การกำหนดตัวแปร กรอบแนวคิดในการวิจัย การกำหนดข้อตกลงเบื้องต้น

Download Report

Transcript การกำหนดตัวแปร กรอบแนวคิดในการวิจัย การกำหนดข้อตกลงเบื้องต้น

Slide 1

การกาหนดตัวแปร
กรอบแนวคิดในการวจัย
การกาหนดข้ อตกลงเบือ้ งต้ น
การเลือกประชากรและกลุ่มตัวอย่ าง
อ. ดาว เวียงคา
สานักวิชาพยาบาลศาสตร์
มหาวิทยาลัยนเรศวร วิทยาเขตสารสนเทศพะเยา
วันที่ 17 กพ.2550


Slide 2

ตัวแปร
 สิ่ งทีเ่ ปลีย
่ นค่ าไปได้ หลายค่ าทั้งทีเ่ ป็ นคุณลักษณะ คุณสมบัติของสิ่ งที่

สนใจจะนามาศึกษาและสามารถวัดได้
 ลักษณะของสิ่ งหรื อประชากรทีศ
่ ึกษาทีผ่ ู้วจิ ัยสนใจ สามารถวัดได้ นับได้

และลักษณะนั้นไม่ คงทีส่ ามารถแปรเปลีย่ นได้ หลายค่ า


Slide 3

ตัวแปร (Variable)
-

-

คุณลักษณะทีผ่ ้ ูวจิ ัยต้ องการศึกษา
สามารถสั งเกตและวัดได้
สอดคล้ องกับวัตถุประสงค์ และหัวเรื่องทีว่ จิ ัย


Slide 4

ชนิดของตัวแปร
 แบ่ งตามการวัด

–ตัวแปรต่ อเนื่อง
–ตัวแปรไม่ ต่อเนื่อง

 แบ่ งตามลักษณะ

–ตัวแปรต้ น
–ตัวแปรตาม
–ตัวแปรแทรกซ้ อน


Slide 5

ตัวแปรต้ นมีลกั ษณะ
เป็ นตัวแปรต้ นเหตุ
เป็ นตัวแปรทีต
่ ้ องเกิดขึน้ ก่ อน
เป็ นตัวแปรทีจ
่ ัดกระทาขึน้
มีลก
ั ษณะเป็ นตัวทานาย
เป็ นตัวกระตุ้น
มีความคงที่


Slide 6

ตัวแปรตามมีลกั ษณะ
เป็ นตัวแปรทีเ่ ป็ นผลเกิดขึน

เกิดขึน
้ ภายหลัง
เกิดขึน
้ เองโดยที่ไม่ สามารถจัดกระทาขึน้ ได้ ในการ

ทดลอง
เป็ นตัวถูกทานาย
เป็ นตัวตอบสนอง
มีการเปลีย
่ นแปลง


Slide 7

ตัวแปรแทรกซ้ อนหรือตัวแปรภายนอก
ตัวแปรอืน
่ นอกเหนือจากตัวแปรอิสระหรือตัวแปร

ต้ นที่มีอทิ ธิพลต่ อตัวแปรตามซึ่งเป็ นสิ่ ง
นอกเหนือจากสิ่ งที่ต้องการศึกษา


Slide 8

การวัดตัวแปร
การวัดเป็ นการกาหนดค่ าให้ กบ
ั ตัวแปรทีต่ ้ องการวัด
ระดับของการวัด

– การวัดระดับนามบัญญัติ (norminal scale)
– การวัดระดับแบจัดอันดับ (Ordinal scale)
– การวัดระดับอัตรภาคหรือระดับช่ วง (interval scale)
– การวัดระดับอัตราส่ วน (ratio scale)


Slide 9

การนิยามคา
การให้ ความหมายของคา วลี หรื อแนวคิดที่มี

ความหมายเฉพาะเจาะจง มีขอบเขต และอาจจะไม่
เหมือนความหมายโดยทัว่ ไป
ช่ วยให้ ผ้ ูอ่านเข้ าใจความหมายของคาทีใ่ ช้


Slide 10

กรอบแนวคิดในการวิจัย
วัตถุประสงค์ ของการเรียนเพือ่ ให้ นักศึกษาสามารถ

 อธิบายความสาคัญของกรอบแนวคิดต่ อการวิจัยได้

 วิเคราะห์ ถึงลักษณะการเขียนกรอบแนวคิดในแบบต่ างๆ


Slide 11

กรอบการวิจัย
การกาหนดกรอบการวิจัยคือการประมวลความคิด

รวบยอดว่ างานวิจัยทีท่ าอยู่ประกอบด้ วยตัวแปร
อะไรบ้ างและมีความสั มพันธ์ กนั อย่างไร อะไรเป็ น
ตัวแปรต้ น ตัวแปรตาม


Slide 12

กรอบการวิจัย
 กรอบเป็ นโครงสร้ างทีม
่ ีเหตุมีผลและเป็ นนามธรรมของ

ความหมายทีจ่ ะช่ วยพัฒนางานวิจยั ทาให้ นักวิจยั เชื่อมโยง
ผลการวิจยั สู่ การสร้ างความรู้ ได้
 กรอบการวิจย
ั อาจมาจากองค์ ความรู้ ซึ่งเป็ นทฤษฎีหรือมโนทัศน์
เรียกว่ า กรอบทฤษฎี (theoretical framework)
 กรอบการวิจย
ั มาจากผลการวิจยั หลายเรื่องหรือประสบการณ์ที่มี
ข้ อมูลสนับสนุน เรียกว่ ากรอบแนวคิด (conceptual
framework)


Slide 13

ความสาคัญของกรอบแนวคิด
สร้ างความชัดเจนในแนวคิดทีใ่ ช้ ใน

การศึกษา
เสนอถึงความสั มพันธ์ ระหว่ างตัวแปรที่
ศึกษา
ให้ แนวทางในการแปลผลการวิจัย


Slide 14

การเขียนกรอบแนวคิด
การพรรณนา บรรยายถึงความสั มพันธ์

ของตัวแปร
แสดงด้ วยสั ญลักษณ์ สมการหรือ
แบบจาลอง
แผนภาพ
แบบผสมผสาน


Slide 15

การแสดงด้ วยแผนภาพ
การศึกษาเรื่องความสั มพันธ์ ระหว่ างปัจจัยคัดสรรกับการดูสุขภาพ
ตนเองของเด็กนักเรียน

องค์ประกอบด้านคุณลักษณะส่ วนบุคคล

โครงสร้างครอบครัว ได้แก่การอยูร่ ่ วมกันของบิดามารดา
จานวนสมาชิกในครอบครัว

สภาพแวดล้อมในโรงเรี ยน

ความสามารถในการดูแลตนเอง
การดูแลตนเองทัว่ ไป
การดูแลในระยะพฒนาการ
การดูแลตนเองตามเบี่ยงเบน
ภาวะสุ ขภาพ


Slide 16

ข้ อตกลงเบือ้ งต้ น
ส่ วนใหญ่ นักวิจัยทั้งหลายชอบมองข้ าม
เป็ นการยอมรั บว่ าจริ งบนพืน
้ ฐานของเหตุและผลที่

ไม่ ได้ พสิ ู จน์


Slide 17

ข้ อจากัด/การลดข้ อจากัด
พูดถึงสิ่ งทีน
่ ักวิจัยไม่ ได้ ทา
ข้ อจากัดและขอบเขตของปัญหา
เมื่อแปลผลทีค
่ ้ นพบให้ คานึงถึงข้ อจากัดต่ างๆด้ วย


Slide 18

การเลือกประชากรและ กล่ ุม
ตัวอย่ าง


Slide 19

จุดประสงค์ การเรียนร้ ู
อธิบายความหมายของประชากรและกลุ่ม

ตัวอย่ างได้
กาหนดขนาดของตัวอย่ างได้
เลือกตัวอย่ างได้


Slide 20

ความหมาย
ประชากร (Population):
ทุกหน่ วยของสิ่ งทีจ่ ะศึกษา
ศึกษาน้าหนักทารกแรกคลอดก่ อนกาหนด

จาก

มารดาวัยรุ่น
ศึกษาการปนเปื้ อนของเชื้อวัณโรคในเสมหะของสั ตว์ ที่
เป็ นโรคเอดส์


Slide 21

ประชากร คือ ทารกแรกคลอดก่อนกาหนดจากมารดา
วัยรุ่นทุกคน

ประชากร คือ เสมหะของสั ตว์ ทเี่ ป็ นโรคเอดส์ ทุกตัว
สรุปประชากร คือ ทุกหน่ วยทีต่ ้ องการศึกษาทั้งคน สั ตว์
สิ่ งของ สารที่สร้ างหรือขับออกจากร่ างกาย เช่ น เสมหะ
เลือด อุจจาระ เป็ นต้ น


Slide 22

ประชากรเป้าหมาย (Target
population) :

กลุ่มประชากรทีผ่ ู้วจิ ยั ต้ องการสรุปไปถึงหรือ
ประชากรทีผ่ ้ ูวจิ ยั กาหนดขอบเขตชัดเจน
นา้ หนักทารกแรกคลอดก่ อนกาหนดจากมารดาวัยรุ่น

คลอดที่โรงพยาบาลราชวิถี เป็ นต้ น


Slide 23

ประชากรตัวอย่ าง (population sample or
accessible population): กลุ่มประชากรที่

ผู้วจิ ัยกาหนดจะศึกษา เป็ นแหล่ งทีจ่ ะเลือกตัวอย่ างออกมาจึง
มีการกาหนดขอบเขตให้ เฉพาะเจาะจงชัดเจนยิง่ ขึน้
มารดาวัยรุ่ นทีค
่ ลอดในโรงพยาบาลราชวิถีระหว่ างเดือน
มกราคม ถึง ธันวาคม 2544 เป็ นต้ น
การกาหนดประชากรตัวอย่ างนีต้ ้ องมีคุณสมบัตเิ หมือน
ประชากรเป้ าหมาย เพือ่ ป้ องกันการเกิดอคติในการเลือก
ตัวอย่ าง


Slide 24

ตัวอย่ าง (Sample): หน่ วยทีถ่ ูกเลือกออกจาก
ประชากรตัวอย่ าง เพือ่ เป็ นตัวแทนของประชากร ข้ อมูล
ทีไ่ ด้ จากตัวอย่ าง สามารถสรุปไปถึงกลุ่มประชากร
เป้ าหมายได้
ประชากรต่ อเด็กแรกคลอดก่ อนกาหนดจากมารดา
วัยรุ่นทีค่ ลอดในโรงพยาบาลราชวิถจี านวน 1,000 คน
ตัวอย่ าง คือ บางส่ วนของ 1,000 คน ที่เลือกมาศึกษา


Slide 25

การกาหนดขนาดตัวอย่ าง


Slide 26

สิ่ งที่ควรพิจารณา
 งบประมาณสาหรั บเป็ นค่ าใช้ จ่ายในการวิจย

 ระยะเวลาในการศึกษาวิจย
ั ระยะเวลาสั้ นหรือยาว

 ความเชื่อมั่น ระดับความเชื่อมั่น 95 % ความเชื่อมั่น 99 %,


Slide 27

สิ่ งที่ควรพิจารณา
 ความคลาดเคลือ
่ น หมายถึง ความแตกต่ างระหว่ างค่ าสถิติ

(statistics) กับค่ าพารามิเตอร์
(parameters) ยอมให้ มีค่าคลาดเคลือ่ น (error)

± 1, ± 2 หรือมากกว่ า
 ขนาดของประชากร และความหลากหลายของประชากร ถ้ ามี
ความหลากหลายมากก็ควรสุ่ มตัวอย่ างขนาดใหญ่ ขนึ้


Slide 28

ถ้ าตัวอย่ างมีขนาดใหญ่ ขนึ้
ความคลาดเคลือ
่ นน้ อยลง
ความเชื่ อมัน
่ สู งขึน้
ความคลาดเคลือ
่ นในการสุ่ มตัวอย่ างจะน้ อยลง
อย่ างไรก็ตามถ้ ายิง่ เพิม
่ ขนาดตัวอย่ างใหญ่ ขึน้ ๆ ถึงจุดหนึ่ง

อาจจะมีผลในทางกลับลงมาก็ได้ รวมทั้งการสุ่ มตัวอย่ าง
ขนาดใหญ่ มกั จะมีปัญหาอันเนื่องมาจากกระบวนการ
บริหาร


Slide 29

วิธีการกาหนดขนาดตัวอย่ าง
ตารางสาเร็จรูป
 เครซีและมอร์ แกน (Krejeic of Morgan, 1970) เป็ น

ตารางสาเร็จรู ปทีแ่ สดงจานวนประชากรและกลุ่มตัวอย่ างไว้ ให้
ผู้วจิ ยั สามารถเลือกได้ ทนั ที ขนาดความคลาดเคลือ่ น ไม่ เกินร้ อยละ
5
ขนาดกลุ่มตัวอย่ างตามแนวคิดของ Yamane


Slide 30

การกาหนดขนาดของตัวอย่ างตามแนวคิดของ

Yamane ใช้ กบ
ั ข้ อมูล Interval scale,
Ratio scale
ตารางของ Yamane จะมีอยู่ 2 ตาราง คือ ตาราง

กาหนดระดับความเชื่อมัน่ ที่ 95 % และ 99 %
การใช้ ตารางทั้ง 2 นี้ ควรพิจารณาปัจจัยเหล่ านีค
้ อื
ก. พิจารณาว่ าจะให้ ความเชื่อมั่นเป็ น 95 % หรือ 99 %
ข. ต้ องสามารถประมาณขนาดของประชากร (N) ได้
ค. กาหนดความคลาดเคลือ่ นทีผ่ ู้วจิ ยั ยอมรับได้


Slide 31

การคานวณขนาดของกลุ่มตัวอย่ าง
 ใช้ สูตรของ Yamane

(1973:725)
 e = ความคลาดเคลือ
่ นของการสุ่ มตัวอย่ าง (0.05 หรือ 0.01)
 N = ขนาดของประชากร
 n = ขนาดของกลุ่มตัวอย่ าง


Slide 32

การคานวณขนาดของกลุ่มตัวอย่ าง (Daniel, 1995)
 ตัวอย่ าง การวางแผนสารวจภาวะสุ ขภาพตามสุ ขบัญญัติกระทรวง

สาธารณสุ ขในพืน้ ทีเ่ ขต เทศบาลเมืองราชบุรี โดยการศึกษาในกลุ่มตัวอย่ าง
ที่มีสัดส่ วนประชากรไม่ เกิน 0.35 ในระดับความเชื่อมั่น 95 % ซึ่งมีค่าผล
คูณค่ าสั มประสิ ทธิ์ความเชื่อมั่น และความคลาดเคลือ่ นมาตรฐาน (d)
= 0.05

Z = 1.96, p = .35, q =
.65, d = .05


Slide 33

ข้ อเสนอแนะ: ขนาดของกลุ่มตัวอย่ าง
ถ้ าขนาดกลุ่มประชากรมีเป็ น “จานวนร้ อย” ควรใช้ กลุ่ม

ตัวอย่ าง อย่ างน้ อยร้ อยละ 25
ถ้ าประชากรเป็ น “จานวนพัน” ใช้ กลุ่มตัวอย่ าง อย่ างน้ อย
ร้ อยละ 10
ถ้ าประชากรเป็ น “จานวนหมืน
่ ” ใช้ กลุ่มตัวอย่ าง อย่ าง
น้ อยร้ อยละ 1


Slide 34

การเลือกตัวอย่ าง


Slide 35

แบ่ งเป็ น 2 วิธี
เลือกโดยอาศัยความน่ าจะเป็ น

เป็ นการเลือกทีท่ ราบโอกาส
ว่ าแต่ ละหน่ วยของประชากรจะถูกเลือกเป็ นตัวอย่ างมีเท่ าใด
แบ่ งเป็ น 2 กรณี
1. กรณีประชากรมีลกั ษณะคล้ ายคลึงกัน (Homogeneous)
2. กรณีประชากรมีลกั ษณะต่ าง ๆ กัน (Heterogeneous)
เลือกโดยไม่ คานึงถึงโอกาสทีถ
่ ูกเลือก, ไม่ อาศัยความน่ าจะ
เป็ น


Slide 36

เลือกโดยอาศัยความน่ าจะเป็ น
1. ประชากรมีลกั ษณะคล้ายคลึงกัน
Ω การสุ่ มตัวอย่ างแบบง่ าย (Simple random

sampling) เป็ นการเลือกทีท
่ ุกๆ หน่ วยของ

ประชากรมีโอกาสถูกเลือกเท่ าๆ กัน แบ่ งเป็ น การจับ
ฉลาก และการใช้ ตารางเลขสุ่ ม


Slide 37

การจับฉลาก
 เขียนกรอบบัญชีรายชื่อ: รวบรวมทุกหน่ วยของประชากรมาอยู่ใน

รายการและให้ หมายเลขกากับ
 ทาฉลากหมายเลขเท่ าประชากรเป้าหมายทีอ
่ ยู่ในกรอบบัญชีรายชื่อ
 นาฉลากมาเคล้ าปนกันให้ ทั่ว
 จับฉลากขึน
้ มาครั้งละ 1 ใบ ให้ ครบจานวนตัวอย่ างที่ต้องการ
- แบบไม่ มีการแทนที่
- แบบมีการแทนที่: ไม่ นิยมวิธีการแทนทีย่ กเว้ นผู้วจิ ยั
ออกแบบการวิจยั ไว้ เช่ นนั้น


Slide 38

การใช้ ตารางเลขสุ่ ม
เป็ นตารางทีป
่ ระกอบด้ วยตัวเลขทีถ่ ูกจัดเรียงลาดับด้ วยการ

สุ่ มไว้ แล้ วมีจานวนเลขคู่และเลขคีเ่ ท่ า ๆ กัน ปกติจะมี
จานวนเลข 0 ถึง 9 เท่ า ๆ กัน มีท้งั หมดเลขละ 1,000 ตัว
แบ่ งเป็ น 100 สดมภ์ (Column) และ 100 แถว (Row) เลขแต่
ละกลุ่มจะมีตวั เลข 5 ตัว หรือ 5 หลัก เพือ่ สะดวกแก่ การใช้
กาหนดกรอบตัวอย่ าง กรณีการวิจัยทีไ่ ม่ สามารถกาหนด
หรือสร้ างกรอบตัวอย่ างได้ ต้องใช้ การสุ่ มวิธีอนื่
กาหนดขนาดตัวอย่ างทีต
่ ้ องการสุ่ ม (n)


Slide 39

 กาหนดจานวนหลักตัวเลขทีจ
่ ะสุ่ ม
 กาหนดทิศทางการอ่ านให้ แน่ ว่าจะอ่ านจากขวาไปซ้ าย บนมาล่ าง
 หาเลขเริ่ มต้ นโดยการสุ่ ม: ใช้ ดน
ิ สอจิม้ ตัวเลขในตาราง ได้ ตัวใดตัว

นั้นคือเลขเริ่มต้ น
 อ่ านเลขตามจานวนหลักทีต
่ ้ องการ อ่ านตามทิศทางที่กาหนด ถ้ า
อ่ านแบบเลขซ้ากันให้ ข้ามไป หรือเลขสุ่ มนั้นมีค่าเกินกว่ าจานวน
หลักของประชากรให้ อ่านข้ ามไป หรือตัดทิง้
 เรี ยกเลขสุ่ มจนครบตามจานวนตัวอย่ างจึงหยุด แต่ ถ้าอ่ านครบ
ตารางแล้ วยังไม่ พอให้ เริ่มต้ นสุ่ มตัวแรกใหม่


Slide 40

ข้ อสั งเกต: ควรใช้ กบั ประชากรทีค่ ล้ ายคลึงกัน
ข้ อดี
ข้ อเสี ย
1. ง่ ายและสะดวกใน
1. ไม่ เหมาะกับประชากรทีม่ ีความแตกต่ าง
การใช้ แต่ ควรใช้ กบั
มาก เพราะมีผลทาให้ ความแปรปรวนของ
ประชากรทีเ่ ป็ นเอก
ค่ าประมาณมาก ค่ าพารามิเตอร์ ที่คานวณ
พันธ์ มากๆ
ได้ ไม่ น่าเชื่อถือ
2. ปัญหาในการ

ประมาณค่ าต่ างๆ
มีน้อย

2. อาจเสี ยค่ าใช้ จ่ายสู ง เพราะใช้ ขนาดตัวอย่ าง

ใหญ่ เพือ่ ควบคุมขนาดคลาดเคลือ่ นจาก
การใช้ ตัวอย่ างกับประชากรทีม่ ีความ
แปรปรวนมาก


Slide 41

Ω แบบมีระบบ (Systemic random
sampling)
สุ่ มหน่ วยเริ่ มต้ น
คานวณระยะห่ างของหน่ วยต่ อไปโดยใช้ สูตร

I = N/n
I = ระยะห่ าง
N = จานวนประชากร
n = จานวนตัวอย่ างทีต่ ้ องการ


Slide 42

นับระยะห่ างเท่ าๆ กัน

เลขเริ่มต้ น, เลขเริ่มต้ น + I,
เลขเริ่มต้ น + 2I, เลขเริ่มต้ น +3I, ...เลขเริ่มต้ น +
(n-1)I

กาหนดหมายเลขตัวอย่ าง:

มีประชากร (N) 600 จานวน ต้ องการตัวอย่ าง (n) 80 จานวน
คานวณระยะห่ าง = 600/80 = 7.5 ประมาณ 8
สุ่ มเลขเริ่มต้ น-จับฉลากก็ได้ ใน 600 จานวน สมมุตไิ ด้ เลข 5 ดังนั้น
ตัวอย่ างหมายเลขแรกคือ 5 ตัวอย่ างตัวต่ อๆ ไป คือ
5 + 8 , 5 + 2 (8) , 5 + 3 (8) …… 5 + (80 -1) (8)


Slide 43

ข้ อสั งเกต : ใช้ เมื่อไม่ ทราบขนาดประชากร หรือกรอบตัวอย่ างก่อนปฏิบัติงาน

ข้ อดี

ข้ อเสี ย

1. ทาได้ ง่าย เข้ าใจง่ าย ลดความผิดพลาด
1. ถ้ า “n” หาร N ไม่ ลง
เมื่อไม่ ทราบขนาดประชากร หรือกรอบ
ตัวได้ ตัวอย่ างไม่
ตัวอย่ างก็ส่ ุ มตัวอย่ างได้ :
แน่ นอน
จานวนนักท่ องเที่ยวจะไม่ ทราบ ก็สารวจทุกๆ
10 คน จนครบ 50 คน
2. มีประสิ ทธิภาพกว่ าการสุ่ มอย่ างง่ าย


Slide 44

2. ประชากรมีลกั ษณะต่ างๆ กัน
Ω แบบแบ่ งพวก/แบ่ งชั้น (Stratified
random sampling) เหมาะ
สาหรับประชากรที่มีหลายลักษณะรวมกัน
คานวณ/เปิ ดตารางหาจานวนตัวอย่ างที่ต้องการ
คานวณตัวอย่ างแต่ ละกลุ่ม


Slide 45

2. ประชากรมีลกั ษณะต่ างๆ กัน
ทาให้ ภายในกลุ่มมีความคล้ ายกันมากทีส
่ ุ ด แต่ มีความแตกต่ าง

ระหว่ างกลุ่มมาก ๆ โดยการแบ่ งหน่ วยในประชากรออกเป็ น
พวกหรือกลุ่ม
สุ่ มตัวอย่ างออกมาจากแต่ ละกลุ่มโดยวิธีการสุ่ มแบบง่ ายหรือ
สุ่ มแบบมีระบบให้ ได้ จานวนตัวอย่ างตามสั ดส่ วนของ
ประชากร
ทากรอบบัญชี รายชื่ อทั้งหมดทุกลุ่ม แล้ วสุ่ มตัวอย่ างจากแต่ ละ
กลุ่มออกมาตามจานวนตัวอย่ างทีค่ านวณได้


Slide 46


Slide 47


Slide 48


Slide 49


Slide 50

ข้ อควรคานึง : คุณลักษณะทีใ่ ช้ แบ่ งกลุ่มนั้น เมือ่ จาแนกเป็ น
ลักษณะย่ อยแล้ วต้ องแตกต่ างกันอย่ างชัดเจน และในการแบ่ งเป็ น
ระดับชั้นหรือกลุ่มย่ อย อย่ ามากจนเกิดความไม่ สะดวกในการ
วิเคราะห์ ทางสถิติ
ข้ อดี

ข้ อเสี ย

1. ได้ กลุ่มตัวอย่ างทีเ่ ป็ นตัวแทนที่ ถ้ าประชากรมีหลากหลายลักษณะ
ดีของประชากร เพราะได้ แบ่ งเป็ น มาก วิธีนีจ้ ะไม่ เหมาะต้ องเลือกใช้
กลุ่มย่ อยแล้ วสุ่ มจากแต่ ละกลุ่มย่ อย วิธีการสุ่ มแบบกลุ่ม (Cluster
sampling)
จึงเป็ นที่นิยมใช้


Slide 51

Ω แบบกลุ่ม (Cluster sampling) เป็ นวิธีการ

เลือกตัวอย่ างทีเ่ หมาะสมสาหรับประชากรทีม่ หี ลากหลาย
ลักษณะอยู่ด้วยกัน
 แบ่ งประชากรทีม
่ ีหลากหลายลักษณะออกเป็ นกลุ่มๆ แต่ ละกลุ่มมี

ทุกลักษณะอยู่ด้วยกันเท่ าเทียมกัน
 ใช้ เทคนิคการสุ่ มตัวอย่ างง่ ายสุ่ มประชากรกลุ่มย่ อยๆ ออกมา
ศึกษาเพียง 1 กลุ่ม หรือ 2 กลุ่ม


Slide 52

ตัวอย่ าง ต้ องการสารวจบุคลิกภาพของพยาบาลสั งกัด

กระทรวงกลาโหม
ประชากร: พยาบาลจากกองทัพบก เรื อ อากาศ
พยาบาลจากทุก ร.พ มีลก
ั ษณะต่างๆ กันของประชากร
รวมกันอยู่
แต่เมื่อเปรี ยบเทียบลักษณะของแต่ละกลุ่มแล้วจะมีความ
คล้ายคลึงกันหรื อเท่าเทียมกัน
การเลือกตัวอย่างจึงสามารถเลือกมาศึกษาเพียง1-2 กลุ่มได้
โดยใช้เทคนิคการสุ่ มตัวอย่างแบบง่าย ๆ


Slide 53


Slide 54

การจัดกลุ่มทีถ่ ูกต้ องในการสุ่ มตัวอย่ างแบบกลุ่ม


Slide 55

ข้ อผิดพลาดการสุ่ มตัวอย่ างแบบกลุ่มคือ จัดให้ ภายในกลุ่มมีลกั ษณะเหมือนกัน


Slide 56

ถ้ ามีลกั ษณะเดียวล้ วนๆ เมื่อสุ่ มจะได้ กลุ่มที่ไม่ เป็ น
ตัวแทนกลุ่มประชากร การสุ่ มตัวอย่ างแบบกลุ่ม
แบ่ งเป็ น 2 ลักษณะ คือ
แบบกลุ่มในลักษณะทีท
่ ุกๆ กลุ่มมีจานวนสมาชิกในแต่ ละ

กลุ่มเท่ าๆ กัน (Equal cluster sampling)
แบบกลุ่มในลักษณะทีแ
่ ต่ ละกลุ่มมีจานวนสมาชิกในกลุ่ม
แตกต่ างกัน (Unequal cluster sampling)


Slide 57

ข้ อสั งเกต : ใช้ เมือ่ ไม่ มกี รอบตัวอย่าง ไม่ ควรให้ จานวนขั้นตอน
มากเกินไป และหน่ วยตัวอย่ างภายในกลุ่มควรมีความแตกต่ าง
กันมาก
ข้ อดี

ข้ อเสี ย

1. ใช้ กบั ประชากรที่ไม่ มีกรอบตัวอย่ างหรือทาไม่ 1. ยุ่งยากซับซ้ อนในการ
สะดวก เช่ น การประมาณขนาดครัวเรือน อาจทา ประมาณค่ าพารามิเตอร์
ดังนี้ 1. สุ่ มจังหวัดจาก 76 จังหวัด 2. สุ่ มอาเภอ
จากจังหวัดทีส่ ุ่ มได้ 3. สุ่ มหมู่บ้านจากอาเภอทีส่ ุ่ ม
ได้ 4. สุ่ มครัวเรือนจากหมู่บ้านทีส่ ุ่ มได้
2. ประหยัดค่ าใช้ จ่าย

2. ความแปรปรวนของตัว
ประมาณมีหลายส่ วน


Slide 58

Ω แบบหลายชั้ น (multi -stage sampling)
เหมาะสาหรับประชากรทีม
่ จี านวนมากและขอบข่ ายกว้ าง
เหมาะสาหรับประชากรที่ไม่ สามารถจัดทากรอบบัญชี

รายชื่อทุกหน่ วยทีเ่ ล็กทีส่ ุ ดได้ โดยตรง จะทาเพียงกรอบ
บัญชีรายชื่อเฉพาะกลุ่มทีเ่ ลือกได้ เท่ านั้น


Slide 59

ตัวอย่ าง การศึกษาความคิดเห็นของเจ้ าหน้ าทีส่ ถานีอนามัย
ต่ อการปฏิรูประบบสุ ขภาพ
 สุ่ ม สสจ. ออกจากจานวน สสจ. แต่ ละภาคของไทย 5 ภาคๆ ละ 10

สานักงาน (ได้ 50 สสจ.)
 สุ่ ม ส.อ ออกจาก สสจ.ๆ ละ 3 ส.อ
 สุ่ มงานต่ างๆ ของ ส.อ ออกจาก ส.อๆ ละ 2 งาน
 สุ่ มเจ้ าหน้ าที่ ส.อ ออกจากงาน โดยสุ่ มงานละ 1 คน
 รวมทั้งสิ้นจะได้ ตัวอย่ างเจ้ าหน้ าที่ ส.อ = 5 x 10 x 3 x 2 x1 = 300


Slide 60


Slide 61

เลือกโดยไม่ คานึงถึงโอกาสทีถ่ ูกเลือก
การเลือกตัวอย่ างแบบเจาะจง
(Purposive sampling or Judgmental
sampling)

พบบ่ อยในการวิจัยกึง่ ทดลองของการแพทย์ พยาบาล
การสาธารณสุ ข
 Inclusion

criteria
 Exclusion criteria

และ


Slide 62

การศึกษาเรื่องผลของการสวนแบบมีแบบแผนต่ อ
ประสิ ทธิภาพการให้ นมมารดาของมารดาทีม่ หี ัวนมผิดปกติ
ผู้วจิ ัยกาหนดให้ ตวั อย่ างมีคุณลักษณะดังนี้
I = มารดาครรภ์ แรกตั้งครรภ์ และคลอดปกติ อายุ 18-25 ปี
ไม่ มโี รคแทรกซ้ อนระหว่ างการตั้งครรภ์ อ่ านเขียนได้ ยินดี
ให้ ความร่ วมมือในการศึกษา
E = ขาดการมาฝากครรภ์ ตามนัดมากกว่ า 1 ครั้ง มีความ
ประสงค์ จะเลีย้ งนมบุตรด้ วยนมผงตั้งแต่ แรกคลอด


Slide 63

การเลือกตัวอย่ างแบบบังเอิญ
(accidental sampling)

เป็ นการเลือกทีไ่ ม่ ใช้ กฎเกณฑ์ อะไรเพียงแต่ เป็ นผู้ที่เต็มใจ
สามารถให้ ข้อมูลแก่ ผ้ ูวจิ ัยได้ ก็ใช้ ได้

ความคิดเห็นเรื่องการบริการของสถานีอนามัย
ผู้วจิ ัยจะถามข้ อมูลเรื่องนีจ้ ากใครก็ได้ ทีม่ ารับบริการทีส่ ถานี
อนามัย และยินดีให้ คาตอบ


Slide 64

การเลือกตัวอย่ างแบบโควต้ า
(Quota sampling)

เป็ นการเลือกทีผ่ ้ ูวจิ ัยกาหนดจานวนตัวอย่ างตามลักษณะที่
ต้ องการไว้ ล่วงหน้ าแล้ ว
เช่ น กลุ่มตัวอย่ างจะประกอบด้ วย ประชาชนในหมู่บ้านที่
ประกอบอาชีพ ครู แม่ บ้าน ทานา ทาไร รับจ้ าง ว่ างงาน


Slide 65

การเลือกตัวอย่ างตามความสามารถ
(Convenient sampling)
เป็ นการเลือกตัวอย่ างทีไ่ ม่ มก
ี ฎเกณฑ์ ใดๆ คานึงแต่ ความ

สะดวก-ง่ ายต่ อการศึกษาของผู้วจิ ัย

การศึกษาเรื่องการติดเชื้อไข้ เลือดออกของผู้ใหญ่
ผู้วจิ ัยจะเลือกศึกษาในผู้ป่วยผู้ใหญ่ ทมี่ ารับบริการในหอ
ผู้ป่วยทีผ่ ้ ูวจิ ัยทางานอยู่


Slide 66

การเลือกตัวอย่ างโดยอาสาสมัคร
(Volunteer sampling)
 ใช้ ในกรณีงานวิจย
ั บางเรื่องไม่ สามารถศึกษากับประชากรทั่วไปได้

เพราะต้ องอาศัยความร่ วมมือจากตัวอย่ างมากหรือเป็ นเวลานาน
 ผลของการใช้ ยารั กษาโรคเอดส์ การใช้ วค
ั ซีนป้องกันโรคใหม่ ๆ
 ถึงผลการทดลองไม่ เป็ นอันตราย แต่ กย
็ งั ควรต้ องศึกษาจาก
อาสาสมัคร เพือ่ หลีกเลีย่ งปัญหาสิ ทธิส่วนบุคคล หรือการขาด
หายไปของกลุ่มตัวอย่ างระหว่ างศึกษา
 ในการเลือกตัวอย่ างแบบนีผ
้ ู้วจิ ยั มักมีค่าตอบแทนให้ แก่ ตัวอย่ าง
ค่ อนข้ างสู ง


Slide 67

แบบก้อนหิมะ (Snowball Sampling)
เป็ นการเลือกตัวอย่ างทีม
่ คี ุณลักษณะตรงตามจุดมุ่งหมาย

แล้ วให้ ตวั อย่ างเหล่ านีแ้ นะนาคนอืน่ มาอีกเหมือนกับลูกโซ่
เช่ น การหาบุคคลทีเ่ ชื้อสายลูกครึ่ งอิตาลี–ไทย เมือ
่ เจอ
หนึ่งคนแล้ วก็ถามถึงคนต่ อไปเรื่อย ๆ


Slide 68

สรุป
ประชากร คือ ทุกหน่ วยทีต
่ ้ องการศึกษา

ตัวอย่ าง คือ

หน่ วยทีถ่ ูกเลือกจากประชากร
การกาหนดขนาดตัวอย่ าง คือ ใช้ ตารางสาเร็ จรู ปหรื อสู ตร
คานวณ
การเลือกตัวอย่ าง มี 2 วิธี คือ วิธีอาศัยความน่ าจะเป็ นและ
วิธีไม่ อาศัยความน่ าจะเป็ น


Slide 69