การออกแบบวิจัย โดย รศ.ดร.บุญมี พันธุ์ไทย อาจารย์ ประจาภาควิชาการประเมินและการวิจัย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง การออกแบบวิจัย การออกแบบวิจัย หมายถึง การกาหนดแผน หรือโครงสร้ าง และวิธีการศึกษาค้ นคว้ า เพื่อให้ ได้ มาซึ่งคาตอบของปัญหาการวิจัย แผนหรือโครงสร้ าง จะระบุถงึ ตัวแปรต่ างๆ ของการวิจัยว่ ามีอะไรบ้ าง.

Download Report

Transcript การออกแบบวิจัย โดย รศ.ดร.บุญมี พันธุ์ไทย อาจารย์ ประจาภาควิชาการประเมินและการวิจัย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง การออกแบบวิจัย การออกแบบวิจัย หมายถึง การกาหนดแผน หรือโครงสร้ าง และวิธีการศึกษาค้ นคว้ า เพื่อให้ ได้ มาซึ่งคาตอบของปัญหาการวิจัย แผนหรือโครงสร้ าง จะระบุถงึ ตัวแปรต่ างๆ ของการวิจัยว่ ามีอะไรบ้ าง.

การออกแบบวิจัย
โดย รศ.ดร.บุญมี พันธุ์ไทย
อาจารย์ ประจาภาควิชาการประเมินและการวิจัย
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง
การออกแบบวิจัย
การออกแบบวิจัย หมายถึง การกาหนดแผน
หรือโครงสร้ าง และวิธีการศึกษาค้ นคว้ า เพื่อให้
ได้ มาซึ่งคาตอบของปัญหาการวิจัย
แผนหรือโครงสร้ าง จะระบุถงึ ตัวแปรต่ างๆ
ของการวิจัยว่ ามีอะไรบ้ าง และตัวแปรเหล่านั้นมี
ความสั มพันธ์ หรือเกีย่ วข้ องกันอย่ างไร
2
วิธีการศึกษาค้ นคว้ า จะระบุถงึ วิธีการเก็บ
ข้ อมูลว่ า จะเก็บข้ อมูลจากใคร จะใช้ วธิ ีการอะไร
จะวิเคราะห์ ข้ อมูลอย่ างไรและจะแปลผล
อย่ างไรบ้ าง
บางท่ านก็บอกว่ าแบบวิจัยก็คอื เค้ าโครง
ของการวิจัยนั่นเอง แบบวิจัยเปรียบเสมือน
แปลนบ้ าน ก่อนที่จะสร้ างบ้ านเราจะต้ อง
ออกแบบบ้ านก่อน
3
จุดมุ่งหมายของการออกแบบวิจยั
1. เพือ่ ให้ ได้ คาตอบของปัญหาการวิจัยหรือ
ผลการวิจัยที่เชื่อถือได้
2. เพือ่ ควบคุมความแปรปรวนของตัวแปรในการ
วิจยั ซึ่งหลักในการควบคุมความแปรปรวน
ของตัวแปรเราเรียกย่ อๆ ว่ า Max Min Con
4
Max ย่ อมาจาก Maximization of
independent variable variance หมายถึง การทา
ให้ ตัวแปรอิสระหรือตัวแปรทดลองแตกต่ างกันมาก
ทีส่ ุ ด ซึ่งจะมีผลทาให้ ตวั แปรตามแตกต่ างกันมาก
ทีส่ ุ ดด้ วย หรือถ้ าต้ องการให้ ค่าของตัวแปรตามมีค่า
แตกต่ างกันมากทีส่ ุ ดจะต้ องทาให้ ตวั แปรอิสระ
แตกต่ างกันมากทีส่ ุ ดด้ วย
5
Min ย่ อมาจาก Minimization of error
variance หมายถึง การทาให้ ความคลาดเคลือ่ นมีค่า
ตา่ สุ ดหรือน้ อยทีส่ ุ ด โดยการทาให้ เครื่องมือวิจัยมี
ค่ าความเทีย่ งตรงและค่ าความเชื่อมัน่ สู งทีส่ ุ ด
Con ย่ อมาจาก Control of extraneous
variable หมายถึง การควบคุมอิทธิพลของตัวแปร
เกิน ไม่ ให้ มีผลต่ อตัวแปรตามซึ่งมีวธิ ีการดังนี้
6
1. โดยการสุ่ มตัวอย่ างเข้ ากลุ่มทดลอง
2. ทาให้ ตวั แปรเกินระหว่ างกลุ่มมีค่าคงที่
3. ทาให้ เป็ นตัวแปรเกินเป็ นตัวแปรอิสระอีก
ตัวหนึ่ง
4. ใช้ วธิ ีการทางสถิตคิ วบคุมตัวแปรเกิน
7
วิธีการออกแบบวิจัย
ก่อนจะออกแบบวิจยั ผู้วจิ ยั ควรจะทาความ
เข้ าใจเกีย่ วกับปัญหาการวิจัยให้ ชัดเจนก่ อน ดังนี้
1. ปัญหาการวิจัยหรือการวิจัยเรื่องนี้ วิจัยกับใคร
หรือประชากรเป็ นใคร
2. ตัวแปรการวิจัยมีอะไรบ้ าง และมีกตี่ ัวแปร
8
3. ตัวแปรต่ างๆ นั้นมีความสั มพันธ์ เกีย่ วข้ องกัน
อย่ างไร หรือไม่
3.1 การวิจัยตัวแปรเดียว จะบรรยายลักษณะ
ของตัวแปรแต่ ละตัวว่ าเป็ นอย่ างไร
3.2 การวิจัยตัวแปรมากกว่ าหนึ่งตัว ซึ่งอาจจะ
เกีย่ วข้ องกัน ในลักษณะเชิงเปรียบเทียบ หรือหา
สั มพันธ์ กนั หรือ ส่ งผลต่ อกัน
9
4. ตัวแปรแต่ ละตัวจะวัดค่ าออกมาเป็ นอย่ างไรบ้ าง
เป็ นเชิงปริมาณหรือคุณภาพ
5. เป็ นการวิจัยประเภทใด เชิงทดลองหรือเชิง
บรรยาย
6. จะวิเคราะห์ ข้อมูล เพือ่ ตอบแต่ ละประเด็นของ
ปัญหาหรือวัตถุประสงค์ ของการวิจยั ด้ วยวิธี
ใดบ้ าง
10
7. ออกแบบวิจัย จากประเด็นต่ างๆทั้ง 6 ข้ อ
ข้ างต้ นผู้วจิ ยั จะต้ องมากาหนดแบบวิจยั ที่ดี
ทีส่ ุ ดจะทาให้ ได้ ผลการวิจยั หรือคาตอบของ
ปัญหาวิจัยที่เชื่อถือได้ ซึ่งจะมีแบบวิจัยต่ างๆ
ให้ ผู้วจิ ยั เลือกใช้ ให้ เหมาะสมกับปัญหาการ
วิจัย
แบบของการวิจัยประเภทต่ างๆ
แบบวิจัยเชิงทดลอง(Experimental Designs)
ใช้ สาหรับการหาความรู้ ความจริงหรือผลของการ
วิจัยในเชิงสาเหตุและผล (Cause and effect)
โดยการควบคุมตัวแปรอืน่ ๆทั้งหมดทีจ่ ะมีผลต่ อตัว
แปรตาม ยกเว้ นตัวแปรอิสระหรือตัวแปรต้ นทีไ่ ม่
ต้ องควบคุม
สาเหตุกค็ อื ตัวแปรต้ นหรือตัวแปรอิสระ
(Independent variable) และผลก็คอื ตัวแปร
ตาม (Dependent variable) นั่นคือผู้วจิ ยั
อยากจะรู้ ว่าตัวแปรอิสระเป็ นสาเหตุให้ เกิดตัว
แปรตามหรือไม่ ส่ วนตัวแปรทีต่ ้ องควบคุมไม่ ให้
ส่ งผลต่ อตัวแปรตามคือตัวแปรเกิน(Extraneous
variables)
แบบวิจัยเชิงทดลอง
True experiment เป็ นแบบวิจัยเชิงทดลอง
ทีส่ ามารถควบคุมตัวแปรเกินทีจ่ ะมีผลต่อตัว
แปรตามได้ เป็ นอย่ างดี บางคนเรียกว่ า
Laboratory experiment ซึ่งจะเป็ นการวิจัย
ทางด้ านวิทยาศาสตร์ ส่ วนการวิจัยทางด้ าน
สั งคมศาสตร์ ท้งั หลายจัดเป็ นการวิจัยกึง่
ทดลอง(Quasi experiment)
การวิจัยทางสั งคมศาสตร์ จาแนกความแตกต่ าง
ระหว่ าง True experiment and Quasi
experiment อยู่ทกี่ ารจัดตัวอย่ างเข้ ากลุ่มทดลอง
กับกลุ่มควบคุม คือTrue experiment จัด
ตัวอย่ างโดยการสุ่ ม(Random: R) ส่ วน Quasi
experiment) จัดตัวอย่ างโดยการคัดเลือก(Select
: S) ส่ วนแบบการทดลองจะเหมือนกัน
แบบวิจัยเชิงทดลองที่จะนาเสนอต่ อไปนีจ้ ะ
แสดงเป็ นแผนภาพพร้ อมด้ วยสั ญลักษณ์ ทใี่ ช้
แทนวิธีดาเนินการทดลอง ว่ าผู้วจิ ยั จะต้ องทา
อย่ างไรบ้ าง สั ญลักษณ์ ที่ใช้ มีดงั นี้
สั ญลักษณ์ ทใี่ ช้ ในแบบการวิจัยเชิงทดลอง
R หมายถึง การสุ่ มกลุ่มตัวอย่ าง
S หมายถึง การกาหนดกลุ่มตัวอย่ างหรือการเลือก
ex หมายถึง กลุ่มทดลอง
con หมายถึง กลุ่มควบคุม
o1 หมายถึง การวัดผลก่อนทดลอง
x หมายถึง การให้ Treatment
~ หมายถึง ไม่ ให้ Treatment
o2 หมายถึง การวัดผลหลังทดลอง
แบบวิจัยเชิงทดลอง 2 กลุ่ม
True experimental design
Pretest and posttest design
R ex
O1
X
R con
O1
~X
O2
O2
18
Posttest only design
Rex
X
O2
R con ~x
O2
Quasi-experimental design
Pretest and posttest design
Sex O1
X
O2
S con O1 ~X
O2
Posttest only design
Sex
X
O2
S con
~X
O2
แบบวิจัยเชิงทดลองมากกว่ า 2 กลุ่ม
แบบวิจัยเชิงทดลองมากกว่ า 2 กลุ่ม กรณีตัว
แปรอิสระ 1 ตัวซึ่งแปรค่ ามากกว่ า 2 ค่ ารู ปแบบ
การทดลองก็จะคล้ายๆกับแบบทดลอง 2 กลุ่มที่
กล่าวมา
กรณีตัวแปรอิสระมีมากกว่ า 1 ตัว จะเป็ นแบบ
วิจัยที่เรียกว่ า Factorial design
Factorial experimental designs
เป็ นแบบวิจัยเชิงทดลองที่ต้องการศึกษา
อิทธิพลของตัวแปรอิสระ ตั้งแต่ 2 ตัวขึน้ ไปที่มี
ต่ อตัวแปรตาม
รู ปแบบวิจยั กรณีมตี วั แปรอิสระ 2 ตัวหรือมี 2
Factors มีดงั นี้
A
A1
A2
A3
B1
AB
AB
AB
B2
AB
AB
AB
B3
AB
AB
AB
B
รู ปแบบวิจยั อย่ างนีเ้ รียกชื่อเฉพาะว่ า A × B
Factorial design หรือ 3 × 3 Factorial design
กรณีมีตัวแปรอิสระ 3 ตัว เราก็จะเรียกว่ า
A × B× C Factorial design
แบบวิจัยเชิงทดลอง 1 กลุ่ม
1. Pretest and posttest experimental designs
การวิจัยแบบ True experiment หรือ Quasi
experiment มีรูปแบบการวิจยั ทีค่ ล้ายๆกันดังนี้
Rex หรือ Sex O1 X O2
2. Posttest only experimental design
การวิจัยแบบ True หรือ Quasi experiment
มีรูปแบบวิจยั คล้ายๆกันดังนี้
Rex หรือ Sex X O2
3. Time series experiment designs การวิจัย
แบบ True experiment หรือจะเป็ นการวิจัย
แบบ Quasi experiment มีรูปแบบวิจยั ที่
คล้ายๆกันดังนี้
Rex หรือ Sex O1 O2 O3 X O4 O5 O6
หรือรู ปแบบวิจยั เป็ นอย่ างนีก้ ไ็ ด้
Rexหรือ Sex O1 X O2 X O3 X O4
แบบวิจัยเชิงสารวจ
(Survey research designs)
แบบวิจัยเชิงสารวจ (Survey research designs) เป็ น
แบบวิจัยทีผ่ ู้วจิ ัยไม่ ได้ จัดกระทากับหน่ วยตัวอย่ าง
และผลการวิจัยไม่ ได้ อยู่ในรูปแบบของสาเหตุและผล
(Cause and effect) ผู้วจิ ัยต้ องการบรรยาย
สภาพการณ์ เหตุการณ์ พฤติกรรม ความคิดเห็น
ความเชื่อ เจตคติ ของประชากรวิจัย
หรือเป็ นการวิจัยตัวแปรของประชากรที่เกิดขึน้ แล้ ว
ปัญหาการวิจัยตัวแปรเดียว ผลของการวิจัยจะ
บรรยายลักษณะของตัวแปรว่ าเป็ นอย่ างไร มาก
น้ อยแค่ ไหน ถ้ าเป็ นตัวแปรเชิงปริมาณจะใช้
วิธีการทางสถิติ ร้ อยละ ค่ าเฉลีย่ ค่ าเบี่ยงเบน
มาตรฐาน เป็ นต้ น
ปัญหาการวิจัยมากกว่ าหนึ่งตัวแปร ผลของการ
วิจัยจะบรรยายความเกีย่ วข้ องกันระหว่ างตัว
แปรในเชิงเปรียบเทียบมากกว่ า น้ อยกว่ า หรือ
แตกต่ างกัน ถ้ าตัวแปรเชิงปริมาณก็จะใช้ วธิ ีการ
ทางสถิติ t-test และ ANOVA
ประเภทของแบบวิจัยเชิงสารวจ มีดงั นี้
1. Cross-Sectional survey design เป็ นการวิจัย
ทีใ่ ช้ ข้อมูลในเวลาใดเวลาหนึ่งขณะนั้น หรือใช้
ข้ อมูลภาคตัดขวาง อาจเป็ นการวิจยั ตัวแปรเดียว
หรือมากกว่ าสองตัวแปรในเชิงเปรียบเทียบกัน
ว่ า มากกว่ า น้ อยกว่ า หรือแตกต่ างกัน
2. Longitudinal survey design เป็ นการวิจัย
ทีใ่ ช้ ข้อมูลหรือตัวแปรอย่ างใดอย่ างหนึ่งของ
ประชากรวิจยั เพือ่ ดูแนวโน้ มของการ
เปลีย่ นแปลงเมือ่ เวลาเปลีย่ นไป มีรูปแบบวิจัย
ดังนี้
2.1 การศึกษาแนวโน้ ม(Trend studies) เป็ น
การศึกษาเหตุการณ์ หรือเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่เกิดขึน้
ในอดีตจนถึงปัจจุบันว่ ามีการเปลีย่ นแปลงอย่ างไร
เช่ น การศึกษาแนวโน้ มการบังคับใช้ กฎหมาย
อาญาของไทย
2.2 การศึกษาเฉพาะกลุ่ม(Cohort studies)
เป็ นการศึกษาเหตุการณ์ หรือเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
ของประชากรที่มีลกั ษณะอย่ างใดอย่ างหนึง่ หรือ
หลายอย่ างเหมือนกัน
เช่ น การศึกษาการมีส่วนร่ วมทางการเมือง
ของชาวนาไทยทีม่ อี ายุระหว่ าง 20 ถึง 25 ปี
2.3 การศึกษาต่ อเนื่อง(Panel studies) เป็ น
การศึกษาเหตุการณ์ หรือเรื่องใดเรื่องหนึง่ ของ
ประชากรกลุ่มเดียวกันในเวลาทีแ่ ตกต่ างกัน และ
มีการสรุปผลการศึกษาเป็ นระยะๆตามช่ วงเวลา
ที่ศึกษา ก่อนที่จะศึกษาในช่ วงเวลาต่ อไป
เช่ น การศึกษาพฤติกรรมการเรียนของ
นักเรียนทีเ่ ข้ าเรียนในระดับชั้นอนุบาลจนจบ
แบบวิจัยเชิงความสั มพันธ์
(Correlation research designs)
แบบวิจัยเพือ่ หาความสั มพันธ์ (สหสัมพันธ์ )
การพยากรณ์ ส่ งผลต่ อกัน หรือมีอทิ ธิพล
ระหว่ างตัวแปร ถ้ าตัวแปรการวิจัยเป็ นเชิง
ปริมาณ วิธีการทางสถิติที่ใช้ ได้ แก่ Simple
correlation, Multiple correlation, Partial
correlation เป็ นต้ น
ประเภทของแบบวิจัยเชิงความสั มพันธ์ มีดังนี้
Correlation research designs เป็ นแบบการ
วิจัยที่ใช้ สาหรับอธิบายความสั มพันธ์ ระหว่างตัว
แปร หรือใช้ สาหรับพยากรณ์ ตัวแปรตัวหนึ่งด้ วย
ตัวแปรอีกตัวหนึ่งหรือหลายๆตัว แบบของการ
วิจัยมี 2 ประเภทดังนี้
1. Explanatory research design เป็ นแบบ
วิจัยสาหรับหาความสั มพันธ์ ระหว่ างตัวแปรสองตัว
หรือมากกว่ าในประชากรวิจัยกลุ่มเดียว
2. Prediction research design เป็ นแบบวิจัย
สาหรับพยากรณ์ ค่าของตัวแปรเกณฑ์ หรือตัวแปร
ตามด้ วยตัวแปรพยากรณ์ หรือตัวแปรอิสระตัวเดียว
หรือหลายตัวในประชากรกลุ่มเดียว
ตัวอย่ าง
การศึกษาความสั มพันธ์ ระหว่ างระดับ
การศึกษากับการมีส่วนร่ วมทางการเมืองใน
ระบอบประชาธิปไตย
การศึกษาปัจจัยที่มีอทิ ธิพลต่ อการมีส่วนร่ วม
ทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตย
แบบวิจยั เชิงคุณภาพ
(Qualitative research designs)
เป็ นแบวิจัยที่ใช้ บรรยายความสั มพันธ์ ของ
ปรากฏการณ์ กบั สภาพแวดล้อมที่เกิดขึน้ การ
วิเคราะห์ ข้อมูลใช้ วธิ ีการตีความ และสร้ าง
ข้ อสรุปแบบอุปนัยเป็ นหลัก แบบวิจยั มีดงั นี้
1. แบบวิจยั ทีส่ ร้ างทฤษฎีจากเหตุการณ์ ทเี่ กิดขึน้
(Grounded theory design)
เป็ นแบบวิจยั เชิงคุณภาพแบบทีใ่ ช้ สาหรับการ
วิจยั ทีต่ ้ องการสร้ างทฤษฎีจากเหตุการณ์
กิจกรรม การกระทา ปฏิกริ ิยา ที่เกิดขึน้ ใน
ช่ วงเวลาทั้งหมด ซึ่งการเกิดสิ่ งเหล่านีจ้ ะมี
กระบวนการในการเกิดของมัน
กระบวนการวิจัยแบบ Grounded theory จะ
เริ่มด้ วย การเก็บรวบรวมข้ อมูลจากเหตุการณ์
การกาหนดกลุ่มหรือประเภทของข้ อมูล การ
เชื่อมโยงกลุ่มหรือประเภทของข้ อมูล และการ
สร้ างทฤษฎีขนึ้ จากการเชื่อมโยงหรือเกีย่ วข้ อง
กันของกลุ่มข้ อมูล
ตัวอย่ าง
ปัจจัยทีก่ ่อให้ เกิดการชุมนุมทางการเมืองใน
ประเทศไทย
ปัจจัยที่ก่อให้ เกิดปัญหาการจราจรช่ วงเวลา
เร่ งด่ วนในเขตกรุงเทพมหานคร
2. แบบวิจัยเชิงชาติพนั ธุ์วรรณา (Ethnographic
research design)
เป็ นแบบของการวิจยั เชิงคุณภาพทีใ่ ช้ สาหรับ
การวิจัยเพือ่ ต้ องการอธิบาย การวิเคราะห์ และ
การตีความหมายรู ปแบบของวัฒนธรรม
เกีย่ วกับพฤติกรรม ความเชื่อ และภาษา ทีม่ ีการ
พัฒนามาระยะเวลาหนึ่ง
คาว่ าวัฒนธรรมหมายถึงทุกๆสิ่ งทีเ่ กีย่ วข้ องกับ
พฤติกรรมและความเชื่อของมนุษย์ ในแต่ ละหมู่
เหล่า ได้ แก่ การใช้ ภาษา การหาอาหาร ทีอ่ ยู่
อาศัย โครงสร้ างของสั งคม การติดต่ อสื่ อสาร
การเก็บรวบรวมข้ อมูล ใช้ การสั มภาษณ์ การ
สั งเกต การเก็บรวบรวมเอกสาร
ตัวอย่ าง
การศึกษาวัฒนธรรมของชุมชนมุสลิมในเขต
กรุงเทพมหานคร
การศึกษาคุณภาพชีวติ ของหมอนวดไทย
3. แบบวิจัยเชิงชีวประวัตบิ ุคคล(Narrative Research
design)
เป็ นแบบวิจัยเชิงคุณภาพ ทีใ่ ช้ ศึกษาประวัติชีวติ
ความเป็ นอยู่ของบุคคลใดบุคคลหนึ่งทีน่ ่ าสนใจ
การวิจัยจะเริ่มด้ วยการเก็บรวบรวมประสบการณ์
ด้ านต่ างๆเช่ น การศึกษา การทางาน และผลงาน สรุป
หรือสั งเคราะห์ เป็ นแนวคิด หลักการ หรือปรัชญาใน
การดารงชีวติ ของบุคคลทีส่ นใจศึกษา
แบบวิจัยเชิงผสม(Mixed methods design)
เป็ นแบบวิจัยที่ใช้ แบบวิจัยร่ วมหรือผสมกัน
ระหว่ างแบบวิจัยเชิงปริมาณกับแบบวิจัยเชิง
คุณภาพในการเก็บรวบรวมข้ อมูล การวิเคราะห์
ข้ อมูล สาหรับการทาวิจยั เรื่องใดเรื่องหนึ่ง
แบบวิจัยเชิงปฏิบัติการ(Action research design)
เป็ นแบบวิจัยที่ใช้ สาหรับวิจัยเพือ่ หาวิธีการ
แก้ปัญหาเฉพาะในการปฏิบัติงานของเราเอง ซึ่ง
อาจจะใช้ แบบวิจัยเชิงปริมาณหรือแบบวิจยั เชิง
คุณภาพก็ได้ หรือใช้ ท้งั สองอย่ างร่ วมกันก็ได้
จบการบรรยาย
นักศึกษาคนใดมีปัญหาหรือข้ อสงสั ย
เกีย่ วกับการออกแบบการวิจัยเชิญถามได้ ครับ
โทร.0818345609