การวิจยั เชิงคุณภาพ ลักษณะ การใช้ ข้ อได้ เปรียบ และข้ อจากัด ชาย โพธิสติ า สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล บรรยาย 21 กันยายน 2550 สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์

Download Report

Transcript การวิจยั เชิงคุณภาพ ลักษณะ การใช้ ข้ อได้ เปรียบ และข้ อจากัด ชาย โพธิสติ า สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล บรรยาย 21 กันยายน 2550 สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์

การวิจยั เชิงคุณภาพ
ลักษณะ การใช้ ข้ อได้ เปรียบ และข้ อจากัด
ชาย โพธิสติ า
สถาบันวิจัยประชากรและสังคม
มหาวิทยาลัยมหิดล
บรรยาย 21 กันยายน 2550
สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์
การวิจัยเชิงคุณภาพ: แบ่งตามลักษณะการดาเนินการวิจัย
1.
การวิจัยเชิงคุณภาพที่นักวิจัยใช้ เวลาเฝ้ าสังเกตและมีส่วน
ร่วมอยู่กบั กลุ่มเป้ าหมายเป็ นเวลานาน
เชิงชาติพันธุว์ รรณนา (Ethnographic / anthropological
research)
2.
การวิจัยเชิงคุณภาพที่นักวิจัยใช้ เวลาน้ อยกับกลุ่มเป้ าหมาย
แต่คงลักษณะสาคัญของการวิจัยเชิงคุณภาพไว้ เกือบทุก
ประการ
การวิจัยที่ใช้ วิธก
ี ารสนทนากลุ่ม (Focus Group Research)
การวิจัยที่ใช้ วิธก
ี ารสัมภาษณ์เชิงลึก(In-depth interview
research)
รูปแบบการทาวิจัยการวิจัยเชิงคุณภาพ

การวิจัยเชิงชาติพันธุว์ รรณนา หรืเชิงมานุษยวิทยา
(Ethnographic/ Anthropological research)

การวิจัยที่เน้ นประวัติชีวิตบุคคล (Biographical research)
 การวิจัยเชิงคุณภาพแนวปรากฏการณ์วิทยา
(Phenomenological research)

การวิจัยเชิงคุณภาพแบบสร้ างทฤษฎีจากข้ อมูล (Grounded
theory research)

การวิจัยเชิงคุณภาพแบบศึกษาเฉพาะกรณี (Case study
research)
ลักษณะสาคัญของการวิจยั เชิงคุณภาพ
 ใช้ขอ้ มู ลเชิงคุณภาพเป็ นหลัก
 มุ่งทาความเข้าใจทางลึก
มากกว่าในทางกว้าง
 รายละเอียด
 บริบทของสิง่ ที่ศึกษา
 องค์รวม
 พลวัตของสิง่ ที่ศึกษา
 ใช้วิธีการเก็บข้อมู ลได้หลายแบบหลากหลาย
มีการออกแบบทีย
่ ืดหยุ่นได้
 วิเคราะห์โดยอาศัยการตีความ
จุดยืนทางกระบวนทัศน์ของวิธกี ารเก็บข้ อมูลเชิงคุณภาพ

ความจริง (reality) ทางสังคมและทางพฤติกรรม เกี่ยวกับเรื่องใดเรื่อง
หนึ่งไม่ใช่ส่งิ ที่มีเพียงหนึ่งเดียว แต่อาจมีได้ หลายอย่าง ขึ้นอยู่กบั บริบท
และเงื่อนไขทางสังคมวัฒนธรรม และไม่จาเป็ นต้ องเป็ นวัตถุวิสยั
(objective)

การเข้ าถึงความจริงจึงอาจทาได้ หลายวิธี
 แต่วิธเี ข้ าถึงความจริงที่ดีท่ส
ี ดุ คือ ผู้หาความจริง (นักวิจัย) กับผู้เป็ น
แหล่งของความจริง (กลุ่มตัวอย่างการวิจัย) ควรมีความสัมพันธ์แบบ
ไว้ วางใจต่อกันก่อน (ความสัมพันธ์ท่ดี ีมีส่วนสาคัญในความสาเร็จของการ
เก็บข้ อมูลเชิงคุณภาพ)
การออกแบบการวิจัยเชิงคุณภาพ
คือการวางแผนทาการวิจัย โดยนาประเด็นสาคัญเหล่านี้มาพิจารณา
สิ่งที่นักวิจัยอยากรู้ (หัวข้ อและคาถามการวิจัย)
สิ่งที่ต้องการบรรลุถงึ
(จุดมุ่งหมาย) และสิ่งที่จะต้ องทา
(วัตถุประสงค์) ในการวิจัย
แนวคิดที่จะใช้ เป็ นกรอบในการวิจัย (กรอบแนวคิด)
แหล่งที่จะหาข้ อมูลเพื่อตอบ และเครื่องมือที่จะใช้ ในการรวบรวม
ข้ อมูล ตลอดจนวิธกี ารวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อตอบคาถามการวิจัย
(วิธกี ารวิจัย)
แนวทางตรวจสอบความถูกต้ องและความน่าเชื่อถือของการวิจัย
ความเชื่อมโยงเชิงปฏิสมั พันธ์ของส่วนต่างๆ
ในการออกแบบ
Purposes/
Objectives
Conceptual
Framework
Research
Questions
Methods
Source: From Maxwell, 1996: P.5
Validity
คาถามการวิจัย
– เพื่อตอบคาถาม
ประเภท “ใคร” “อะไร” “ที่ไหน” ฯลฯ
 เชิงวิเคราะห์ หรือเชิงอธิบาย ( explanatory,
analytical) – มุ่งหาคาอธิบายด้ วยการวิเคราะห์
 ไม่ต้องมาก (1-3 คาถามก็มากพอแล้ ว สาหรับการ
วิจัยเรื่องหนึ่งๆ)
 เชิงพรรณนา (descriptive)
กรอบแนวคิด
 บอกให้ ทราบว่า
นักวิจัยจะทาความเข้ าใจโจทย์การวิจัยที่ต้งั ขึ้น
นั้นจากมุมมองใด
่ ายตัว
 ทาหน้ าที่เป็ นเพียงแนวทาง มากกว่าที่จะเป็ นกรอบทีต
 กรอบแนวคิดที่ได้ มาจากการทบทวนวรรณกรรม และการคิด
กลั่นกรองอย่างรอบคอบ บนพื้นฐานของข้ อเท็จจริง จะบอกใบ้
ถึงลักษณะข้ อมูลที่ต้องการได้
 นักวิจัยจะเลือกทาการวิจัยเชิงคุณภาพแบบมีกรอบแนวคิด
หรือไม่มีกไ็ ด้
 มีท้งั ข้ อดี และข้ อจากัด
การเลือกตัวอย่างในการวิจัยเชิงคุณภาพ

ตัวอย่าง 2 ประเภท

ตัวอย่างที่เคร่งครัดในเรื่องการเป็ นตัวแทน (representatively oriented)
 ตัวอย่างที่เลือกโดยคานึงถึงความเหมาะสมกับทฤษฎีเป็ นหลัก (theoretically
oriented)

การวิจัยเชิงคุณภาพให้ ความสนใจตัวอย่างที่คานึงถึงความเหมาะสมกับ
ทฤษฎีมากกว่า
 เลือกตัวอย่าง “แบบเจาะจง” (purposive) คานึงเรื่องความ
หลากหลายของประชากรเป็ นหลัก
 Information-rich cases คือลักษณะของตัวอย่างในอุดมคติของเชิง
คุณภาพ
วิธกี ารเก็บข้ อมูลเชิงคุณภาพ
 การสังเกตแบบมีส่วนร่ วม (participant
observation)
 การสัมภาษณ์เชิงลึก (in-depth interview -
IDI)
 การสนทนากลุ่ม (focus group discussion
- FGD)
 การรวบรวมข้ อมูลเอกสาร (documentary
search)
การสังเกตในการวิจัยเชิงคุณภาพ

การเฝ้ าดูและการพรรณนาปรากฏการณ์ หรือพฤติกรรมที่ศึกษาอย่างเป็ น
ระบบในขณะที่ส่งิ ต่างๆ ดาเนินไปตามธรรมชาติ

ศึกษาปรากฏการณ์ตามที่มันเกิดขึ้นและเป็ นไป ไม่มีการดัดแปลง
 บทบาทของนักวิจัย
 ไม่มีส่วนร่วม ในปรากฏการณ์ท่ศ
ี ึกษา (คนนอก)
 มีส่วนร่วม (เสมือนว่าเป็ นคนใน)
 ดู ฟั ง ซักถาม บันทึก

ควรใช้ ควบคู่กบั วิธอี ่นื เช่นการสัมภาษณ์
 ทักษะที่จาเป็ นของนักวิจัย

ทักษะในการสังเกต
 ทักษะในการจดบันทึกอย่างเป็ นวัตถุวิสย
ั (objective)
การสัมภาษณ์เชิงคุณภาพ


การสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้ าง vs การสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้ าง หรือแบบ
กึ่งโครงสร้ าง
การวิจัยเชิงคุณภาพใช้ การสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้ าง หรือแบบกึ่งโครงสร้ าง




ความสาเร็จขึ้นอยู่กบั



คาถามปลายเปิ ด
ยืดหยุ่น
การสัมภาษณ์ดาเนินไปเสมือนเป็ นการสนทนาในชีวิตประจาวัน
ผู้ให้ สมั ภาษณ์ (key informant, information-rich cases)
ทักษะการสัมภาษณ์ของนักวิจัย และการ “ทาการบ้ านอย่างดี” ก่อนการสัมภาษณ์
แนวคาถาม (interview guidelines)
คุณสมบัติของผูส้ มั ภาษณ์เชิงคุณภาพที่ดี









มีความรูล้ ึกและกว้างในเรือ่ งทีส่ มั ภาษณ์
ดาเนินการสัมภาษณ์อย่างเป็ นระบบและมีโครงสร้างที่
เหมาะสม
ถามคาถามชัดเจน เข้าใจง่าย
สุภาพ
จับประเด็นเก่ง
เปิ ดกว้าง สาหรับคาตอบทุกรูปแบบ
คุมสถานการณ์ในการสัมภาษณ์เก่ง
เป็ นนักฟังทีด่ ี ฟังอย่างวิพากษ์
จาเก่ง ตีความเก่ง
การสนทนากลุ่ม

กลุ่มตัวอย่างที่คัดเลือกมาเพื่ออภิปรายกันในประเด็นการวิจัยเรื่องใด
เรื่องหนึ่งเป็ นการเฉพาะ
่ ตกต่าง
 สมาชิกกลุ่มจะต้ องมีท้งั ลักษณะที่คล้ ายกัน และลักษณะทีแ
 ปฏิสม
ั พันธ์ของกลุ่มคือกุญแจสาคัญสู่ข้อมูลที่ดี
 ผู้ดาเนินการสนทนา ต้ องมีท้งั ความรู้ในเรื่องที่สนทนา มีทก
ั ษะในการ
จัดการพลวัตกลุ่ม และทักษะในการดาเนินการสนทนากลุ่ม
 มีแนวคาถามที่ผ่านการคิกกลั่นกรอง และทดสอบมาแล้ ว
 บรรยากาศการสนทนา
ผูด้ าเนินการสนทนากลุ่มที่ดี
 มีความรู้ในเรื่องที่ทาการเก็บข้ อมูล
 เข้ าใจแนวคาถามและเจตนารมณ์ของคาถามอย่างดี
 มีบุคลิกที่อบอุ่น
น่าคุยด้ วย
 ใจเย็น ไม่วอกแวก
 เป็ นผู้ฟังที่ดี จับประเด็นสิ่งที่ฟังได้ เร็ว และแม่นยา
 มีความสามารถในการคุมเกมส์การสนทนา
การวิเคราะห์ขอ้ มูลเชิงคุณภาพ

กระบวนการทาให้ขอ้ มูล “พูด” ออกมา
อย่างมีความหมาย และสมเหตุสมผลที่สุด
การวิเคราะห์เกิดขึ้ นได้ในทุกขั้นตอนของการวิจยั
กิจกรรมการวิจยั
เก็บข้ อมูล
จัดระเบียบข้ อมูล
กระบวน
การ
วิเคราะห์
แสดงข้ อมูล
หาข้ อสรุป / ตรวจสอบความถูกต้ อง
ระหว่างเก็บข้อมูล
ที่มา: ปรับปรุ งจาก Miles and Huberman, 1994: 10
หลังเก็บข้ อมูล
สิง่ ที่ตอ้ งทาการวิเคราะห์ขอ้ มูลเชิงคุณภาพ
องค์ประกอบสาคัญ
จัดระเบียบข้อมูล
แสดงข้อมูล
สรุ ป / ตีความ
จัดระเบียบข้อมูล
จัดระเบียบข้อมูล
จัดระเบียบกายภาพ
ถอดเทป
บรรณาธิกรณ์
จัดระเบียบเนือ้ หา
ให้ รหัสข้ อมูล
ให้รหัสข้อมูล
ให้รหัสข้อมูล
อ่ านข้ อมูล
ให้ ขนึ้ ใจ
กาหนด
ประเด็นหลัก
มองหาข้ อความ
ทีม่ คี วามหมาย
สอดคล้ องกับ
ประเด็นหลัก
กาหนดรหัส
สาหรับ
แต่ ละ
ความหมาย
ทา
codebook
แสดงข้อมูล
แสดงข้อมูล
จัดกลุ่มข้อมูล
ทีใ่ ห้รหัสแล้ว
ตามประเด็นหลัก
และประเด็นย่อย
ทาตาราง
เปรียบเทียบ
ข้อมูล/
ความหมาย
จากแต่ละกลุ่ม
มองหา
Concepts
ทีจ่ ะตอบคาถาม
การวิจยั
เชือ่ มโยง
Concepts
ทีส่ มั พันธ์กนั
ให้มคี วามหมาย
บรรยายผลทีไ่ ด้
อย่างละเอียด
ข้อสรุป
ข้อสรุป 2 ประเภท
 ข้อสรุปทีเ่ ป็ นรูปธรรม – เช่นแบบแผน (patterns), ความสัมพันธ์ของสิง่
ต่างๆ (relationship)

ข้อสรุปทีเ่ ป็ นนามธรรม – ในรูปของ มโนทัศน์ (concepts)
คาอธิบาย แบบจาลองมโนทัศน์ (conceptual model) หรือ
ทฤษฎี ทีจ่ ะสามารถนาไปใช้ได้กบั ประชากรกลุ่มอื่นทีม่ ีลกั ษณะ
คล้ายกัน
แนวทางหาข้อสรุป
มองหาสิ่งต่อไปนี้ในข้ อค้ นพบ
 แบบแผน (patterns) ของสิ่งที่ได้ พบจากข้ อมูล (findings)
 ความน่าจะเป็ น (probability, likelihood)
 ความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ (กลุ่ม, ประเภท) (relationships)
 ความเหมือน ความต่าง (similarities & differences)
ทั้งหมดจะต้ องสอดคล้ องกับข้ อเท็จจริงในข้ อมูล
ตีความ
ถามตัวเองว่า:
 สิ่งที่ได้ พบและได้ สรุปมาจากการศึกษานั้น มีความหมาย
และสาคัญอย่างไร ทั้งในแง่ทฤษฎี และในแง่ปฏิบัติ
 ข้ อค้ นพบจากการวิจัยนั้น
แง่ของกิจกรรมที่น่าจะทา
มีนัยอย่างไรในเชิงนโยบาย หรือใน
ข้ อได้ เปรียบ และข้ อจากัด
ข้อได้เปรียบ
ข้อจากัด
นักวิจยั สามารถลงลึกได้มากตามทีต่ อ้ งการ เพราะเป็ น
การศึกษาขนาดเล็ก
ไม่เหมาะสาหรับการศึกษากลุ่มตัวอย่างขนาดใหญ่
มีความยืดหยุ่นในการออกแบบ การใช้เครือ่ งมือสาหรับเก็บ
ข้อมูล และการดาเนินการวิจยั
เพราะมีความยืดหยุ่นในการดาเนินการวิจยั หากนักวิจัยไม่มี
ประสบการณ์เพียงพอ อาจมีปัญหาในเรือ่ งความน่าเชื่อถือ
(reliability) ของการใช้เครือ่ งมือ และความถูกต้องตรงประเด็น
ของผลการศึกษา (validity)
สามารถใช้ขอ้ มูลได้หลากหลายชนิด ทั้งเชิงคุณภาพและเชิง
ปริมาณในการวิจยั เรือ่ งเดียวกัน
การเลือกตัวอย่างในการศึกษาแบบเจาะจง ทาให้การนาผล
การศึกษาไปใช้ในวงกว้าง (generalization) เป็ นไปอย่างจากัด
ใช้วิธีเก็บข้อมูลได้หลายวิธีในงานวิจยั เรือ่ งเดียวกัน
กระบวนการเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ และข้อสรุป ค่อนข้างจะ
เป็ นอัตวิสยั
เป็ นการวิจยั ทีใ่ ห้ความสาคัญแก่ความเป็ นมนุ ษย์ของผูถ้ ูก
ศึกษา ในการดาเนินการวิจยั เชิงคุณภาพ ความสัมพันธ์
ระหว่างนักวิจยั กับกลุ่มตัวอย่างมีความสาคัญ กลุ่มตัวอย่าง
ไม่ใช่เป็ นเพียงผูถ้ ูกกระทา (research subjects) แต่เป็ นผู ้
มีส่วนร่วม (participants) ในกิจกรรมการวิจยั
ไม่เหมาะสาหรับใช้ทดสอบสมมติฐาน หรือทดสอบแนวคิด
ทฤษฎี
เมื่อไรควรใช้ เมื่อไรไม่ควรใช้ การวิจัยเชิงคุณภาพ
ควรใช้
ไม่ควรใช้
เมือ่ ต้องการค้นหาประเด็นใหม่ๆของเรื่องใดเรื่อง
หนึง่
เมือ่ สิง่ ที่ตอ้ งการทราบคือ แนวโน้มของเรื่องใดเรื่อง
หนึง่ เช่น พฤติกรรม เหตุการณ์ ปรากฏการณ์
เมือ่ ต้องการเข้าใจความหมาย หรือกระบวนการของ
การกระทาหรือปรากฏการณ์
เมือ่ ต้องการพิสูจน์สมมติฐานหรือทฤษฎี ด้วยวิธีการทาง
สถิติ
เมือ่ ต้องการหาความรู ้ เพือ่ สร้างสมมติฐาน หรือ
สร้างแบบสอบถาม สาหรับการวิจยั เชิงปริมาณใน
ภายหลัง
เมือ่ สถานการณ์ไม่เอื้ ออานวยที่จะให้นกั วิจัยติดต่อหรือ
มีส่วนร่วมกับประชากรเป้าหมายอย่างใกล้ชิด
เมือ่ ต้องการตรวจสอบหรือหาคาอธิบายสาหรับข้อ
ค้นพบจากการวิจยั เชิงปริมาณ
เมือ่ เห็นว่าการวิจยั เชิงปริมาณน่าจะให้คาตอบที่ตอ้ งการ
ได้ดีกว่า
เมือ่ เรื่องที่ศึกษา สถานการณ์ หรือประชากร
เป้าหมายในการศึกษา ไม่เหมาะที่จะให้ทาการวิจยั
โดยวิธีการเชิงปริมาณ
เพียงเพราะคิดไม่ออกว่าจะใช้วิธีใดดี หรือเพราะคิดว่า
วิธีการเชิงคุณภาพน่าจะง่ายกว่า หรือเมือ่ ยังไม่แน่ใจว่า
ตัวเองมีความเข้าใจในวิธีการนี้ ดีพอ (วิธีการเชิง
คุณภาพอาจไม่ง่ายอย่างที่คิด)