Document 7323872

Download Report

Transcript Document 7323872

กฎหมายเกีย่ วกับอัคคีภัย
ชัชวาลย์ จิตติเรื องเกียรติ
สานักเทคโนโลยีความปลอดภัย
กรมโรงงานอุตสาหกรรม
กฎหมายเกีย่ วกับอัคคีภัยที่มีผลบังคับใช้ ในปัจจบุ ัน
 พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535
-
กฎกระทรวงฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2535 )
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2513)
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2514)
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมฉบับที่ 24 (พ.ศ. 2530)
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2542)
 พรบ.วัตถุอนั ตราย พ.ศ. 2535
 ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่ องการป้ องกันและระงับอัคคีภัยใน
สถานประกอบการเพื่อความปลอดภัยในการทางาน
กฎหมายเกีย่ วกับอัคคีภัยที่มผี ลบังคับใช้ ในปัจจุบัน




พรบ.ป้องกันและระงับอัคคีภยั พ.ศ. 2542
พรบ. ควบคุมน้ ามันเชื้อเพลิง พ.ศ. 2542
ประกาศคณะปฏิวตั ิฉบับที่ 28 ว่าด้วยการบรรจุก๊าซปิ โตรเลียมเหลว
พรบ. ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522
 กฎกระทรวงฉบับที่ 33 (พ.ศ. 2535)
 กฎกระทรวงฉบับที่ 39 (พ.ศ. 2537)
 กฎกระทรวงฉบับที่ 47 (พ.ศ. 2540)
 กฎกระทรวงฉบับที่ 48 (พ.ศ. 2540)
 กฎกระทรวงฉบับที่ 50 (พ.ศ. 2540)
 กฎกระทรวงฉบับที่ 55 (พ.ศ. 2543)
พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535
 กฎกระทรวงฉบับที่ 2 พ.ศ. 2535
 หมวดที่ 1 ข้ อ 4 ลักษณะอาคารโรงงาน
* มีประตูหรื อทางออกให้พอกับจานวนคนงานที่จะหลบหนี ภยั
ออกไปได้เมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิ น อย่างน้อย 2 แห่ง กว้างไม่นอ้ ยกว่า
110 ซม. และสู งไม่นอ้ ยกว่า 200 ซม. แต่ถา้ มีคนงานที่ตอ้ งออก
ตามทางนี้มากกว่า 50 คน ต้องมีขนาดกว้างเพิม่ ขึ้นในอัตราส่ วน
ไม่นอ้ ยกว่า 2 ซม. ต่อ 1 คน
* มีพ้นื ที่ปฏิบตั ิงานไม่นอ้ ยกว่า 3 ตร.ม./คน
* จัดให้มีที่เก็บรักษาวัตถุหรื อสิ่ งของที่อาจก่อให้เกิดอันตรายหรื อ
อัคคีภยั ได้ง่ายไว้ในที่ปลอดภัย
กฎกระทรวงฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2535)
 หมวด 2 เครื่ องจักร อุปกรณ์หรื อสิ่ งที่นามาใช้ในโรงงาน
- ภาชนะบรรจุวตั ถุอนั ตราย เช่น วัตถุระเบิด วัตถุไวไฟที่มีขนาด
ตั้งแต่ 25000 ลิตรขึ้นไป ต้องสร้างเขื่อนหรื อกาแพงคอนกรี ต
ล้อมรอบที่จะกักเก็บปริ มาณของวัตถุดงั กล่าวได้ท้ งั หมด ถ้ามีภาชนะ
บรรจุมากกว่าหนึ่งถัง ให้สร้างเขื่อนที่สามารถกักเก็บวัตถุอนั ตราย
เท่ากับปริ มาตรของถังเก็บขนาดใหญ่ที่สุด
- ระบบไฟฟ้า การเดินสายไฟฟ้า การติดตั้งเครื่ องยนต์ อุปกรณ์ไฟฟ้า
ต้องเป็ นไปตามหลักวิชาการที่ยอมรับ โดยมีคารับรองของวิศวกร
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2513)
 หมวด 1 การรักษาโรงงานและเครื่ องจักร
ต้องดูแลรักษาทางออกและบันไดฉุ กเฉิ นให้อยูใ่ นสภาพพร้อมที่จะหลบ
ภัยได้
 หมวด 2 ทางออกฉุกเฉินในโรงงาน
ทางออกฉุ กเฉิ นต้องกว้างไม่นอ้ ยกว่า 110 ซม.
ต้องดูแลรักษาให้ประตูทางออกฉุ กเฉิ นอยูใ่ นสภาพที่คนงานจะเปิ ดออก
ได้ง่ายตลอดเวลาที่มีการปฏิบตั ิงาน
มีแสงสว่างเพียงพอและไม่ให้มีสิ่งกีดขวาง
มีระบบแสงสว่างทดแทนในกรณี ที่ระบบไฟฟ้าเสี ย
มีป้ายหรื อเครื่ องหมายที่เห็นได้ชดั เจน
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2513)
 หมวด 3 สั ญญาณแจ้ งเหตุอนั ตราย
*ในโรงงานที่มีก๊าซอันตรายหรื อวัสดุไวไฟที่มีคนงานตั้งแต่ 50
คนขึ้นไป หรื อโรงงานที่มีวสั ดุติดไฟง่าย ที่มีคนงาน 100 คนขึ้นไป
ต้องจัดให้มีเครื่ องให้สญ
ั ญาณแจ้งเหตุอนั ตรายอย่างน้อย 2 แห่งอยู่
ในตาแหน่งที่คนใช้ได้สะดวกรวดเร็ ว
*เป็ นชนิดที่ให้สญ
ั ญาณโดยไม่ตอ้ งอาศัยพลังงานจากระบบ
ส่ องสว่างและที่ใช้กบั เครื่ องจักร
 หมวด 4 เครื่ องดับเพลิง
*ต้องไม่นอ้ ยกว่า 1 เครื่ องต่อพื้นที่ 100 ตร.ม.
*มีบนั ทึกการติดตั้ง การเติมเคมีภณ
ั ฑ์ และการตรวจสอบซึ่ง
ต้องกระทาไม่นอ้ ยกว่า 6 เดือนต่อหนึ่งครั้ง
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2514)
 หมวด 12 การป้องกันอุบตั ิเหตุอนั ตรายจากเครื่ องจักร
- ในห้องปฏิบตั ิงานหรื อห้องเก็บสิ่ งของที่อาจมีก๊าซ ควัน ฝุ่ น ไอหรื อ
หมอกที่ติดไฟได้ง่าย ต้องเดินสายไฟฟ้าในท่อ เครื่ องยนต์ไฟฟ้า สวิตช์
ไฟฟ้า และอุปกรณ์ไฟฟ้าอื่นๆต้องเป็ นแบบปิ ดชนิดป้องกันการระเบิด
และห้ามใช้หลอดไฟฟ้าฟลูออเรสเซนท์ แบบมีสตาร์ทเตอร์สวิตช์ตดั
ตอนแบบใบมีด เต้าเสี ยบและอุปกรณ์ที่อาจทาให้เกิดประกายไฟได้
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2514)
- เครื่ องยนต์ไฟฟ้าที่มีขนาดตั้งแต่ 1/4 แรงม้าขึ้นไป ต้องมีเครื่ องป้องกัน
กระแสเกินขนาดและการใช้เกินกาลัง
- ต้องดูแลรักษาสายไฟฟ้า สายดิน เครื่ องยนต์ไฟฟ้า สวิตช์ เต้าเสี ยบ
และอุปกรณ์ไฟฟ้าอื่นๆ ให้อยูใ่ นสภาพเรี ยบร้อย ไม่หลุด หลวม
แตกร้าว หรื อผุกร่ อน
- สายไฟฟ้า เครื่ องไฟฟ้าและอุปกรณ์ตอ้ งได้รับการตรวจรับรอง
เห็นชอบจากผูไ้ ด้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม
หรื อนายช่างของการไฟฟ้าฯทุกๆ 1 ปี โดยมีเอกสารรับรองเป็ น
หลักฐานทุกปี
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมฉบับที่ 24
(พ.ศ.2530)
 ต้องแยกอาคารที่มีการผลิตหรื อเก็บวัตถุไวไฟให้เป็ นเอกเทศ
 ต้องไม่ให้วตั ถุไวไฟ วัตถุระเบิดอยูใ่ กล้เตาไฟ หม้อน้ า ท่อไอน้ า
สายไฟฟ้าแรงสู ง บริ เวณที่อาจมีประกายไฟ หรื อในที่มีอุณหภูมิสูง
 ต้องจัดทาป้ายที่มีสัญลักษณ์ เครื่ องหมายและข้อความเตือนตาม
รายละเอียดแนบท้าย
 ต้องดูแลรักษาท่อส่ งให้อยูใ่ นสภาพดี ท่อส่ งวัตถุที่มีอุณหภูมิสูงกว่า 80
องศาเซลเซียสต้องมีฉนวนกันความร้อนหุม้ และไม่ต้ งั อยูใ่ กล้หรื อ
บริ เวณที่มีความร้อนสู ง
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมฉบับที่ 24 (พ.ศ.2530)
 ต้องดูแลรักษาท่อ ส่ วนประกอบของท่อ ท่อส่ งต่างชนิดกันต้องทาสี
หรื อทาเครื่ องหมายแสดงความแตกต่างให้ชดั เจน
 วาล์วต่างๆไม่ให้มีการรั่วซึม และต้องมีเครื่ องหมายแสดงทิศทางการ
ปิ ดเปิ ดของวาล์ว
 ภาชนะบรรจุอยูใ่ นที่โล่งแจ้งต้องมีสายล่อฟ้า
 ภาชนะบรรจุที่อาจเกิดไฟฟ้าสถิตต้องต่อสายดิน
 ภาชนะบรรจุวตั ถุไวไฟที่มีขนาดตั้งแต่ 25,000 ลิตร ต้องสร้างเขื่อน
หรื อกาแพงคอนกรี ตล้อมรอบ มีสายล่อฟ้าและสายดิน
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมฉบับที่ 24 (พ.ศ.2530)
 จัดทาป้ายสัญลักษณ์ตามมาตรฐานสากลแสดงให้ทราบถึงระดับความ
ไวไฟ อันตรายต่อสุ ขภาพ ความรุ นแรงของปฏิกิริยา หรื อ
รายละเอียดอื่นๆ ให้แผ่นป้ายมีขนาดใหญ่พอสมควร ติดหรื อแขวนไว้
ด้านหน้าบริ เวณที่มีการเก็บหรื อใช้วตั ถุอนั ตรายดังกล่าว
Diamond Sign
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2543)
 กาหนดให้โรงงานที่มีความเสี่ ยงต่อการเกิดอุบตั ิภยั ร้ายแรงต้องจัดทา “
รายงานการวิเคราะห์ ความเสี่ ยงจากอันตรายทีอ่ าจเกิดจากการ
ประกอบกิจการโรงงาน”
 เพื่อชี้บ่งอันตรายที่อาจเกิดขึ้นทั้งในภาวะปกติ ผิดปกติ และฉุกเฉิน
 นามาประเมินโอกาสและความรุ นแรงว่ามีมากน้อยเพียงใด
 นามากาหนดมาตรการป้องกัน รวมทั้งมาตรการควบคุม ลด หรื อ
บรรเทาอุบตั ิภยั ร้ายแรงที่อาจเกิดขึ้น
โรงงานที่เข้าข่ายต้องทา
 โรงงาน 12 ประเภทตามบัญชีทา้ ยประกาศกระทรวงฯ
 หลักเกณฑ์ในการยืน่ รายงาน
- โรงงนที่ขออนุญาตตั้งใหม่หรื อขอขยายโรงงาน ให้จดั ทารายงานและยืน่ ต่อกรม
โรงงานอุตสาหกรรม หรื อสานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดพร้อมกับการยืน่ ขอ
อนุญาตตั้งหรื อขยายโรงงาน
- โรงงานที่ได้รับอนุญาตก่อนวันที่ประกาศนี้มีผลบังคับใช้ ให้จดั ทารายงานและ
ยืน่ ต่อกรมโรงงานอุตสาหกรรม หรื อสานักอุตสาหกรรมจังหวัดภายใน 360 วัน
นับแต่วนั ที่ประกาศนี้มีผลบังคับใช้ และต้องมีการทบทวนและจัดทารายงาน
พร้อมกับการยืน่ ขอต่ออายุใบอนุญาตทุกครั้ง
- โรงงานที่ต้ งั อยูใ่ นนิคมอุตสาหกรรม ให้จดั ทารายงาน 2 ฉบับ ยืน่ ต่อการ
นิคมอุตสาหกรรมฯ 1 ฉบับ และกรมโรงงานอุตสาหกรรม 1 ฉบับ
- โรงงานที่ต้ งั อยูใ่ นเขตประกอบการอุตสาหกรรมทั้งโรงงานที่ขออนุญาต
ใหม่ และโรงงานที่ได้รับอนุญาตแล้ว ได้จดั ทารายงาน 2 ฉบับ ยืน่ ต่อ
กรมโรงงานอุตสาหกรรม 1 ฉบับและสานักอุตสาหกรรมจังหวัดท้องที่
ที่โรงงานตั้งอยู่ 1 ฉบับ และต้องทบทวน จัดทาและยืน่ รายงานครั้ง
ต่อไปทุกๆ 5 ปี ภายในวันที่ 30 ธันวาคมของปี ที่หา้
รายงานการวิเคราะห์ ความเสี่ ยง
1. ข้ อมูลรายละเอียดการประกอบกิจการ
1.1 แผนที่โรงงานและสถานที่โดยรอบ
1.2 แผนผังโรงงาน
1.3 ขั้นตอนกระบวนการผลิต
1.4 จานวนผูป้ ฏิบตั ิงานและการจัดช่วงเวลาทางาน
1.5 ข้อมูลอื่นๆ เช่น สถิติอุบตั ิเหตุ รายงานการสอบสวนอุบตั ิเหตุ
รายงานการตรวจประเมินความปลอดภัยฯลฯ
รายงานการวิเคราะห์ ความเสี่ ยง
2. ข้อมูลการชี้บ่งอันตรายและการประเมินความเสี่ ยง
2.1 การชี้บ่งอันตราย (Hazard Identification)
การแจกแจงอันตรายจากการประกอบกิจการทุกขั้นตอน
รวมทั้งกิจกรรมหรื อสภาพการณ์ต่างๆภายในโรงงานโดยวิธี
 Checklist
 What-If Analysis
 Hazard and Operability Study(HAZOP)
 Fault-Tree Analysis (FTA)
 Failure Modes and Effects Analysis (FMEA)
 Event-Tree Analysis
 วิธีอื่นที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมเห็นชอบ
รายงานการวิเคราะห์ ความเสี่ ยง
2.2 การประเมินความเสี่ ยง ( Risk Assessment )
การวิเคราะห์ถึงปัจจัยหรื อสภาพการณ์ต่างๆที่เป็ นสาเหตุทาให้
เกิดอันตราย อุบตั ิเหตุ และเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ เช่น การเกิด
เพลิงไหม้ การระเบิด การรั่วไหลของสารเคมี เป็ นต้น โดยพิจารณา
ถึงโอกาสและความรุ นแรงของเหตุอนั ตรายนั้นว่ามีมากน้อยเพียงใด
ที่จะส่ งผลให้เกิดอันตรายหรื อความเสี ยหายต่อ
-
ชีวติ
ทรัพย์สิน
สิ่ งแวดล้อม
รายงานการวิเคราะห์ ความเสี่ ยง
3. แผนงานบริ หารจัดการความเสี่ ยง ( Risk Management
Program )
3.1 มาตรการป้องกันและสาเหตุของการเกิดอันตราย (
Control Measure )
-
การออกแบบ การสร้าง และการติดตั้งเครื่ องจักร อุปกรณ์ เครื่ องมือ
ตลอดจนการใช้วสั ดุที่ได้มาตรฐาน
การปฏิบตั ิงานตามขั้นตอนที่ถูกต้อง
การซ่อมบารุ งเครื่ องจักร อุปกรณ์และเครื่ องมือ
การทดสอบ ตรวจสอบเครื่ องจักร อุปกรณ์ และเครื่ องมือ
การฝึ กอบรม
รายงานการวิเคราะห์ ความเสี่ ยง
- การตรวจประเมินความปลอดภัย ( Safety Audit )
- การปฏิบตั ิตามข้อกาหนด (Code of Practice)
3.2 มาตรการระงับและฟื้ นฟูเหตุการณ์ ( Recovery Measure )
 การวางแผนและการซ้อมแผนฉุ กเฉิ น
การสอบสวนอุบตั ิเหตุ
3.3 แผนงานปรับปรุ งแก้ไข ( Corrective Action Plan )
- การปรับปรุ งแก้ไขหรื อเพิ่มเติมมาตรการป้องกันและควบคุม
อันตราย
พรบ. วัตถุอนั ตราย พ.ศ. 2535
 กฎกระทรวง พ.ศ. 2537
- อาคารผลิตวัตถุอนั ตรายที่มีมากกว่า 2 ชั้นขึ้นไป ต้องมีบนั ไดหนีไฟนอก
อาคารอย่างน้อยชั้นละ 1 แห่ง และต้องเป็ นการติดตั้งถาวร มัน่ คงแข็งแรง
- อาคารเก็บรักษาวัตถุอนั ตรายที่มีความกว้างและความยาวด้านละ 30 เมตร
ขึ้นไป ต้องมีผนังที่ทาจากวัตถุทนไฟกั้นตัดตอนโดยมีระยะห่ างกันอย่าง
น้อย 1 ผนังทุกๆ 30 เมตร เพื่อป้องกันการลุกลามของอัคคีภยั