Drug Interaction

Download Report

Transcript Drug Interaction

Drug Interaction
Drug Interaction
ปรากฏการณ์ท่เี กิดขึ้นเนื่ องจากการใช้ยาตัง้ แต่ 2 ชนิ ดขึ้นไป และมีปฏิกริ ยิ า
ระหว่างกัน ทาให้มีประสิทธิภาพหรือพิษของยาชนิ ดหนึ่ งหรือหลายชนิ ด
เปลีย่ นแปลงไป
Drug Interaction
4/13/2015
2
Fatal Drug Interaction
คู่ยาที่เกิดปฏิกริ ยิ าต่อกันส่งผลให้เกิดอันตรายรุนแรงจนเสี่ยงต่อการเสียชีวติ หรือ
เป็ นอันตรายถาวร
Drug Interaction
4/13/2015
3
เกณฑ์ท่ใี ช้ในการกาหนดคู่ยาที่เป็ น Fatal Drug Interaction
มีรายงานการเสียชีวิตอันเป็ นผลจากอันตรกิริยาระหว่างยา
ระดับความมีนัยสาคัญทางคลินิกระดับ 1
ความรุนแรงอยู่ในระดับ Major หมายความว่า “ผลที่เกิดขึน้ จะก่อให้เกิดอันตรายถึง
ชีวิตและเป็ นสาเหตุของความเสียหายอย่างถาวร” มีความน่ าเชื่อถือของข้อมูลอยู่
ในระดับน่ าเชื่อถือโดยมี Well controlled-studies (Established) และน่ าจะใช่
(Probable)
Drug Interaction
4/13/2015
4
ประเด็นในการพิจารณาความรุนแรงของปฏิกริ ยิ า
Onset
Severity
Documented
Drug Interaction
4/13/2015
5
Onset: ความรวดเร็วของการแสดงผลทางคลินิกของปฏิกริ ยิ า
Rapid หมายถึง ผลที่เกิดขึน้ ชัดเจนภายใน 24 ชัวโมงภายหลั
่
งการใช้ยา
ร่วมกัน ซึ่งทาให้จาเป็ นต้องเตรียมพร้อมเพื่อการแก้ไขทันที
Delayed หมายถึง ผลที่เกิดขึน้ ยังไม่ชดั เจนจนกว่าจะใช้ค่ยู าที่เกิดปฏิกิริยา
ร่วมกันเป็ นระยะเวลาหลายวันหรือหลายสัปดาห์ ไม่จาเป็ นต้องแก้ไขทันที
Drug Interaction
4/13/2015
6
การประเมินความรุนแรงของปฏิกิริยาระหว่างยา
Major: ผลที่เกิดขึน้ ก่อให้เกิดอันตรายถึงชีวิตหรือเกิดความเสียหาย
อย่างถาวร
Moderate: ผลที่เกิดขึน้ ทาให้ผปู้ ่ วยมีอาการเลวลง ต้องการการรักษา
เพิ่มขึน้ /อยู่ในโรงพยาบาลนานขึน้
Minor:
Drug Interaction
ผลที่เกิดขึน้ น้ อย ไม่จาเป็ นต้องให้การรักษา
4/13/2015
7
ระดับของหลักฐานหรือเอกสารในการรวบรวมข้อมูลปฏิกริ ยิ าระหว่างยา
Establish
Proven to occur in well controlled studies
Probable
Very likely, but not proven clinically
Suspected
May occur, some good data
Possible
Could occur, but data are very limited
Unlikely
Doubtful, no good evidence of an altered
clinical effect
Drug Interaction
4/13/2015
8
ประเภทของ Fatal Drug Interaction
1. Contraindication Fatal Drug Interaction
คู่ยา Fatal DI ที่มีนัยสาคัญทางคลินิกอยู่ในระดับ 1 มีหลักฐานชัดเจนว่าทาให้เกิด
อาการรุนแรงอยู่ในระดับ major มีข้อห้ามในการใช้ยาร่วมกัน
2. Monitoring Fatal Drug Interaction
คู่ยา Fatal DI ที่มีนัยสาคัญทางคลินิกอยู่ในระดับ 1 มีหลักฐานชัดเจนว่าทาให้เกิด
อาการรุนแรงอยู่ในระดับ major สามารถให้ร่วมกันได้แต่แพทย์ต้องมีการติดตาม
ผูป้ ่ วยอย่างใกล้ชิด
Drug Interaction
4/13/2015
9
Drug Interaction_Ranod Hospital
1. ระดับ 1 ห้ามสังใช้
่ เด็ดขาด
Contraindication Fatal DI
2. ระดับ 2 ห้ามใช้ แต่ถ้าจาเป็ นต้องมีวิธีจดั การ
Fatal DI
Monitoring Fatal DI
3. ระดับ 3 คู่ยาที่หากมีการสังจ่
่ ายต้องมีการเตือนเฝ้ าระวังอาการของผูป้ ่ วย
4. ระดับ 4 คู่ยาที่หากมีการสังจ่
่ ายต้องปรับเวลาการให้ยา
Drug Interaction
4/13/2015
10
ระดับ 1 : ห้ามสัง่ ใช้เด็ดขาด มีระบบ Auto Stop
ชื่อยาที่มีปฏิกิริยาต่อกัน
Drug 1
Drug 2
ยา ARV กลุ่ม PI
Rifampicin
(Lopinavir, Indinavir,
Ergotamine
Ritonavir)
Thioridazine
Fluoxetine
Drug Interaction
Efavirenz
Onset
Effect
Rapid ทำให้ระดับยำกลุ่ม PI ลดลงเหลือร้อยละ 75
Rapid peripheral vascular constriction
Delayed Fluoxetine ยับยัง้ Metabolism ของ Thioridazine เกิด
prolongation of the QT interval และเพิม่ ควำมเสีย่ งกำรเสียชีวติ
จำก Torsade de pointes-type arrhythmias
Amiodarone Delayed เกิดกำรเสริมฤทธิ ์ prolongation of QT interval และเพิม่ ควำม
เสีย่ งกำรเสียชีวติ จำก Torsade de pointes-type arrhythmias
11
Ergotamine Rapid peripheral vascular constriction
4/13/2015
ระดับ 2 ห้ามใช้ แต่ถา้ จาเป็ นต้องมีวธิ ีจดั การ
ชื่อยาที่มีปฏิกิริยาต่อกัน
Drug 1
Drug 2
Adrenaline
Propranolol
Dopamine
Phenytoin
Warfarin
NSAIDs
ยา ARV กลุ่ม PI
(Lopinavir ,
DrugIndinavir,
Interaction
Ritonavir)
Simvastatin
Onset
Rapid
Rapid
Effect
Initial hypertensive
episodes followed by
bradycardia
Management
-
เมื่อจะให้ adrenaline ควรหยุดให้ propanolol ก่อน 3 วัน
-
หรือไม่ใช้ Adrenaline เลย
-
ควรตรวจวัด vital sign ของผู้ป่วย
-
หรืออาจเลือก selective beta blocker
Monitor BP หาก BP ตา่ หยุดให้ phenytoin
-
ติดตามภาวะเลือดออกของผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด
แนะนาผู้ป่วยให้รีบกลับมาพบแพทย์ทนั ทีเมื่อมีอาการ
อาจเกิด hypotension &
Cardiac arrest ได้
เพิ่มระดับ simvastatin เสี่ยง ต่อ side effect
-
ติดตามอาการแสดงของ myopathy, rhabdomyolysis pain
(unexplained muscle pain, tendeness or weakness)
มีการติดตามระดับ CPK level, LFT(AST,ALT)
4/13/2015
12
ระดับ 3 คู่ยาที่หากมีการสัง่ จ่ายต้องมีการเตือนเฝ้ าระวังอาการของผูป้ ่ วย
Onset
ชื่อยาที่มีปฏิกิริยาต่อกัน
Effect
Drug 1
Drug 2
Aminoglycoside Furosemide Delayed เพิม่ กำรเกิดพิษต่อหู
(Amikacin,Gentami
cin,Streptomycin)
Diuretic
Digoxin
(Furosemide,
Moduretic,HCTZ)
Simvastatin
Drug Interaction
Delayed
Gemfibrozil Delayed
Management
-
หลีกเลีย่ งยำในขนำดสูงมำกเกินไป โดยเฉพำะผูป้ ว่ ยทีม่ ปี ญั หำ
เรือ่ งไตอำจต้องลดขนำดยำ
- ตรวจกำรได้ยนิ ของผูป้ ว่ ย (ขนำดยำสัมพันธ์กบั ADR)
เพิม่ กำรขับK และMg ทำงปสั สำวะ - วัดระดับ K, Mg ในเลือด และควรเสริมให้ผทู้ ม่ี รี ะดับ K ต่ำ
และมีผลต่อกำรทำงำนของ
- ป้องกันโดยจำกัดอำหำรทีม่ ี Na ลง
กล้ำมเนื้อหัวใจ อำจเกิด arrhythmia
- หรือให้ใช้ยำในกลุม่ potassium-sparing diuretic
อำจทำให้เกิด myopathy หรือ
- ค่ำ serum creatine kinase และอำกำรแสดงของ myopathy และ
rhabdomyolysis อย่ำงรุนแรงได้ rhabdomyolysis (unexplained muscle pain , tenderness or
weakness) ในผูป้ ว่ ยสม่ำเสมอ
4/13/2015
13
ระดับ 4 คู่ยาที่หากมีการสัง่ จ่ายต้องปรับเวลาการให้ยา
ชื่อยาที่มีปฏิกิริยาต่อกัน
Drug 1
Drug 2
Ferrous
Antacid
Fumarate
Onset
Delayed
Doxycycline Ferrous
Fumarate
Delayed
Ketoconazole Antacid
Delayed
Quinolone
Rapid
Drug Interaction
Antacid
Effect
Management
กำรดูดซึมของ Iron ลดลง
-
ให้ Ferrous Fumarate ก่อน Antacid อย่ำง
น้อย 2 ชัวโมง
่ หรือ ให้หลัง Antacid อย่ำง
น้อย 3-4 ชัวโมง
่
ยำทัง้ สองตัวจับกัน ส่งผลให้ระดับยำและฤทิกำรยั
์ บยัง้ หลีกเลีย่ งกำรใช้ยำร่วมกัน หรือให้ยำทัง้ 2 กลุม่
เชือ้ ของ Doxycycline ลดลง และกำรดูดซึมของ Iron ห่ำงกัน 3-4 ชัวโมง
่ หรือเลือกใช้ Iron salts ชนิด
อำจลดลงด้วยเช่นกัน
Enteric-coated หรือ Sustained-release แทน
ทำให้กำรละลำยของ Ketoconazole ลดลง ผลของยำ ให้ Antacid หลัง Ketoconazole อย่ำงน้อย 2
Ketoconazole อำจลดลง
ชัวโมง
่
Antacid ไปลดกำรดูดซึมของ Quinolone ส่งผลให้
ฤทธิของ
์ Quinolone ลดลง
หลีกเลีย่ งกำรใช้ยำร่วมกัน หรือให้ Quinolone
ก่อน Antacid อย่ำงน้อย 2 ชัวโมง
่ หรือให้หลัง
4/13/2015
14
Antacid vอย่ำงน้อย 4-6 ชัวโมง
่
Food – Drug Interaction
ปฏิกริ ยิ าระหว่างอาหารกับยา
ความสัมพันธ์ของเวลาในการรับประทานยากับเวลาในการรับประทานอาหารมี
ความสาคัญต่อการออกฤทธิ์ของยา เพือ่ ให้ผูป้ ่ วยได้รบั ประสิทธิภาพทีด่ จี ากการ
ใช้ยา
การให้ผูป้ ่ วยรับประทานยาในเวลาทีส่ มั พันธ์กบั มื้ออาหารอย่างไม่เหมาะสมจะ
ส่งผลให้ระดับยาในกระแสเลือดสูงขึ้นหรือลดลงกว่าทีค่ วรจะเป็ น อาจทาให้อาการ
ป่ วยทรุดลงก็เป็ นได้
Drug Interaction
4/13/2015
16
Ref: http://www.med.cmu.ac.th/hospital/ha/Quality/Sl.HPT.Drug-Food%20Interaction2.ppt. เข้ำถึงเมื่อ 25/03/2557
กรณี ศึกษา 1
ดช. ก. อำยุ 8 ปี หนัก 25 กก. เข้ำโรงพยำบำลด้วย Mycoplasma
pneumonia แพทย์ให้ azithromycin IV ผูป้ ว่ ยมีอำกำรดีขน้ึ แพทย์
จึงเปลีย่ นเป็ น azithromycin suspension (200 มก./5 มล.) 6 ซีซ.ี
pc QD แต่หอ้ งยำแจ้งว่ำยำน้ำหมด หรือแต่ยำเม็ด ท่ำนได้
ประสำนงำนกับแพทย์ ร่วมกับพบว่ำผูป้ ว่ ยกลืนยำเม็ดได้ แพทย์จงึ
เปลีย่ นเป็ น azithromycin capsule 250 มก. วิธกี นิ เหมือนเดิม
Drug Interaction
4/13/2015
17
Ref: http://www.med.cmu.ac.th/hospital/ha/Quality/Sl.HPT.Drug-Food%20Interaction2.ppt. เข้ำถึงเมื่อ 25/03/2557
pc = รับประทานยาหลังอาหาร
Gastric
emptying time
Gastric
emptying time
1-2 ชัว่ โมง
0.5-1 ชัว่ โมง
Drug Interaction
รับประทานอาหาร
4/13/2015
18
Ref: http://www.med.cmu.ac.th/hospital/ha/Quality/Sl.HPT.Drug-Food%20Interaction2.ppt. เข้ำถึงเมื่อ 25/03/2557
pc = รับประทานยาหลังอาหาร
กรด กรด กรด กรด กรด
Gastric
emptying time
Gastric
emptying time
1-2 ชัว่ โมง
0.5-1 ชัว่ โมง
Drug Interaction
รับประทานอาหาร
4/13/2015
19
Ref: http://www.med.cmu.ac.th/hospital/ha/Quality/Sl.HPT.Drug-Food%20Interaction2.ppt. เข้ำถึงเมื่อ 25/03/2557
เกิดอะไรขึ้น
การรับประทานยาหลังอาหารทันที หรือภายใน 1-2 ชัวโมงหลั
่
ง
อาหาร จะพบว่า
ยาจะเจอกับอาหาร
ยาจะเจอกับกรดที่ถกู กระตุ้นมาให้ย่อยอาหาร
Drug Interaction
4/13/2015
20
Ref: http://www.med.cmu.ac.th/hospital/ha/Quality/Sl.HPT.Drug-Food%20Interaction2.ppt. เข้ำถึงเมื่อ 25/03/2557
เกิดอะไรขึ้น
ยำต้ำนจุลชีพ
ปริมำณยำทีด่ ดู ซึม (fed)/(fast)
Azithromycin suspension 500 mg เพิม่ ขึน้
Azithromycin capsule 500 mg
2
13%
ลดลง 50%3
At pH 2, Azithromycin decays by 10% in 20 mins1
Drug Interaction
1Drugs 1992;44(5):750-99. 2JAC 1996;37(SupplC):37-44. 3. Package insert Zithromax
4/13/2015
21
การกิน Azithromycin Capsule ที่ถกู ต้อง
กรด กรด กรด กรด กรด
Gastric
emptying time
Gastric
emptying time
1-2 ชัว่ โมง
0.5-1 ชัว่ โมง
Drug Interaction
รับประทานอาหาร
4/13/2015
22
Ref: http://www.med.cmu.ac.th/hospital/ha/Quality/Sl.HPT.Drug-Food%20Interaction2.ppt. เข้ำถึงเมื่อ 25/03/2557
การกิน Azithromycin Capsule ที่ถกู ต้อง
?
กรด กรด กรด กรด กรด
Gastric
emptying time
Gastric
emptying time
1-2 ชัว่ โมง
0.5-1 ชัว่ โมง
Drug Interaction
รับประทานอาหาร
4/13/2015
23
Ref: http://www.med.cmu.ac.th/hospital/ha/Quality/Sl.HPT.Drug-Food%20Interaction2.ppt. เข้ำถึงเมื่อ 25/03/2557
การกิน Azithromycin Suspension ที่ถกู ต้อง
กรด กรด กรด กรด กรด
Gastric
emptying time
Gastric
emptying time
1-2 ชัว่ โมง
0.5-1 ชัว่ โมง
Drug Interaction
รับประทานอาหาร
4/13/2015
24
Ref: http://www.med.cmu.ac.th/hospital/ha/Quality/Sl.HPT.Drug-Food%20Interaction2.ppt. เข้ำถึงเมื่อ 25/03/2557
Take Home Message #1
Gastric emptying time มีควำมสำคัญกับเวลำในกำรรับประทำนยำ
ยำชนิดเดียวกัน แต่คนละรูปแบบ (ยำน้ ำ หรือยำ แคปซูล) ก็
รับประทำนพร้อมหรือไม่พร้อมกับอำหำรแตกต่ำงกัน
หำกไม่มนใจเวลำรั
ั่
บประทำนยำ อย่ำคำดเดำ ควรเปิดค้นข้อมูล หรือ
ปรึกษำเภสัชกร
Drug Interaction
4/13/2015
25
Ref: http://www.med.cmu.ac.th/hospital/ha/Quality/Sl.HPT.Drug-Food%20Interaction2.ppt. เข้ำถึงเมื่อ 25/03/2557
กรณี ศึกษาที่ 2
เด็กชำย ก. อำยุ 5 ปี น้ำหนัก 18 กิโลกรัม เข้ำรับกำรรักษำตัวใน
โรงพยำบำลด้วย salmonella sepsis แพทย์สงจ่
ั ่ ำย ceftriaxone ฉีดเข้ำ
หลอดเลือดดำ อีก 3 วันต่อมำ อำกำรผูป้ ว่ ยดีขน้ึ ไข้ลดลง แพทย์
เปลีย่ นยำต้ำนจุลชีพจำกยำในรูปแบบฉีดเป็ นยำรับประทำน โดยแพทย์
เลือก ciprofloxacin (250 mg) 1 เม็ด วันละ 2 ครัง้ เช้ำ เย็น ให้
รับประทำน 1 วัน เพือ่ ดูวำ่ จะมีไข้กลับซ้ำหรือไม่ หำกไม่มไี ข้กจ็ ะให้
ผูป้ ว่ ยกลับบ้ำนพร้อม ciprofloxacin
26
Drug Interaction
4/13/2015
Ref: http://www.med.cmu.ac.th/hospital/ha/Quality/Sl.HPT.Drug-Food%20Interaction2.ppt. เข้ำถึงเมื่อ 25/03/2557
กรณี ศึกษาที่ 2
พยาบาลเบิกยา และให้ ciprofloxacin แก่ผป้ ู ่ วย ณ เวลา 9.00 น.
และ 21.00 น. วันรุ่งขึน้ ผูป้ ่ วยมีไข้ตา่ ๆ แพทย์จึงสงสัยว่า
ciprofloxacin อาจไม่ได้ผล แต่เภสัชกรที่ร่วมทีมสังเกตว่าหัวเตียง
ผูป้ ่ วยมีนมกล่องอยู่ จึงสอบถามแม่ของผูป้ ่ วย ได้ความว่า แม่ให้นม
ลูกในช่วงหลังรับประทานยาตอนเย็น
Drug Interaction
4/13/2015
27
Ref: http://www.med.cmu.ac.th/hospital/ha/Quality/Sl.HPT.Drug-Food%20Interaction2.ppt. เข้ำถึงเมื่อ 25/03/2557
เกิดอะไรขึน้
Ciprofloxacin จับกับธาตุที่มีประจุ 2-3 บวกในนม คือ
แคลเซียม (Ca2+) ได้เป็ นสารที่ไม่ถกู ดูดซึมและไม่มีฤทธ์ ิ ใน
การฆ่าเชื้อ ทาให้ระดับยา ciprofloxacin ในเลือดตา่ ลง จึงทา
ให้อาการไข้ของผูป้ ่ วยกลับเป็ นใหม่อีกครัง้
Drug Interaction
4/13/2015
28
Ref: http://www.med.cmu.ac.th/hospital/ha/Quality/Sl.HPT.Drug-Food%20Interaction2.ppt. เข้ำถึงเมื่อ 25/03/2557
แล้วกิน ciprofloxacin พร้อมอาหารได้ไหม?
ไม่ควรให้ ciprofloxacin พร้อมอาหาร เนื่ องจากในอาหาร
อาจมีธาตุที่มีประจุ 2-3 บวกอื่นๆ เช่น เหล็ก (Fe2+, Fe3+),
อลูมิเนี ยม (Al3+) หรือ แมกนี เซียม (Mg2+) เป็ นต้น
Drug Interaction
4/13/2015
29
Ref: http://www.med.cmu.ac.th/hospital/ha/Quality/Sl.HPT.Drug-Food%20Interaction2.ppt. เข้ำถึงเมื่อ 25/03/2557
แล้วอะไรอีกที่ห้ามกินพร้อม ciprofloxacin?
ในปจั จุบนั มีควำมนิยมดืม่ น้ ำดืม่ ทีม่ แี ร่ธำตุต่ำงๆ ผสมอยูม่ ำก เช่น น้ ำแร่
ซึง่ มักมีทงั ้ ธำตุประจุ 2-3 บวกร่วมอยูด่ ว้ ย จึงไม่ควรรับประทำน
ciprofloxacin พร้อมน้ ำแร่
Drug Interaction
4/13/2015
30
Ref: http://www.med.cmu.ac.th/hospital/ha/Quality/Sl.HPT.Drug-Food%20Interaction2.ppt. เข้ำถึงเมื่อ 25/03/2557
ปฏิกิริยานี้ เกิดกับยาต้านจุลชีพในกลุ่มเดียวกับ
ciprofloxacin หรือไม่?
ปฏิกิริยาระหว่าง ciprofloxacin กับธาตุที่มีประจุ 2-3 บวกนี้ เกิด
กับยาในกลุ่ม fluoroquinolones ทุกชนิด ไม่ว่าจะเป็ น
norfloxacin, ofloxacin, levofloxacin และ moxifloxacin
เพียงแต่ยาบางชนิดอาจมีนัยสาคัญทางคลินิกน้ อยกว่ายาตัว
อื่นๆ อย่างไรก็ตาม ยังควรต้องระมัดระวังการใช้ยากลุ่มนี้ กบั
ธาตุที่มีประจุ 2-3 บวก
Drug Interaction
4/13/2015
31
Ref: http://www.med.cmu.ac.th/hospital/ha/Quality/Sl.HPT.Drug-Food%20Interaction2.ppt. เข้ำถึงเมื่อ 25/03/2557
จะป้ องกันการเกิดปฏิกิริยานี้ ได้อย่างไร
รับประทานยากลุ่ม fluoroquinolones ให้ห่างจากอาหารหรือนม
อย่างน้ อย 2 ชัวโมงหากไม่
่
สามารถงดนมได้ และควรเฝ้ าระวัง
อาการไข้กลับซา้ ในผูป้ ่ วยเหล่านี้
Drug Interaction
4/13/2015
32
Ref: http://www.med.cmu.ac.th/hospital/ha/Quality/Sl.HPT.Drug-Food%20Interaction2.ppt. เข้ำถึงเมื่อ 25/03/2557
Take Home Message #2
เวลำให้ยำ ณ 9.00 น. และ 21.00 น. ไม่ใช่เวลำอำหำรของโรงพยำบำล
แต่อำหำรทีผ่ ปู้ ว่ ยรับประทำนจริงไม่ได้หมำยถึงอำหำรทีโ่ รงพยำบำลจัด
ให้เสมอไป บ่อยครัง้ ทีผ่ ปู้ ว่ ยจะซือ้ อำหำรทีต่ นชอบเก็บไว้รบั ประทำนเอง
Drug Interaction
4/13/2015
33
Ref: http://www.med.cmu.ac.th/hospital/ha/Quality/Sl.HPT.Drug-Food%20Interaction2.ppt. เข้ำถึงเมื่อ 25/03/2557
Take Home Message #2
ปฏิกิริยาระหว่าง fluoroquinolones กับนม ที่จริงเป็ น
ปฏิกิริยากับธาตุที่มีประจุ 2-3 บวก ไม่ใช่นมเท่านัน้ ดังนัน้
น้าแร่ซึ่งไม่ใช่นม หรืออาหารบางชนิด แต่มีธาตุที่มีประจุ 2-3
บวกก็เกิดปฏิกิริยากับยาได้
Drug Interaction
4/13/2015
34
Ref: http://www.med.cmu.ac.th/hospital/ha/Quality/Sl.HPT.Drug-Food%20Interaction2.ppt. เข้ำถึงเมื่อ 25/03/2557
ยาใดบ้างที่ควรทานก่อนอาหาร
Drug Interaction
4/13/2015
35
รายการยาที่ตอ้ งรับประทานก่อนอาหาร 30 นาที หรือตอนท้องว่าง
รายการยา
Cloxacillin,
Dicloxacillin
Domperidone
Eltroxin
Gemfibrozil
Glibenclamide
Glicazide
Glipizide
Drug Interaction
เหตุที่ต้องทานก่อนอาหาร
อำหำรลดกำรดูดซึมของยำ
กำรให้ก่อนอำหำร 15-30 นำที ทำให้เวลำถูกดูดซึมและออกฤทธิ ์ไม่ให้อำเจียน หรือช่วยลดอำกำร
แน่นท้องหลังรับประทำนอำหำร ยกเว้นกรณีสงใช้
ั ่ เพือ่ วัตถุประสงค์อ่นื เช่น กระตุน้ กำรหลังน
่ ้ำนม
อำหำรลดกำรดูดซึมของยำ
อำหำรลดกำรดูดซึมของยำ หำกให้หลังอำหำร AUC ลดลง 14 – 44%
ควรรับประทำนก่อนอำหำรครึง่ ชัวโมง
่
เนื่องจำกระยะเวลำในกำรออกฤทธิ ์คือ 15 – 60 นำที กำร
ทำนก่อนอำหำรจะทำให้เวลำยำออกฤทธิ ์ใกล้เคียงกับระดับน้ ำตำลทีเ่ พิม่ จำกอำหำร
36
4/13/2015
รายการยาที่ตอ้ งรับประทานก่อนอาหาร 30 นาที หรือตอนท้องว่าง
รายการยา
Omeprazole
Penicillin V
Roxithromycin
Cyproheptadine
Isosorbide dinitrate
Metformin
Drug Interaction
เหตุที่ต้องทานก่อนอาหาร
อำหำรลดอัตรำเร็วในกำรดูดซึม แต่ไม่ได้ลดปริมำณยำทีด่ ดู ซึม แต่เพือ่ ประสิทธิภำพสูงสุด
ควรทำนยำก่อนอำหำร
อำหำรลดกำรดูดซึมของยำ
อำหำรลดกำรดูดซึมของยำ
ควรให้ก่อนอำหำรกรณีตอ้ งกำรให้เป็ นยำเจริญอำหำร
ยำออกฤทธิ ์ได้ดหี ำกทำนตอนท้องว่ำง (ก่อนอำหำร 1 ชัวโมง
่ หรือหลังอำหำร 2 ชัวโมง)
่
ยกเว้นกรณีมอี ำกำรข้ำงเคียงสำมำรถปรับเป็ นหลังอำหำรได้
อำหำรลดกำรดูซมึ ของยำ แต่อำจทำนพร้อมอำหำรหรือหลังอำหำรได้ หำกระคำยเคือง
37
กระเพำะ
4/13/2015
Take Home Message #3
ยาต้านจุลชีพไม่ใช่ต้องกินก่อนอาหารเสมอไป บางชนิด “ต้อง” กินหลัง
อาหาร
การกินยา “หลังอาหาร” จะหมายถึงการกินยา “หลังอาหารทันที” หรือ
“หลังอาหารไม่เกิน 1-2 ชัวโมง”
่
เพราะยาจะเจอกับกรดในกระเพาะอาหาร
“หลังอาหารเกิน 2 ชัวโมง”
่
จะเท่ากับการกินยา “ก่อนอาหาร”
Drug Interaction
4/13/2015
38
Ref: http://www.med.cmu.ac.th/hospital/ha/Quality/Sl.HPT.Drug-Food%20Interaction2.ppt. เข้ำถึงเมื่อ 25/03/2557
ยาบางชนิ ด
ยำบำงชนิดอำจให้รบั ประทำนเฉพำะเวลำ แต่ไม่ใช่เหตุผลทีเ่ กีย่ วข้อง
กับอำหำร เช่น
ยำลดน้ ำตำลในเลือดกลุม่ sulfonylurea: รับประทำนก่อนอำหำรครึง่ ชัวโมง
่
เพือ่ ให้ยำออกฤทธิ ์ทัน ก่อนทีน่ ้ ำตำลในเลือดจะสูงขึน้ จำกอำหำร
ยำลดน้ ำตำลในเลือด acarbose: รับประทำนพร้อมอำหำรคำแรก เพรำะยำ
จะยับยัง้ กำรเปลีย่ นจำกน้ ำตำลโมเลกุลใหญ่เป็ นน้ ำตำลโมเลกุลเล็กลง
Drug Interaction
4/13/2015
39
Ref: http://www.med.cmu.ac.th/hospital/ha/Quality/Sl.HPT.Drug-Food%20Interaction2.ppt. เข้ำถึงเมื่อ 25/03/2557
ยาบางชนิ ด
ยาบางชนิดจะหลีกเลี่ยงอาหารบางอย่างในช่วงระหว่างการ
รับประทานยา เช่น โปรตีนจะแย่งกับ levodopa ในการดูดซึมเข้า
กระแสเลือด
น้า grapefruit มีฤทธ์ ิ ยบั ยัง้ การเปลี่ยนสภาพยาบางชนิดในร่างกาย
ทาให้ระดับยาในเลือดสูงขึน้ จนอาจเกิดพิษได้ เช่น ยากลุ่ม
protease inhibitors
40
Drug Interaction
4/13/2015
ยาบางชนิ ด
อาหารหมักดอง ไม่ควรรับประทานในช่วงรับประทานยารักษา
ซึมเศร้าในกลุ่ม MAOIs เพราะอาหารหมักดองมีสาร tyramine ซึ่งปกติ
จะถูกเอนไซม์ MAO ทาลาย เมื่อรับประทานร่วมกับ MAOIs ก็จะทาให้
tyramine สะสมในร่างกาย เกิดความดันโลหิตสูง stroke, MI ได้
ตัวอย่างยา MAOIs คือ phenelzine, selegiline เป็ นต้น
Drug Interaction
4/13/2015
41
Ref: http://www.med.cmu.ac.th/hospital/ha/Quality/Sl.HPT.Drug-Food%20Interaction2.ppt. เข้ำถึงเมื่อ 25/03/2557
สรุป
ก่อนอาหาร 1
ชัวโมง
่
ก่อนอาหาร
ครึ่งชัวโมง
่
หลังอาหาร >
2 ชัวโมง
่
อาหารไม่เจอกับกรดและยา
Drug Interaction
4/13/2015
42
Ref: http://www.med.cmu.ac.th/hospital/ha/Quality/Sl.HPT.Drug-Food%20Interaction2.ppt. เข้ำถึงเมื่อ 25/03/2557
บทสรุป
พร้อมอาหาร
หลังอาหาร
ภายใน 2 ชัวโมง
่
Drug Interaction
หลังอาหาร
ทันที
อาหารเจอกับกรดและยา
4/13/2015
43
Ref: http://www.med.cmu.ac.th/hospital/ha/Quality/Sl.HPT.Drug-Food%20Interaction2.ppt. เข้ำถึงเมื่อ 25/03/2557
Question ?
Drug Interaction
4/13/2015
44