่ เห็นแก่ ตัว
เข้ าใจกัน
• กลุ่มขวดนา้ ความสงบ ความสุข ที่เกิดร่ วมกันระหว่ างคนใน
ชุมชน สังคม และประเทศ กลุ่มคนกลุ่มนัน้ สามารถดารงชีวิตได้
อย่ างปกติสุขโดยปราศจากความขัดแย้ ง
• กลุ่ม 6 คน ความเป็ นอยู่ของบุคคลภายในสังคมที่เกิดจากการใช้
ชีวิตที่มีความสุข ความสงบ ไม่ เบียดเบียนผู้อ่ นื เคารพในสิทธิ
และเสรีภาพของตนเองและผู้อ่ นื
• กลุม่ สวยและรวยมาก ความสงบสุขระหว่างกลุม่ คน เกิดจากการใช้
เหตุผล ความจริง ความยุตธิ รรม ในการประนีประนอม เพื่อให้ ความ
ขัดแย้ งที่เกิดขึ ้นลดลงโดยไม่ใช้ ความรนแรงในการแก้ ปัญหา
• ยางลบสีชมพู อิสรภาพทางความคิด การกระทา โดยปราศจากความ
ขัดแย้ งและความไม่ลงตัวทังภายในบุ
้
คคลและระหว่างบุคคลทีอ่ ยู่
รวมกันในสังคม เพื่อให้ เกิดความสงบสุข

พจนานุกรมให้ นิยามสันติภาพว่าความสงบ และนิยาม
ความสงบว่า ไม่กาเริบ กลับเป็ นปรกติ ระงับ หยุดนิ่ง
ปราศจากเครื่องรบกวน ไม่จุ้นจ้ าน
 บางคนนิยามสันติภาพว่าเป็ นช่ วงเวลาระหว่างสงคราม
หรือการไม่มีสงคราม
 นักบุญออกัสตินนิยามว่าเป็ นระเบียบแห่ งความสงบ
 ในพุทธศาสนา สันติคือการสิ้นสุดแห่ งทุกข์

เป็ นไปได้ ไหมที่โลกจะมีสนั ติภาพ ปลอดจากสงครามใด ๆ
 เป็ นไปได้ ไหมที่สงั คมจะปลอดความขัดแย้ งซึ่งอาจหมายถึง
จุดจบของมนุษย์ในทางประวัติศาสตร์
 เป็ นไปได้ ไหมที่จะแยกความขัดแย้ งออกจากความรุนแรง
 สงครามโลกครั้งที่สามอาจเป็ นสงครามนิวเคลียร์ แล้ ว
สงครามโลกครั้งที่ส่เี ล่า จะใช้ อะไรรบ?

กาลตุงผู้นาทางความคิดเรื่องสันติภาพเสนอว่า
- สันติภาพ เป็ นเป้ าหมายทางสังคมที่คนส่วนใหญ่เห็น
ด้ วย อย่างน้ อยด้ วยวจีกรรม
- เป้ าหมายทางสังคมเหล่านี้ แม้ จะซับซ้ อนและยากเข็ญ
แต่ยังสามารถบรรลุได้
- การนิยามสันติภาพว่าหมายถึงการไม่มีความรุนแรง ถือ
ว่าใช้ ได้ โดยนิยามความรุนแรงว่า เป็ นเหตุแห่งความ
แตกต่างระหว่างสิ่งที่เป็ นศักยภาพและที่เป็ นจริง
 สันติภาพในเชิงลบหายถึงการปลอดจากการ
ประทุษร้ ายและความรุนแรง ปลอดจากสงคราม
 ไม่มีสน
ั ติภาพเมื่อเกิดความไม่ม่นั คง ไม่ปลอดภัย
เกิดความไม่ยุติธรรมในสังคม ความเหลื่อมลา้ ทาง
เศรษฐกิจ ความไม่เสมอภาคและเลือกปฏิบัติ
ความสุดโต่งทางการเมือง ทางศาสนา หรือทาง
ชาตินิยม

ความหมายในเชิงบวกของสันติภาพน่าจะได้ แก่ ภาวะที่
เป็ นผลจากการเปลี่ยนแปลงสังคมในทางที่ดีข้ นึ ให้
เป็ นไปตามอุดมคติมากขึ้น เช่น เป็ นสังคมที่ทุกคนมี
เสรีภาพ มีศักดิ์ศรี มีความเอื้ออาทรต่อกัน และ
สามารถดาเนินชีวิตได้ เต็มตามศักยภาพ อย่าง
เหมาะสมกลมกลืนกับเพื่อนมนุษย์และกับธรรมชาติ
แวดล้ อม
 สันติภาพหมายถึงความปลอดภัย สวัสดิการ ความ
รุ่งเรือง ความเป็ นมิตร ฯลฯ

ผู้ท่รี ักสันติภาพคือผู้ท่รี ักความยุติธรรม การเสนอ
ต่อผู้ถูกกดขี่ให้ ยอมจานนโดยดุษฎี อย่าได้ ต่อสู้ใน
รูปแบบใดเลยนั้น เป็ นการเสนอที่ไม่อาจกระทาได้
ในนามของสันติภาพ
 ผู้ท่รี ักสันติภาพคือผู้ท่รี ักสัจจะ การยึดถือ
ข้ อเท็จจริงโดยปราศจากอคติและผลประโยชน์
เฉพาะตน จะช่วยให้ เกิดความเข้ าใจกัน อันอาจ
นาไปสู่สนั ติภาพ
ศัพท์เกี่ยวกับสันติภาพพอสังเขปดังนี ้
การส่ งเสริมสันติภาพ
การสร้ างสันติภาพ (peace making)
การรักษาสันติภาพ (peace keeping force)
การรังสรรค์ สันติภาพ (peace building)
22
ศัพท์เกี่ยวกับสันติภาพพอสังเขปดังนี ้
5 แบบอย่างสู่สนั ติ:
- ยอมรับการคงสถานภาพ (status quo)
- สันตินิยม (pacifism)
- ขัดขืนอย่างวางเฉย (passive resistance)
- ขัดขืนอย่างแข็งขัน (active resistance)
- สร้ างสันติอย่างแข็งขัน (active peace)
สั นติภาพหมายถึงความสั มพันธ์
• ความสัมพันธ์ระหว่าง “เรา” กับ “เขา” อาจมีลกั ษณะ
- เป็ นลบ ไม่เหมาะสมกลมกลืน สิ่ งที่ดี หรื อไม่ดีสาหรับเรา กลับ
เป็ นสิ่ งที่ไม่ดี หรื อดีสาหรับเขา
- ไม่ขอ้ งเกี่ยวกัน สิ่ งที่ดี หรื อไม่ดีสาหรับเรา กับสิ่ งที่ดี หรื อไม่ดี
สาหรับเขา ไม่เกี่ยวข้องกัน
- เป็ นบวก เหมาะสมกลมกลืน สิ่ งที่ดี หรื อไม่ดีสาหรับเรา ก็เป็ น
สิ่ งที่ดี หรื อไม่ดีสาหรับเขา
สั นติภาพหมายถึงความสั มพันธ์
• สันติภาพเชิงลบ หมายถึง การปลอดพ้นจากความรุ นแรง (การหยุดยิง
การแยกคู่ขดั แย้งให้อยูห่ ่างกัน) นัน่ คือการเปลี่ยนความสัมพันธ์เชิงลบ
เป็ นความสัมพันธ์แบบไม่ขอ้ งแวะกัน
• สันติภาพเชิงบวก หมายถึง ความร่ วมมือ การดาเนินโครงการร่ วมกัน
(joint project) นัน่ คือ การเปลี่ยนความสัมพันธ์แบบไม่ขอ้ งแวะกัน
เป็ นความสัมพันธ์ที่เหมาะสมกลมกลืน พึ่งพาและเอื้ออาทรต่อกัน
• อุปมัยกับเรื่ องสุ ขภาพ สันติภาพเชิงลบ เหมือนคนที่ไม่ป่วยแต่ไม่
แข็งแรง สันติภาพเชิงบวก เหมือนคนที่มีสุขภาพแข็งแรง มีภูมิคุม้ กัน
สั นติภาพหมายถึงความสั มพันธ์
• ทฤษฎีสนั ติภาพที่ตกทอดมาแต่สมัยโรมัน คือ “แม้หวังตั้งสงบ
จงเตรี ยมรบให้พร้อมสรรพ”
เป็ นการสร้างสันติภาพเชิงลบ ด้วยวิธีการที่เป็ นลบ
เป็ นป้ องปรามการรุ กรานโดยการปกป้ องดินแดนด้วยอาวุธเชิง
รับ
หรื อเป็ นการป้ องปรามการรุ กรานโดยบุกเข้าไปในดินแดนฝ่ าย
ตรงกันข้ามด้วยอาวุธเชิงรุ ก
• ท่านคิดว่าทฤษฎีขา้ งต้นใช้ได้ผลหรื อไม่ อธิบาย
สั นติภาพ
• สันติภาพในเชิงลบหายถึงการปลอดจากการประทุษร้าย
และความรุ นแรง ปลอดจากสงคราม
• ไม่มีสนั ติภาพเมื่อเกิดความไม่มนั่ คง ไม่ปลอดภัย เกิด
ความอยุติธรรมในสังคม ความเหลื่อมล้ าทางเศรษฐกิจ
ความไม่เสมอภาคและเลือกปฏิบตั ิ ความสุ ดโต่งทาง
การเมือง ทางศาสนา หรื อทางชาตินิยม
สั นติภาพ
• ในหนังสื อสาหรับเด็กเขียนโดย Todd Parr สันติภาพคือ
- การมีเพื่อนใหม่
- การมีน้ าสะอาดสาหรับปลาทุกตัว
- การฟังดนตรี อนั ไพเราะ
- การขอโทษเมื่อทาผิดต่อผูอ้ ื่น
- การช่วยเพื่อนบ้านของเรา
สั นติภาพ
- การอ่านหนังสื อมากมายหลายเรื่ อง
- การคิดถึงใครคนหนึ่งที่เรารัก
- การปลูกต้นไม้ตน้ หนึ่ง
- การกินข้าวร่ วมกัน
- การใส่ เสื้ อผ้าสี ต่างๆ กัน
- การทาถนนหนทางให้สะอาด
สั นติภาพ
- การโอบกอดเพื่อน
- การที่ทุกคนมีบา้ นอยูอ่ าศัย
- การทาสวน
- การหลับสักงีบหนึ่ง
- การเรี ยนรู ้ภาษาอื่นๆ และเดินทางไปในที่ต่างๆ
- การที่ทุกคนอยูเ่ ย็นเป็ นสุ ข
- การมีเสรี ภาพ
สั นติภาพ
• ความหมายในเชิงบวกของสันติภาพน่าจะได้แก่ ภาวะที่
เป็ นผลจากการเปลี่ยนแปลงสังคมในทางที่ดีข้ ึน ให้
เป็ นไปตามอุดมคติมากขึ้น เช่น เป็ นสังคมที่ทกุ คนมี
เสรี ภาพ มีศกั ดิ์ศรี มีความเอื้ออาทรต่อกัน และสามารถ
ดาเนินชีวติ ได้เต็มตามศักยภาพ อย่างเหมาะสมกลมกลืน
กับเพื่อนมนุษย์และกับธรรมชาติแวดล้อม
• สันติภาพหมายถึงความปลอดภัย สวัสดิการ ความรุ่ งเรื อง
ความเป็ นมิตร ฯลฯ