เอกสาร ประกอบ - มหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย

Download Report

Transcript เอกสาร ประกอบ - มหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย

ปั ญญา
เบิกบาน
เชี่ยวชาญ
คุณธรรม
จัดการประชุมวิชาการระดับชาติดา้ น อีเลิร์นนิง ปี 2553 ,วันที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2553
มหาวิทยาลัยไซเบอร์ ไทย (TCU)
The 1st TCU National Conference, August11, 2010
ปั ญญา
เบิกบาน
โดย
นางสาวปริญญา บรรณเภสัช
เชี่ยวชาญ
คุณธรรม
จัดการประชุมวิชาการระดับชาติดา้ น อีเลิร์นนิง ปี 2553
"Enhancing the Quality of e-Learning" วันที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2553
The 1st TCU ,August 11 2010
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
หัวข้ อการนาเสนอ
บทนาความเป็ นมาและความสาคัญของปั ญหา
วัตถุประสงค์ ของการวิจัย
ขอบเขตการศึกษาวิจัย
กรอบแนวคิดในการวิจัย
ระเบียบวิธีวจิ ัยที่ใช้
อุปกรณ์ ท่ ใี ช้ ในการวิจัย
ประโยชน์ ท่ คี าดว่ าจะได้ รับจากการวิจัย
สมมุตฐิ านการวิจัย
นิยามศัพท์ เฉพาะ
แนวคิดทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้ อง
บทนา
• ความเจริญของเทคโนโลยีอินเทอร์ เน็ต
• พระราชบัญญัตเิ ทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
- มาตรา 63 สร้ างสื่อโครงสร้ างพืน้ ฐานเพื่อประโยชน์ สาหรับ
การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
- มาตรา 65 ให้ มีการพัฒนาบุคลากรผู้ผลิตและผู้ใช้ เทคโนโลยีให้ มี
คุณภาพและประสิทธิภาพ
- มาตรา 67 เพื่อการศึกษา การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล
การใช้ เทคโนโลยีให้ ค้ ุมค่ าและเหมาะกับกระบวนการเรียนรู้
ปั ญหาและอุปสรรค
• 1. การจัดการระบบการเรียนการสอน
–
–
–
–
–
มีอาจารย์ ผ้ ูสอนจานวนหลายท่ าน
อาจารย์ พบนักศึกษาเฉพาะในห้ องเรียนเท่ านัน้
อาจารย์ มีภาระงานสอนอื่นนอกจากงานประจา
การแจ้ งข่ าวสารไม่ สะดวกรวดเร็ว
การส่ งงานและการตรวจงานให้ นักศึกษาไม่ สามารถทาได้ อย่ างทั่วถึง
• 2. ด้ านงบประมาณที่สนับสนุนการเรียนการสอน
– จัดทาเอกสารประกอบการเรียนการสอนไม่ เพียงพอ
– เครื่องมืออุปกรณ์
ปั ญหาข้ อจากัดด้ านการเรี ยนการสอนเชิงอิเล็กทรอนิกส์
• 1. อุปกรณ์ ความพร้ อมด้ านเทคโนโลยีสารสนเทศ
– ด้ านความเร็วของแบนด์ วทิ ที่ใช้ เชื่อมต่ อเครื อข่ าย
– อุปกรณ์ ลาโพงกล้ องดิจติ อลเพื่อช่ วยสื่อการเรี ยนการสอนได้ ครบ
• 2. ด้ านเอกสารที่ใช้ เป็ นสื่อในการเรียนที่น่าสนใจต่ อกระบวนการ
เรียนรู้ ควรจัดเครื่องพิมพ์ ให้ มีมากยิ่งขึน้
• 3. ขาดอุปกรณ์ ท่ มี ีคุณภาพมาตรฐานระดับเดียวกันเพื่อให้
สามารถใช้ เครื่องคอมพิวเตอร์ ต่างระบบกัน
• 4. การที่จะให้ ผ้ ูสอนเป็ นผู้ออกแบบโปรแกรมบทเรียนนัน้ นับว่ าเป็ นงานที่
• ต้ องอาศัยเวลา สติปัญญา และความสามารถ ทาให้ เพิ่มภาระกับ
ผู้สอนมากยิ่งขึน้
ปั ญหาข้ อจากัดด้ านการเรี ยนการสอนเชิงอิเล็กทรอนิกส์
• 5. เนื่องจากบทเรียนคอมพิวเตอร์ เป็ นการวางบทเรียนไว้ ล่วงหน้ า
• ตามลาดับขัน้ ตอนในการสอนทุกอย่ างที่วางไว้ จึงไม่ สามารถช่ วย
พัฒนาความคิดสร้ างสรรค์ ของผู้เรียนได้
• 6. ปั ญหาด้ านประสิทธิภาพในด้ านการทดสอบประเมินผลผู้เรียน
• 7. ผู้เรียนบางคนที่เป็ นผู้ใหญ่ อาจไม่ ชอบโปรแกรมที่เรียนตามขัน้ ตอน
ทาให้ เป็ นอุปสรรคต่ อการเรียนรู้
• 8. การพบหน้ ากันระหว่ างผู้เรียนและผู้สอนแบบ Face-to-Face ผลให้ มี
นักศึกษาบางกลุ่มไม่ กล้ าสอบถามปั ญหาจากอาจารย์
• 9. ข้ อจากัดด้ านเวลาการเรียนรู้ในการเรียนการสอนผ่ านอิเล็กทรอนิกส์ มี
ผลต่ อการเรียนรู้เนื่องจากการเรียนมีขีดจากัดในการเรียนรู้
• 10.ผู้เรียนต้ องใช้ ทกั ษะพิเศษและความรับผิดชอบในตัวเองสูงในการ
เรียนผ่ านระบบ
การเรี ยนแบบดั้งเดิม และ การเรี ยนเชิงอิเล็กทรอนิกส์
แบบผสมผสานE-Learning และ M-Learning
อาศัยความชานาญเป็ นหลัก
เน้ นทีอ่ งค์ ความรู้หรือวิชาเรียน
การเรียนแบบเชิงรับ
ขึน้ อยู่กบั อาจารย์ เวลา และสถานที่
เนือ้ หามีลกั ษณะตายตัว
มีอาจารย์ ผู้สอนในห้ องเรียน
อาศัยฐานความรู้
เน้ นผู้เรียนเป็ นศูนย์ กลาง
การเรียนแบบเชิงรุก
เรียนได้ ทุกเวลา ทุกสถานที่
เนือ้ หาสามารถแก้ไขปรับปรุงได้
วิธีการเรียนรู้ ด้วยตนเอง ค้ นคว้ าห้ องสมุด
วัตถุประสงค์ ของการวิจัย
• เพื่อศึกษาความพร้ อมและความจาเป็ นในการเรี ยนการสอนแบบผสมผสาน
E-Learning และ M-learning จาก 4กลุ่ม
–
–
–
–
กลุ่มผู้เรียน
กลุ่มผู้สอน
กลุ่มผู้เชี่ยวชาญด้ านเทคโนโลยีระบบเครื อข่ ายในมหาวิทยาลัย
กลุ่มผู้บริหาร
• เพื่อทาการออกแบบและจัดทารู ปแบบการเรี ยนการสอนเชิงอิเล็กทรอนิกส์ แบบ
ผสมผสาน (E-Learning และ M-Learning) สาหรั บมหาวิทยาลัยเสมือนจริง
• เพื่อทาการประเมินความเหมาะสมของรู ปแบบและเนือ้ หาของการเรี ยนการสอน
เชิงอิเล็กทรอนิกส์ จากกลุ่มผู้บริหาร
• เพื่อทาการประเมินทัศนคติของอาจารย์ ผ้ ูสอนและนักศึกษาที่มีต่อระบบการ
เรี ยนการสอนเชิงอิเล็กทรอนิกส์ แบบผสมผสานสาหรั บมหาวิทยาลัยเสมือนได้
ขอบเขตการศึกษาวิจัย
1.
ทาการพัฒนาระบบการเรียนการสอนผ่ านอินเทอร์ เน็ตในการออกแบบภาษามือ
2.
เน้ นการเรียนรู้ด้วยตนเองผ่ านระบบเครื อข่ ายโดยเน้ นการเรี ยนแบบร่ วมมือ การวิเคราะห์
สังเคราะห์ ระหว่ างผู้เรียนกับผู้เรียนและผู้เรียนกับผู้สอน
3.
กลุ่มตัวอย่ าง ได้ แก่ นักศึกษามหาวิทยาลัยศรีปทุม ระดับชัน้ ปี ที่ 1 คณะบัญชี คณะสารสนเทศ
ศาสตร์ คณะนิเทศศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจ คณะศิลปศาสตร์ คณะนิตศิ าสตร์ คณะ
เศรษฐศาสตร์ นักศึกษาสามารถติดต่ อและโต้ ตอบซึ่งกันและกันได้ โดยผ่ านกระดานสนทนา
อิเล็กทรอนิกส์
4.
สร้ างรูปแบบการเรี ยนแบบผสมผสานระหว่ างการเรี ยนการสอนแบบ E-Learning และ
M-Learning
5.
ขอบเขตในด้ านช่ วงเวลาในปี การศึกษา 1/2553-2/2553
เครื่ องมือที่ใช้ในการวิจยั
• แบบสอบถามแบบปลายเปิ ดและปลายปิ ดการประเมินความพร้ อมและความจาเป็ น
ในการเรี ยนการสอนแบบผสมผสาน E-Learning และ
M-learning 4 กลุม่
–
–
–
–
กลุ่มผู้เรี ยน
กลุ่มผู้สอน
กลุ่มผู้เชี่ยวชาญด้ านเทคโนโลยีระบบเครื อข่ ายในมหาวิทยาลัย
กลุ่มผู้บริหาร
• แบบสอบถามทั้งแบบปลายเปิ ด และปลายปิ ดเพื่อถามทัศนคติและความคิดเห็นของ
– กลุ่มอาจารย์ในคณะต่างๆ ของมหาวิทยาลัยศรี ปทุม
– กลุ่มผูเ้ รี ยนในแต่ละคณะในชั้นปี มหาวิทยาลัยศรี ปทุม เพื่อประเมินความพึงพอใจของผูใ้ ช้
ระบบการเรี ยนการสอนแบบผสมผสาน
– กลุ่มผูบ้ ริ หารหรื อผูท้ รงคุณวุฒิในการควบคุมนโยบาย
ซึ่งใช้ขอ้ คาถามแบบมาตราส่ วนประเมินค่าลิเคร์ท (Likert’Scale) 5 ระดับ
กรอบแนวคิดในการวิจัย
-ในชั้นเรี ยน(ผูเ้ รี ยน)
-ผูส้ อน
-ผูเ้ ชี่ยวชาญเทคโนโลยี
-ผูบ้ ริ หาร
Survey
E-Learning
M-Learning
Design
-ห้องเรี ยนเสมือน
-วัตถุประสงค์ ปฏิทินการสอน
- การให้คะแนน การทดสอบแบบฝึ กหัด
-ประเมินทัศนคติในด้านต่าง ๆ
Attitude
ระบบการเรี ยนการสอนแบบผสมผสาน E-Learning and M-Learning
- ทฤษฎี Web Quest, มาตาฐานอีเลิร์นนิ่ง IMS
- วิเคราะห์ระบบ SDLC
กรอบแนวคิดในการวิจัย
1. สร้ างรูปแบบการเรียนการสอนออนไลน์ (Online)ผ่ านอินเทอร์ เน็ต
2. การสร้ างเนือ้ หาบทเรียนเป็ นขัน้ ตอน โดยเชื่อมโยงผ่ านระบบเครื อข่ าย
3. การสร้ างบทเรียน และคลังข้ อสอบเนือ้ หาแต่ ละรายวิชา แต่ ละบทเรี ยน
โดยสื่อแบบภาพเคลื่อนไหว เพิ่มไฟล์ เสียงแทรกระหว่ างบทเรียน
4. สร้ างระบบความปลอดภัยของข้ อมูลในบทเรียนเพื่อป้องกันการแก้ ไข
ข้ อมูลที่บรรจุบทเรียนและแบบทดสอบ
5. สร้ างระบบการเรียนการสอนที่มีการเรียนรู้แบบออนไลน์ และกระดาน
อิเล็กทรอนิกส์ เพื่อสร้ างปฏิสัมพันธ์ ระหว่ างผู้เรียนกับผู้สอน
6. สร้ างเว็บเพจการประเมินเพื่อให้ ผ้ ูเรียนประเมินผลรายวิชาที่ศึกษา
รูปแบบการเรียนการสอนแบบผสมผสานสาหรับมหาวิทยาลัยศรีปทุม
E-Classroom
SPU
E-Lab
E-book/Library
E-Learning And
M-Learning
Model
E-Tutoring
E-Advisor
Course Templete
E-Journal
E-Evaluation
LMS
ระบบการบริหารการเรียนการสอน
(Learning Management System (LMS))
1.
2.
3.
4.
5.
6.
สร้ างเนือ้ หาบทเรี ยน
การจัดการเนือ้ หาบทเรี ยน
การประเมินผลการเรี ยนการสอน
การติดต่ อสื่อสารข้ อมูล
ลิขสิทธิ์และค่ าธรรมเนียม
การจัดการสาหรั บผู้ใช้ ทงั ้ ส่ วนบุคคลและเป็ นกลุ่ม
วิธีดาเนินการวิจัย
1. ศึกษาระบบงานเดิม และความต้ องการของผู้ใช้ ระบบ
2. ศึกษาเครื่ องมือที่จะใช้ ในการพัฒนาระบบการเรี ยนการสอนแบบ
ผสมผสานในรู ปแบบการเรี ยนการสอนแบบ E-Learning และ
M-Learning
3. รวบรวมข้ อมูลที่ได้ จากการศึกษา เพื่อดาเนินการตัดสินใจเลือก
ฮาร์ ดแวร์ และซอฟต์ แวร์ ท่ ีเหมาะสมในการดาเนินงาน
4. สร้ างรู ปแบบการเรี ยนการสอนในระบบการเรี ยนการสอนแบบ
ผสมผสาน
5. ผู้เชี่ยวชาญตรวจรู ปแบบและเนือ้ หาของระบบงาน
6. พัฒนาเว็บการเรี ยนเชิงอิเล็กทรอนิกส์ แบบผสมผสาน
7. การนารู ปแบบการเรี ยนการสอนแบบผสมผสานมาใช้ ในองค์ กร
8. ทาการประเมินผลการใช้ งานเพื่อวัดระดับความพึงพอใจ
9. ทาการปรั บปรุ งระบบ เพื่อให้ มีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับงาน
ประโยชน์ ท่ คี าดว่ าจะได้ รับจากการวิจยั
1. ได้ ส่ ือที่ใช้ ถ่ายทอดความรู้ท่ มี ีมาตรฐานจากการสารวจ
2. ได้ ต้นแบบการเรียนการสอนเชิงอิเล็กทรอนิกส์ แบบผสมผสาน สาหรับ
มหาวิทยาลัยเสมือน
3. ได้ ระบบการประเมินผลที่มีประสิทธิภาพการเรียนการสอนผ่ านเครือข่ าย
4. ทราบทัศนคติของอาจารย์ และนักศึกษาที่มีต่อการเรียนการสอนเชิง
อิเล็กทรอนิกส์ และสามารถเป็ นเครื่องมือที่ช่วยในการพัฒนาระบบการสอ
ของอาจารย์ ให้ มีความทันสมัย
The 1st KU Symposium on Education Research, November14, 2009 , Kasetsart University
นิยามศัพท์เฉพาะที่ใช้ในงานวิจยั
• ระบบการเรี ยนการสอนผ่านเครื อข่ายอินเทอร์เน็ต หมายถึง การจัด
องค์ประกอบการเรี ยนการสอนอย่างมีระบบ โดยอาศัยเทคโนโลยี
อินเทอร์เน็ต มาใช้เป็ นสื่ อกลางในการเชื่อมโยงองค์ประกอบของการเรี ยน
ให้มีความสัมพันธ์กนั
• อินเทอร์เน็ต หมายถึง ระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ที่มีการเชื่อมโยง
เครื อข่ายคอมพิวเตอร์หลากหลายเครื อข่ายเข้าด้วยกัน โดยติดต่อสื่ อสาร
แลกเปลี่ยนและใช้ขอ้ มูลต่างๆ ร่ วมกัน โดยใช้มาตรฐานในการรับส่ งข้อมูล
ที่เป็ นหนึ่งเดียวกัน เรี ยกว่า โพรโทคอล ซึ่งโพรโทคอลที่ใช้บนระบบ
เครื อข่ายอินเทอร์เน็ตมีชื่อว่า ทีซีพี/ไอพี
นิยามศัพท์เฉพาะที่ใช้ในงานวิจยั
• การเรี ยนการสอนผ่านอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง รู ปแบบการ
เรี ยนการสอนโดยอาศัยสื่ ออิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งการนาเสนอเนื้อหา
อาศัยเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ในรู ปสื่ อมัลติมีเดีย ได้แก่ ข้อความ
อิเล็กทรอนิกส์ ภาพนิ่ง ภาพกราฟิ ก วิดีโอ ภาพเคลื่อนไหว รู ปแบบ
การเรี ยนรู ้จะมี 3 รู ปแบบ คือผูส้ อนกับผูเ้ รี ยน ผูเ้ รี ยนกับผูเ้ รี ยน
ผูเ้ รี ยนหนึ่งคนกับกลุ่มของผูเ้ รี ยน ปฏิสมั พันธ์สามารถกระทาได้ผา่ น
เครื่ องมือสองลักษณะ คือแบบเวลาจริ ง (Real-Time) ได้แก่การ
สนทนาพิมพ์ในลักษณะข้อความ แลกเปลี่ยนข่าวสารหรื อส่ งใน
ลักษณะของการบริ การห้องสนทนา และแบบไม่ใช่เวลาจริ ง (Non
Real-time) ไดแก่ การส่ งข้อความถึงกัน ผ่านกระดานถามตอบ
นิยามศัพท์เฉพาะที่ใช้ในงานวิจยั
• การเรี ยนรู ้ทางเดียว หมายถึงสถานการณ์การเรี ยนที่ผเู ้ รี ยนและ
ผูส้ อนไม่ได้อยูใ่ นเวลาเดียวกันโดยกรเน้นผูเ้ รี ยนเป็ นศูนย์กลาง ไม่
จาเป็ นต้องอยู่ ณ สถานที่เดียวกับครู ผสู ้ อน รู ปแบบการเรี ยนเรี ยน
ผ่านอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์แบบผสมผสาน มีการปฏิสมั พันธ์การ
โต้ตอบกันระหว่างผูเ้ รี ยนกับผูส้ อนโดยมีการใช้เทคโนโลยีหลาย
รู ปแบบ เช่น กระดานสนทนา กระดานข่าว
• การเรี ยนรู ้สองทาง หมายถึง สถานการณ์การเรี ยนที่ผเู ้ รี ยนผูส้ อนอยู่
ในช่วงเวลาเดียวกัน โดยเน้นผูส้ อนเป็ นศูนย์กลาง ส่ งผลให้มี
ปฎิสัมพันธ์แบบ Real Time เช่นรู ปแบบการเรี ยนแบบดั้งเดิม การ
สอนทางไกลผ่านดาวเทียม
นิยามศัพท์เฉพาะที่ใช้ในงานวิจยั
• ระบบการบริ หารการเรี ยนออนไลน์ (Learning Managrment
System) หมายถึงการพัฒนาระบบเพื่อใช้ในการสร้างสื่ อการเรี ยน
ออนไลน์
• มาตรฐานอีเลิรน์นิ่ง (Instructional Management System :IMS)
หมายถึงมาตรฐานสากลในการจัดทาบทเรี ยนอิเล็กทรอนิกส์ที่เป็ นที่
ยอมรี บกันอย่างกว้างขวาง โดยช่วยให้เกิดการใช้ทรัพยากรร่ วมกัน
ได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ และช่วยให้สามารถนาบทเรี ยนกลับมาใช้
ประโยชน์ได้อีก
The 1st จัดการประชุมวิชาการระดับชาติดา้ น อีเลิร์นนิง ปี 2553 Research,
แนวคิดทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้ อง
• 1.
–
–
–
–
ขัน้ ตอนการพัฒนาระบบการเรี ยนการสอนเชิงอิเล็กทรอนิกส์
รู ปแบบการสอนชนิดต่ าง ๆ
ความหมายของระบบการเรี ยนการสอนเชิงอิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)
ความหมายของระบบการเรี ยนการสอนผ่ านระบบมือถือ (M-Learning)
รู ปแบบการเรี ยนการสอนเชิงอิเล็กทรอนิกส์ แบบผสมผสาน (E-LearningM-Learning)
• 2. ระบบห้ องเรี ยนเสมือน (Virtual Classroom)
• 3. การนาระบบการเรี ยนการสอนเชิงอิเล็กทรอนิกส์ มาใช้ ในระบบ
การศึกษา
• 4. งานวิจัยที่เกี่ยวข้ อง
รูปแบบวิธีการสอนแบบต่ าง ๆ
• การสอนผ่ านเว็บ (Web-based Instruction)
• การประชุมรู ปแบบวีดีโอ (Video Conferencing)
• คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน (CAI)
The 1st จัดการประชุมวิชาการระดับชาติดา้ น อีเลิร์นนิง ปี 2553 Research,
M-Learning
• m-Learning หรื อ Mobile-Learning ที่ต่อยอดมาจาก e-Learningเหตุผลก็
เพราะว่า e-Learning ยังตอบสนองความต้องการยังเพียงพอเพราะ e-Learning
ส่ วนมากตอบสนองการเรี ยนรู ้โดยการเข้าสู่ ระบบผ่านอินเทอร์ เน็ต ซึ่ งต้อง
คอยเชื่อมต่อกับระบบอยูต่ ลอดเวลา แต่ m-Learningไม่จาเป็ น
• หลักการก็คือทาให้ผเู ้ รี ยนสามารถที่จะนาเอาบทเรี ยนมาวางไว้บนมือถือและ
เรี ยกดูได้ตลอดเวลาทุกที่ พร้อมทั้งสามารถที่จะรับส่ งข้อมูลได้เมื่อจาเป็ นและ
มีสัญญาณจากเครื อข่ายโทรคมนาคม นอกจากนั้นจะต้องสามารถทางานได้
ทั้งสองทาง เปลี่ยนแปลงบทเรี ยนส่ งการบ้าน หรื อวิเคราะห์คะแนนจาก
แบบฝึ กหัดได้เช่นกัน (ไตรรัตน์ ฉัตรแก้ว.CIO Forum.ธันวาคม 2547 )
• ดังนั้น m-learning คือ การศึกษาทางไกลผ่านทางอุปกรณ์เคลื่อนที่แบบไร้สาย
ต่างๆ เช่น โทรศัพท์มือถือ , PDA และ laptop computer สามารถเรี ยนรู้ผา่ น
m-learning ได้เช่นกัน โดยเฉพาะคนที่ตอ้ งเดินทางบ่อยๆ อยูไ่ ม่เป็ นหลัก
แหล่ง, หาที่เล่น อินเทอร์ เน็ต ลาบาก และสะดวกที่จะใช้อุปกรณ์ไร้สายต่างๆ
เช่น โทรศัพท์มือถือ หรื อ PDA
แสดงความสัมพันธ์ เทคโนโลยีท่ มี ีบทบาททางการศึกษา
Distance Learning
E-Learning
Online Learning
Computer –Based
Learning
The 1st KU Symposium on Education Research, November14, 2009 , Kasetsart University
โมเดลการเรียนการสอนแบบซิงโครนัส
synchronous Learning ยุค E-Learning
ห้องเรี ยนเสมือนจริ ง
Tele Education
อาจารย์ผสู้ อน
เครือข่ าย
มหาวิทยาลัย
Chatroom Web Online Realtime
นักศึกษา
เชื่อมสู่เครื อข่าย
ห้องเรี ยนจริ ง
การเรียนการสอนทีม่ ีการนัดเวลา สถานที่ ตัวบุคคล มีการกาหนดเวลาเรียน
โมเดลการเรียนการสอนแบบอะซิงโครนัส
• Asynchronous Learning ยุค E-Learning
อาจารย์ผสู้ อน
เครือข่ าย
มหาวิทยาลัย
โฮมเพจรายวิชา
นักศึกษา
เชื่อมต่อความรู้โลก
โฮมเพจนักศึกษา
การเรียนผ่ านเว็บ การแลกเปลี่ยนข่ าวสาร โดยเรียน ณ คนละเวลา
องค์ ประกอบการเรียนรู้แบบอะซิงโคนัส
การฝึ กอบรมคอมพิวเตอร์ :
Simulations
Visualization,
Data Access
50% Self-Learning
3
ระบบOn-Line
Materials:
Reading, Browsing,
Test taking
1
2
ระบบการประชุม:
ซิงโคนัส:
Systems Like:Notes,Forums 50% Learning With Other
วีดโี อ ออดิโอ
Listservs newsgroups
ภาพรวมของระบบการออกแบบ E-Learning
The 1st KU Symposium on Education Research, November14, 2009 , Kasetsart University
ระบบห้ องเรียนเสมือน
วิธีการ/อุปกรณ์
การเสนอบทเรียน
การโต้ ตอบ
วิทยุบา้ น
เสี ยง
ส่ งคาตอบและการทางไปรษณี ย ์
โทรทัศน์
เสี ยง /ภาพเคลื่อนไหว
ส่ งคาตอบ/การบ้านโทรสาร
คอมพิวเตอร์ (www.)
ข้อความ เสี ยง ภาพกราฟิ ก
ส่ งคาตอบ/การบ้านโทรสาร/ไปรษณี ย ์
การประชุมทางไกลด้วยเสี ยง
เสี ยง
โต้ตอบกันได้ดว้ ยเสี ยง
การประชุมทางไกลด้วยเสี ยง
เสี ยง ภาพกราฟฟิ ก ภาพนิ่ง
โต้ตอบกันได้ดว้ ยเสี ยง
ผูเ้ รี ยนเห็นภาพจากจอ ภาพกราฟฟิ กที่ส
ห้องเรี ยนเสมือนจริ ง
ข้อความ เสี ยง ภาพกราฟิ ก
เสนอข้อความ เสี ยง ภาพจากอาจารย์
ลาดับแนวคิดห้องเรี ยนเสมือน
รู ปแบบการเข้า/การออกจากระบบ
หลักสูตรการเรี ยนการสอน
ข้อมูลเว็บเพจการเรี ยนการสอนมหาวิทยาลัยศรี ปทุม
การสร้างปฏิสมั พันธ์ผสู ้ อนกับผูเ้ รี ยน (E-Learning)
เว็บเพจการประเมินรายวิชา และผูส้ อน เว็บเพจมอบหมายงาน
เว็บเพจทรัพยากรสนับสนุนการเรี ยนเชื่อมโยงเว็บที่มีขอ้ มูลการศึกษา
เว็บเพจแสดงคาศัพท์ (Glossary) ดัชนีคาศัพท์
เว็บเพจแนะนาการเรี ยนรายวิชา/คาแนะนาออกแบบเว็บไซต์รายวิชา
รูปแบบการเรียนการสอน
Individual learning:
Home, Campus
SPU Network
Teachers teach online with SPU
Website
รูปภาพประกอบการสร้ างบทเรียนแบบผสมผสาน
E-Learning และ M-Learning
•การนาเสนอเนือ้ หา
การสร้ างเนื ้อหาและปรับปรุง การจัดการ
กลับมาใช้ งานใหม่
•การลงทะเบียน
•การบริการ
•การโต้ ตอบ
•การตอบคาถาม
SPU
E-Learning
•e-Text
•e-Book
•e-Library
การส่ งไปยังผู้เรี ยน
•การทดสอบ
•การสอบ
•การบันทึกประวัติ
ผู้เรี ยน
การประเมินผล •ประเมินผู้เรี ยน
รูปแบบ E-Learning สาหรับมหาวิทยาลัย
The 1st จัดการประชุมวิชาการระดับชาติดา้ น อีเลิร์นนิง ปี 2553 TCU Research,August 11, 2010 ,
สรุ ปผลการวิจัย
• การเรี ยนการสอนแบบผสมผสานควรเรี ยนควบคู่กบั การเรี ยนการ
สอนแบบปกติ
• ผลสัมฤทธิ์การเรี ยนของผูเ้ รี ยนกับการสอนเสริ มผ่านระบบส่ วนใหญ่
ให้ผลไม่แตกต่างกัน
• การเรี ยนการสอนควรมีการสร้างสื่ อปฏิสมั พันธ์กบั ผูเ้ รี ยนเพื่อให้เกิด
การเรี ยนรู ้ได้มีประสิ ทธิภาพมากขึ้น
• รู ปแบบการเรี ยนรู ้ที่หลากหลายมีผลสัมฤทธิ์ที่ต่อการเรี ยนของผูเ้ รี ยน
ได้ดี
• การสร้างสื่ อที่เป็ นมาตรฐานต่อการออกแบบระบบการสอนได้อย่าง
มีประสิ ทธิภาพตามมาตรฐานสากล
• สามารถลดข้อจากัดด้านระยะเวลา สถานที่ และงบประมาณได้
อภิปรายผล
- รู ปแบบการจัดการเรี ยน-การสอนเชิงอิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)
-มีความน่ าสนใจมากต่ อการเรียนรู้แนวใหม่ ผู้เรียนเกิดผลสั มฤทธิ์ในการ
เรียนรู้ได้ ด้วยตนเอง
-ผู้เรียนสามารถสอบถามและกล้าแสดงความคิดเห็นได้ มากขึน้
-ผู้เรียนมีโอกาสทบทวนบทเรียนได้ และสามารถเลือกเรียนช้ าเร็วได้ ตาม
ความถนัด
-การประเมินผลผ่ านเว็บ ด้ านการประเมินผลการสอนพบว่ าอาจารย์ ต้อง
พัฒนารูปแบบการสร้ างสื่ อการสอนผ่ านเว็บให้ มีความต่ อเนื่อง และดึงดูด
- ความสนใจต่ อผู้เรียนให้ น่าติดตามมากขึน้
The 1st จัดการประชุมวิชาการระดับชาติดา้ น อีเลิร์นนิง ปี 2553 TCU Research, August 11, 2010
นางสาวปริญญา บรรณเภสัช
สวั
ส
ดี
ค
่
ะ
The 1 จัดการประชุมวิชาการระดับชาติดา้ น อีเลิร์นนิง ปี 2553 TCU Research, August 11, 2010 ,
st