ภาควิชา - ศูนย์พุทธศาสนศึกษา ม.เกษตร

Download Report

Transcript ภาควิชา - ศูนย์พุทธศาสนศึกษา ม.เกษตร

พทุ ธจริยธรรม
รหัสวิชา 01388121
หมู่ 1
ประมวลการสอน
ภาคต้ น ปี การศึกษา 2555
1. คณะ มนุษยศาสตร์
ภาควิชา ปรัชญาและศาสนา
2. รหัสวิชา 01388121 หมู่ 1 ชื่อวิชา (ภาษาไทย) พุทธจริ ยธรรม
จานวนหน่ วยกิต 3 (3-3) (ภาษาอังกฤษ) Buddhist Ethics
วิชาพืน้ ฐาน - หมวดวิชา เฉพาะบังคับ, เลือกเสรี
สถานที่ LH.3 – 302
3. ผู้สอน
อาจารย์ ผู้สอน : อาจารย์ ชัชวาลย์ ชิงชัย
อาจารย์ ประจาภาควิชาปรัชญาและศาสนา คณะมนุษยศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน กรุงเทพฯ
4. การให้ นิสิตเข้ าพบและให้ คาแนะนานอกเวลาเรียน
วันอังคาร พฤหัสบดี เวลา 16.30 – 17.00 น.
โทรศัพท์ ภาควิชาฯ 0-2579-6525-6 ต่ อ 114 ฝากข้ อความ 101
แฟ็ กซ์ 0-2942-8719 โทรศัพท์ ภายใน 1439 ต่ อ 1508 ต่ อ 114
มือถือ 0812545515 , 0812458482
อีเมล์ [email protected]
www.buddhism.rilc.ku.ac.th/chachawarn/chachawarn.html
5. จุดประสงค์ ของวิชา
1. เพือ่ ให้ นิสิตได้ เรียนรู้ และเข้ าใจอุดมคติและหลัก
จริยธรรมของพระพุทธศาสนา
2. เพือ่ ให้ นิสิตปฏิบัตติ นได้ อย่ างถูกต้ องตามหลัก
พุทธจริยธรรม
3. เพือ่ ให้ นิสิตการนาหลักพุทธจริยธรรมไปประยุกต์ ใช้ ใน
การแก้ ปัญหาชีวติ และสั งคม
6. คาอธิบายรายวิชา
ธรรมชาติ ขอบเขต แรงจูงใจ กระบวนการและ
เป้าหมายของพุทธจริยธรรม ความสั มพันธ์ กบั ชีวติ และปัญหา
สั งคม
Nature, scope, motive, processes and
purposes of Buddhist ethics; its relation to life
and social problems.
7. เค้ าโครงรายวิชา
1.
2.
3.
4.
5.
ธรรมชาติและขอบเขตของพุทธจริยธรรม
แรงจูงใจทางจริยธรรมในพุทธศาสนา
กระบวนการปฏิบัตใิ นพุทธจริยธรรม
เป้าหมายของการปฏิบัตใิ นพุทธจริยธรรม
พุทธจริยธรรมกับชีวติ และปัญหาสั งคม
รวม
9
9
9
9
9
45
ชั่วโมง
ชั่วโมง
ชั่วโมง
ชั่วโมง
ชั่วโมง
ชั่วโมง
8. วิธีการสอนทีเ่ น้ นผู้เรียนเป็ นสาคัญ
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
การบรรยาย
อภิปรายและตอบปัญหา
ศึกษาค้ นคว้ าด้ วยตนเองเพือ่ ทาเป็ นรายงาน
การปฏิบัตสิ มาธิและวิปัสสนาในห้ องปฏิบัตกิ าร
การสวดมนต์ ปฏิบัติสมาธิและวิปัสสนาที่บ้าน
การทาบัญชีบุญ - บาป เพือ่ ตรวจสอบพฤติกรรมตนเอง
เทศน์ ปุจฉา – วิสัชนา 2 ธรรมาสน์
การเรียนการสอนผ่ านเว็บไซต์
9. อุปกรณ์ สื่อการสอน
1. กระดานดา
2. เครื่องฉายข้ ามศีรษะ
3. วีดทิ ัศน์
4. เพาเวอร์ พอยท์
5. เอกสารประกอบการบรรยาย
6. โฮมเพจรายวิชา
10. การวัดผลสั มฤทธิ์ในการเรียน
1. เขียนส่ งบัญชีบุญ – บาป
4
คะแนน
2. เขียนส่ งใบอารมณ์ กรรมฐาน 12 ครั้ง
6
คะแนน
3. ความประพฤติ
20
คะแนน
3.1 ความประพฤติเข้ าเรียน
10 คะแนน
3.2 ความประพฤติกรรมฐาน
10 คะแนน
6. ปฏิบัติกรรมฐาน 15 ครั้ง
30
คะแนน
7. สอบปลายภาค
40
คะแนน
รวม
100
คะแนน
11. การประเมินผลการเรียน
เนื่องจากวิชานีม้ นี ิสิตลงทะเบียนจากทุกคณะ ดังนั้น อาจารย์
ผู้สอนขอสงวนสิ ทธิ์ที่จะใช้ เกณ์์ ต่าง เพือ่ ความเหมาะสม
?..
12. เอกสารอ่ านประกอบการเรียน
กีรติ บุญเจือ. จริยศาสตร์ สาหรับผู้เริ่มเรียน. กรุ งเทพฯ : ไทยวัฒนา
พานิช, 2519.
เฉลิมเกียรติ ผิวนวล. อภิจริยศาสตร์ . กรุ งเทพฯ : สมิต. มปป.
ชัชชัย คุม้ ทวีพร. จริยศาสตร์ ทฤษฎีและการวิเคราะห์ ปัญหา
จริยธรรม. กรุ งเทพฯ : Mild Publishing. 2540.
ชัชวาลย์ ชิงชัย. คู่มือปฏิบัติพระกรรมฐาน. กรุ งเทพฯ : ภาควิชา
ปรัชญาและศาสนา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ,
2544. (อัดสาเนา)
ดร. เค เอ็น ชยติลเลเก. จริยศาสตร์ แนวพุทธ. แปลและเรี ยบเรี ยงจาก
12. เอกสารอ่ านประกอบการเรียน (ต่ อ)
Ethics in Buddhist Perspective โดย สุ เชาวน์ พลอยชุม. กรุ งเทพฯ :
มหามกุฎราชวิทยาลัย, พิมพ์ครั้งที่ 2, 2532.
พระ ดร. ดับบลิว ราหุล. พระพุทธเจ้ าสอนอะไร. แปลและเรี ยบเรี ยง
จาก What the Buddha taught โดย ชูศกั ดิ์ ทิพย์เกษร และคณะ.
กรุ งเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2532.
พระธรรมปิ ฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). พุทธธรรม (ฉบับเดิม). กรุ งเทพฯ :
โรงพิมพ์สหธรรมิก จากัด, พิมพ์ครั้งที่ 15, 2544.
พระเมธีธรรมาภรณ์ (ประยูร ธมฺ มจิตฺโต). พุทธศาสนากับปรัชญา.
กรุ งเทพฯ : อมริ นทร์ พริ้ นติ้ง กรุ๊ ป, 2533.
วศิน อินทสระ. จริยศาสตร์ . กรุ งเทพฯ : บรรณาคาร, 2518.
12. เอกสารอ่ านประกอบการเรียน (ต่ อ)
วิทย์ วิศเวทย์. จริยศาสตร์ เบือ้ งต้ น. กรุ งเทพฯ : อักษรเจริ ญทัศน์,
2532.
สุ เชาวน์ พลอยชุม. พุทธปรัชญาในสุ ตตันตปิ ฎก. กรุ งเทพฯ :
ภาควิชาปรัชญาและศาสนา คณะมนุษยศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2546. (อัดสาเนา)
. พุทธศาสนาเถรวาท. กรุ งเทพฯ : ภาควิชาปรัชญาและ
ศาสนา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ , 2537. (อัด
สาเนา)
สุ นทร ณ รังษี. พุทธปรัชญาจากพระไตรปิ ฏก. กรุ งเทพฯ :
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543.
13. ตารางกิจกรรมทีเ่ กีย่ วข้ องกับการเรียนการสอน
สั ปดาห์
ที่
วัน / เดือน / ปี
1
พ. 13 มิ.ย. 55
2
พ. 20 มิ.ย.55
3
พ. 27 มิ.ย. 55
เนือ้ หา
แผนการสอน, อริ ยสัจและ
หน้าที่การปฏิบตั ิให้ถกู ต้อง
ในอริ ยสัจ 4
เป้ าหมายชีวิต 3 ขั้น, กาเนิด
4 และภูมิ 31, หลักปฏิบตั ิ
ของชาวพุทธแท้
ฉายภาพยนตร์
“พระพุทธเจ้ามหาศาสดาที่
โลกไม่ลืม” โดย คีนู รี ฟ
กิจกรรมการเรียนการสอน
ผู้สอน *
ฟังบรรยาย , ปฏิบตั ิ อ.ชัชวาลย์
ธรรม ,
ตอบปัญหาธรรมะ
ปฏิบตั ิธรรมที่อาคาร อ.ชัชวาลย์
เทพฯ
13.00 – 12.45 น.
ฟังบรรยาย , ปฏิบตั ิ อ.ชัชวาลย์
ธรรม ,
ตอบปัญหาธรรมะ
13. ตารางกิจกรรมทีเ่ กีย่ วข้ องกับการเรียนการสอน (ต่อ)
4
พ. 4 ก.ค. 55
5
พ. 11 ก.ค. 55
6
พ. 18 ก.ค. 55
บัญชี บุญ – บาป แนวทาง
แห่งการทาดีและชัว่ 3 ทาง,
บุญ 10 ประการ
ไตรสิ กขาและอริ ยมรรคมี
องค์ 8 ประการ, อุปมา
ไตรสิ กขา
อานิสงส์เมตตา 11 ประการ
, แบ่งกรรมฐานลงในจริ ต 6
ประการ
กสิ ณ 10, อสุ ภะ 10,
อานุภาพกรรมฐาน 40,
ระดับสุ ข 10 ขั้นปฐมฌานมี
องค์ 5 กับคู่ปรับคือนิวรณ์ 5
และการสารวมอินทรี ย ์
ฟังบรรยาย , ปฏิบตั ิ
ธรรม ,
ตอบปัญหาธรรมะ
ฟังบรรยาย , ปฏิบตั ิ
ธรรม ,
ตอบปัญหาธรรมะ
อ.ชัชวาลย์
ฟังบรรยาย , ปฏิบตั ิ
ธรรม ,
ตอบปัญหาธรรมะ
อ.ชัชวาลย์
อ.ชัชวาลย์
13. ตารางกิจกรรมทีเ่ กีย่ วข้ องกับการเรียนการสอน (ต่ อ)
7
พ. 25 ก.ค. 55
8
พ. 1 ส.ค. 55
9
พ. 15 ส.ค. 55
10
พ. 22 ส.ค. 55
11
พ. 29 ส.ค. 55
ชม พระเวสสันดรชาดก
นาแสดงโดย อ.ชัชวาลย์ ชิงชัย
ฟังบรรยาย , ปฏิบตั ิ
ธรรม ,
ตอบปัญหาธรรมะ
ฉายวีซีดี พ่อผมเป็ นมหา
ฟังบรรยาย , ปฏิบตั ิ
นาแสดงโดย ศรัณยู
ธรรม ,
วงษ์กระจ่าง
ตอบปัญหาธรรมะ
อานาปานัสสติสูตรและสติปัฎฐาน ฟังบรรยาย , ปฏิบตั ิ
สูตร (เทศน์ปุจฉาและวิสชั ชนา)
ธรรม ,
ตอบปัญหาธรรมะโสฬสญาณ การเจริ ญวิปัสสนา 16 ฟังบรรยาย , ปฏิบตั ิ
ขั้นและการปรับอินทรี ย ์ 5
ธรรม ,
ประการ, ไตรลักษณ์
ตอบปัญหาธรรมะ
อริ ยบุคคล 4 กับไตรสิ กขา
ฟังบรรยาย , ปฏิบตั ิ
ธรรม ,
ตอบปัญหาธรรมะ
อ.ชัชวาลย์
อ.ชัชวาลย์
อ.ชัชวาลย์
อ.ชัชวาลย์
อ.ชัชวาลย์
13. ตารางกิจกรรมทีเ่ กีย่ วข้ องกับการเรียนการสอน (ต่อ)
12
พ. 5 ก.ย. 55
การละสังโยชน์และการเสพ
สุ ข 3 สภาพชีวติ ที่สุขสงบ
อย่างแท้จริ ง
ฟังบรรยาย , ปฏิบตั ิ
ธรรม ,
ตอบปัญหาธรรมะ
อ.ชัชวาลย์
13
พ. 12 ก.ย. 55
สรุ ปก่อนสอบ
ฟังบรรยาย , ปฏิบตั ิ
ธรรม ,
ตอบปัญหาธรรมะ
อ.ชัชวาลย์
14
พ. 19 ก.ย. 55
สรุ ปก่อนสอบ
ฟังบรรยาย , ปฏิบตั ิ
ธรรม ,
ตอบปัญหาธรรมะ
อ.ชัชวาลย์
15
พ. 26 ก.ย. 55
อ.ชัชวาลย์
พิธีปิด
หมายเหตุ : โปรดเชื่อฟังและปฏิบัติตามอย่ างเคร่ งครัด
1. แต่ งกายให้ ถูกต้ องตามระเบียบ ฝ่ าฝื นจะไม่ ได้ รับอนุญาตให้ เข้ าชั้นเรียน
2. อาจารย์ จะปิ ดล็อกประตูและเริ่มสอนในเวลา 13.15 น. จะมีการเช็คชื่อผู้เข้ า
เรียนทุกครั้ง
นิสิตจะมีเฉพาะเข้ าเรียนและขาดเรียนเท่ านั้น ไม่ มีสายเนื่องจากไม่ สามารถเข้ า
ห้ องเรียนได้
3. การทาบัญชีบุญ – บาปส่ งตลอดภาคเรียนทั้งหมด 4 ครั้ง ส่ ง 4 ครั้งได้ 6
คะแนน ส่ งแต่ ละครั้งได้ 1.5 คะแนน โดยเริ่มส่ งครั้งแรกในวันพุธที่ 2 พ.ค. 55
ส่ งครั้งสุ ดท้ ายครั้งที4่ วันพุธที่ 16 พ.ค. 55 ให้ ทาการบันทึกพฤตกรรมดีและไม่
ดีของตัวเองทุกวันโดยให้ นับวันศุกร์ เป็ นวันแรกและทาการปิ ดบัญชีในคืนวัน
พฤหัสบดี
จากนั้นให้ สรุปยอดบุญบาป โดยทาการหักลบตลอดสั ปดาห์ ว่ ากาไรหรือ
ขาดทุนโดยให้ สรุปดังนี้
ตัวอย่ าง
ครั้งที่ 1 บุญสุ ทธิ
63
หน่ วย
บาปสุ ทธิ
49
หน่ วย
กาไรสุ ทธิ
14
หน่ วย
รายละเอียดให้ ไปศึกษาได้ ตามตัวอย่ างรายงานยอดเยีย่ มบนเว็บไซด์
หน้ า 87 ขาดส่ งแม้ เพียงครั้งเดียวหัก 4 คะแนน ไม่ ส่งตามเวลาหัก 2 คะแนน
4. เขียนส่ งใบอารมณ์ กรรมฐาน 12 ครั้ง ห้ ามพิมพ์ส่งโดยเด็ดขาด โดยให้ ทาการ
เขียนส่ งเป็ นกระดาษ A 4 เป็ นการเก็บรวบรวมประสบการณ์ ที่เข้ าเรียนในทุก
ส่ วน ไม่ จากัดจานวนหน้ า โดยส่ งงานทีเ่ รียนวันจันทร์ ในวันอังคาร เรียนวันพุธ
ส่ งวันพฤหัสบดี เรียนวันศุกร์ ส่งวันจันทร์ ไม่ ให้ เกิน 18:00 น. ของวันกาหนด
ส่ งงานนั้น หากส่ งล่าช้ า จะไม่ รับงานย้ อนหลังไม่ ว่ากรณีใด ทั้งสิ้น
5. ในกรณีขาดเรียนเกิน 3 ครั้งไม่ มีสิทธิสอบไล่ แต่ หากมีเหตุจาเป็ นจริง ให้
มาแจ้ ง TA หรืออาจารย์ เป็ นใบลา การขาดเรียนแต่ ละครั้ง จะถูกหักคะแนน
ความประพฤติ ในด้ านเข้ าเรียนดังนี้ ครั้งที่ 1 และครั้งที่ 2 ตัดครั้งละ 3 คะแนน
ครั้งที่ 3 ตัด 4 คะแนน ในกรณีมีใบลาแล้วมีขาดครั้งที่ 4 ขึน้ ไป หักคะแนนใน
ส่ วนพฤติกรรมด้ านกรรมฐานครั้งละ 2 คะแนน
6. ปฏิบัติกรรมฐานให้ คะแนนครั้งละ 2 คะแนน ถ้ าขาดปฏิบัติในแต่ ละครั้ง
สามารถไปปฏิบัติชดเชยได้ ทอี่ าคารพุทธเกษตร ชั้น 2 ในทุกวันอังคารและวัน
พุธ เวลา 06.30 – 08.15 น. ตลอดภาคเรียน ถ้ าขาดปฏิบัติกรรมฐานแม้ แต่ ครั้ง
เดียวจะถูกหักในส่ วนคะแนนความประพฤติด้านกรรมฐาน 10 คะแนนทันที
7. คะแนนความประพฤติเต็ม 20 คะแนน มีเกณ์์ การให้ คะแนน ดังนี้
1. เข้ าเรียนครบทุกครั้งให้ 10 คะแนน ถ้ าขาดเรียนเป็ นไปตามกฎข้ อ 5
2. คะแนนความประพฤติในส่ วนการปฏิบัตกิ รรมฐาน ยึดการเข้ าเรียน
เป็ นหลัก หากในกรณีมีใบลาแล้วมีขาดครั้งที่ 4 ขึน้ ไป จะหักคะแนนในส่ วน
พฤติกรรมด้ านกรรมฐานครั้งละ 2 คะแนนไปเรื่อย
8. การคิดคะแนนสอบปลายภาคมีสูตร ดังนี้
เอาจานวนคะแนนที่ได้ หารด้ วย 2.25 ผลลัพธ์ คอื คะแนนสอบที่ได้
ตัวอย่ าง เช่ น
ถ้ าได้ 90 คะแนน จากสู ตร 90 หารด้ วย 2.25 = 40 คะแนน
ทศนิยมที่ได้ จากการสอบไม่ มีการปัดคะแนนขึน้
ฝ่ าฝื น จะถูกตักเตือน ตัดคะแนน
และรายงานให้ อาจารย์ ที่ปรึกษาทราบตามควรแก่กรณี
ปรัชญาคณะมนุษยศาสตร์
คณะมนุ ษยศาสตร์ มีปรั ชญาการจัดการศึ กษาที่
เสริมสร้ างบุคคลให้ เป็ นคนที่สมบูรณ์ โดยเฉพาะอย่ างยิ่ง
มี ค วามเจริ ญ ทางสติ ปั ญ ญา คุ ณ ค่ า ของจิ ต ใจ การใช้
วิจารณญาณอย่ างรอบคอบและปรับตัวได้ อย่ างเหมาะสม
ปณิธานคณะมนุษยศาสตร์
คณะมนุษยศาสตร์ มีปณิธานในการผลิตบัณ์ิตให้ มี
คุณภาพ เพียบพร้ อมด้ วยความรู้ ทางวิชาการและวิชาชี พที่
ทันสมัย มีความใฝ่ รู้ มีความคิดวิเคราะห์ มีความคิดริ เริ่ ม
สร้ างสรรค์ ตลอดจนเป็ นบัณ์ิตที่มีจริ ยธรรม คุณธรรม
เป็ นแบบอย่ างที่ดีแก่ สังคมและดาเนินชี วิตอยู่ในสั งคมได้
อย่ างมีความสุ ข
ขึ้นชื่อว่าวิชาควรศึกษาทุกอย่างไป
ศึกษาให้เข้าใจเป็ นคุณเครื่ องเรื องปัญญา
แต่วา่ อย่าพึงใช้ทุกอย่างไปที่ศึกษา
ชีวิตและเวลาเป็ นปัญหาให้จานน
จะใช้วชิ าใดจงใส่ ใจในเหตุผล
ทาใดต้องใจคนนัน่ คือผลของวิชา
ขอให้ ทุกคนจงโชคดี ตามสติกาลังของแต่ ละคน