ดาวน์โหลดไฟล์แนบ.. - สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดมหาสารคาม

Download Report

Transcript ดาวน์โหลดไฟล์แนบ.. - สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดมหาสารคาม

การประชุมหารื อแนวทางการจัดตั้ง
คณะกรรมการอาเภอจัดการสุ ขภาพเข้มแข็ง CUP
อาเภอเมือง ปี 2557
วันที่ 26 ธันวาคม 2556
1.ทาไมต้องหารื อ?
2.ทาไมต้องตั้งกรรมการอะไรคือปั ญหาหรื อแรงบันดาลใจ
3.จะเกิดประโยชน์ต่อ รพ.สต.อย่างไร
4. จะเกิดประโยชน์ต่อ CUP อย่างไร
5.กรรมการที่ต้ งั ควรมีกี่คณะ มีหน้าที่รับผิดชอบต่างกัน
อย่างไร ประกอบด้วยใครบ้าง
6.จะเริ่ มดาเนินการเมื่อไหร่ จะวัดผลอย่างไร ใช้เกณฑ์อะไร
มีผลต่อความดีความชอบหรื อไม่
1.ทาไมต้องหารื อ?
• เพราะเราบริ หารจัดการเรื่ องต่างๆตามระเบียบราชการ ซึ่งระบุให้
ดาเนินการในรู ปคณะกรรมการร่ วมระหว่างเครื อข่ายบริ การ ( คปสอ.)
และ คปสอ.ต้องดาเนินการอย่างมีส่วนร่ วมจากหน่วยบริ การลูกข่ายทั้ง
ในส่ วนกระทรวงสาธารณสุ ขและส่ วนอื่นๆ เช่นท้องถิ่น มหาวิทยาลัย
เป็ นต้น
2.ทาไมต้องตั้งกรรมการ อะไรคือปั ญหาหรื อแรงบันดาลใจ
•
การปฏิบัติงานของ จนท.ในภาพรวมระดับ CUPในรอบ 2 ปี งบประมาณ
55 และ 56 ได้ พบว่ าตัวชี้วดั บางตัวไม่ ผ่านเกณฑ์ และยังพบความเสี่ ยงต่ อเรื่อง
ต่ างดังต่ อไปนีด้ ังต่ อไปนี้
1. การกากับ ติดตามคุณภาพข้ อมูลผลการปฏิบัตงิ านจากระดับ CUPไป รพ.
สต. และ ยังไม่ มีคุณภาพทีด่ ีพอ
2. การนิเทศ ติดตาม การประเมินผลการดาเนินงานตามตัวชี้ของกระทรวง เขต
จังหวัด ในระดับ รพ.สต.โดย CUP ยังไม่ มีประสิ ทธิภาพเท่ าทีค่ วร และ
ขาดการมีส่วนร่ วมคิดเกณฑ์ ชี้วดั จากผู้ปฏิบัติงานในระดับ รพ.สต.
3. รพ.สต.มีส่วนร่ วมน้ อยในการตัดสิ นใจในการบริหารจัดการงบประมาณจาก
CUP ลงสู่ ระดับผู้ปฏิบัติใน รพ.สต.ผ่ านแผนงาน/โครงการต่ าง
4.การจัดทาแผนงาน โครงการ ระดับCUP ลงสู่ ผู้ปฏิบัติยงั ไม่ มีประสิ ทธิภาพ
เท่ าทีค่ วร และไม่ สามารถแก้ไขปัญหาทีเ่ กิดขึน้ ในการปฏิบัติงานในพืน้ ทีไ่ ด้
อย่ างแท้ จริง เนื่องจากมีการเปิ ดโอกาส รพ.สต.มีส่วนร่ วมน้ อยและมีเวลาน้ อย
ในการเตรียมข้ อมูลในพืน้ ทีม่ าวิเคราะห์ หาแนวทางจัดทาแผนในการแก้ไข
ปัญหาร่ วมกันอย่ างเป็ นทางการ
5.รพ.สต.เกิดสภาวะขาดสภาพคล่องทางการเงิน เนื่องจากขาดขบวนการติดตาม
วิเคราะห์ ความเสี่ ยงด้ านสถานการณ์ เงิน และขาดขบวนการป้องกันความเสี่ ยง
และ CUP ไม่ มีแนวทางทีช่ ัดเจนในการให้ ความช่ วยเหลือ
6.เจ้ าหน้ าทีร่ ะดับ รพ.สต.มีเวทีเปิ ดโอกาสให้ มีการพัฒนาความรู้ความสามารถในการ
วางแผนด้ านยุทธศาสตร์ ด้านนโยบายน้ อย ไม่ ทวั่ ถึงทุกวิชาชีพและไม่ เป็ น
ทางการ(โดยเฉพาะกลุ่มนักวิชาการและผอ.รพ.สต.)
7.ตัวแทน รพ.สต. ผู้เข้ าร่ วมประชุ มกับ CUP นาข้ อมูลหรือผลการประชุ มไป
ถ่ ายทอดต่ อเจ้ าหน้ าที่ รพ.สต. ไม่ ทวั่ ถึงทุกคน
3.จะเกิดประโยชน์ต่อ รพ.สต.อย่างไร
• เจ้าหน้าที่ รพ.สต.ทุกวิชาชีพ ทุกคน จะมีส่วนร่ วมในการกาหนดทิศทางใน
การพัฒนาองค์การ พัฒนางาน สามารกาหนดทิศทางการจัดสรรงบประมาณ
ในการดาเนินการด้านต่างได้อย่างเป็ นรู ปธรรมสอดคล้องกับความต้องการใน
พื้นที่
• มีเวทีประชุมที่เป็ นทางการเพื่อแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ ถ่ายทอดประสบการณ์ ร่ วม
คิด ร่ วมพัฒนางานอย่างเท่าเทียมกันทุกตาแหน่ง ทุกวิชาชีพโดยมีผรู ้ ับรองผล
การประชุมอย่างเป็ นทางการโดย คปสอ.
• มีการสื่ อสารข้อมูลจากระดับ CUP ถึงผูป้ ฏิบตั ิงานในระดับ รพ.สต.ได้
อย่างทัว่ ถึงทันเหตุการณ์ผา่ นคณะกรรมการชุดต่างๆ
4. จะเกิดประโยชน์ต่อ CUP อย่างไร
• เป็ น CUP ที่มีรูปแบบการบริ หารจัดการระบบข้อมูลข่าวสารสนเทศที่มี
คุณภาพ
• เป็ น CUP ที่นาผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลมาใช้ในการวางแผนพัฒนางาน
อย่างเป็ นระบบโดยผ่านคณะกรรมการชุดต่างๆซึ่งมาจากตัวแทนทุกระดับ
ทุกวิชาชีพ
• เป็ น CUP ที่มีระบบบริ หารจัดสรรทรัพยากร คน เงิน ของ และมีระบบ
บริ หารจัดการที่มีประสิ ทธิภาพ ตอบสนองนโยบาย และปัญหาในพื้นที่ได้
• เป็ น CUP ที่เปิ ดโอกาสให้คนดีคนเก่งของทุกตาแหน่งทุกวิชาชีพได้มีเวที่
ถ่ายทอดความรู ้ร่วมกับเพื่อนร่ วมวิชาชีพเพื่อให้มีการพัฒนาองค์ความรู ้และ
นวัตกรรมอย่างต่อเนื่อง สามารถเป็ นต้นแบบของระดับอาเภอ จังหวัด
ประเทศได้
5.กรรมการที่ต้ งั ควรมีกี่คณะ มีหน้าที่รับผิดชอบต่างกัน
อย่างไร
• กรรมการที่จดั ตั้งขึ้น มีภารกิจที่ตอ้ งหารู ปแบบการดาเนินงานเพื่อตอบสนอง
วิสยั ทัศน์ของทุกระดับที่เกี่ยวข้องดังนี้
1.วิสยั ทัศน์เขต 7
ประชาชน ร้อยแกนสารสิ นธุ์ มีสุขภาพดี มีความสุ ข
2.วิสยั ทัศน์ สสจ.มค
ประชาชนจังหวัดมหาสารคาม มีสุขภาพดี ภาคีมีส่วนร่ วม
จัดระบบบริ การสุ ขภาพที่ได้มาตรฐานภายในปี 2560
3.วิสยั ทัศน์ หน่วยบริ การปฐมภูมิ cup อาเภอเมือง
เป็ นเครื อข่ายที่มีการบริ หารจัดการที่ดี ภาคีมีส่วนร่ วม
ชุมชนเข้มแข็ง มุ่งสู่มาตรฐานระดับชาติภายในปี 2559
4.วิสัยทัศน์ โรงพยาบาลมหาสารคาม
เป็ นโรงพยาบาลทัว่ ไปที่มีความเชี่ยวชาญระดับสู งของ
ประเทศภายในปี 2560
เป้ าหมายระดับ กระทรวง เขต สสจ.มค.
1. อายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด ไม่นอ้ ยกว่า 50 ปี
2. อายุคาดเฉลี่ยการมีสุขภาพดี ไม่นอ้ ยกว่า 72 ปี
พันธกิจ
พันธกิจเขต
1.กาหนดนโยบายระบบบริ หารจัดการ คน
เงิน ของ และการกากับ ติดตาม นิเทศ และ
ประเมินผล
2.กาหนดมาตรฐานการปฏิบตั ิงาน
3.การบริ หารจัดการองค์ความรู้
4.การบริ หารจัดการระบบข้อมูลสารสนเทศ
ที่มีคุณภาพ
5.การกากับ ติดตาม การประเมินผล อย่างมี
คุณภาพ
6.จัดระบบบริ การตั้งแต่ระดับปฐมภูมิจนถึง
ระดับสู่ ความเป็ นเลิศ ที่มีคุณภาพ ครอบคลุม
และมีระบบส่ งต่อที่ไร้รอยต่อ
พันธกิจหน่ วยบริการปฐมภูมิ cup เมือง
1.มีการจัดการกระบวนการบริ หารจัดการที่ดี
และมีประสิ ทธิภาพ
2.มีการพัฒนาศักยภาพของภาคีเครื อข่ายด้าน
สุ ขภาพจากทุกภาคส่ วน
3.เสริ มสร้างกระบวนการจัดการสุ ขภาพของ
ชุมชนด้วยตนเองแบบองค์รวม
โครงสร้ างสานักงานสาธารณสุ ขเขตสุ ขภาพที่7 ขอนแก่น
สานักเขตบริการสุ ขภาพและบริหารทัว่ ไป
CEO
ประธาน
COO
1. ทีมเลขานุการและบริหารงานทัว่ ไป
Chief operation officer
2.คณะกรรมการนโยบาย
แผนงานและข้ อมูล
CIO
Chief imformation
officer
3.คณะกรรมการพัฒนา
ระบบบริการ
CSO
Chief service
officer
4.1คณะกรรมการ
บริหารการเงิน
CFO
Chief operation
officer
4.2คณะกรรมการ
บริหารทรัพยากรบุคคล
CHRO
Chief human
resource officer
หน้ าทีข่ องทีมเลขานุการและบริหารงานทัว่ ไป coo
(Chief operation officer )
1.รวบรวมข้อมูลเสนอต่อประธาน ( CEO ) และคณะกรรมการเพื่อกาหนด
ทิศทาง และวางแผนยุธศาสตรของเขต
2.แปลงนโยบายของปลัดกระทรวง และนโยบาย CEO สู่การปฏิบตั ิ
3.เป็ นหัวหน้าทีมในการกากับดูแลการปฏิบตั ิงานให้เป็ นไปตามเป้ าหมายและ
ตัวชี้วดั
4.เป็ นหัวหน้าของทุกทีมในการวางแผนการดาเนินงานต่างๆ ได้แก่ทีม CIO,
CSO, CFO, CHRO
หน้ าทีข่ องคณะกรรมการนโยบายแผนงานและข้ อมูล CIO
( Chief Chief imformation officer )
1.กาหนดวิสยั ทัศน์ นโยบาย วัตถุประสงค์ มาตรฐานด้าน ไอซีที
2.การกาหนดแผนกลยุทธ์หรื อแผนประจาปี ด้าน MIS
3.การกาหนดความสามารถของทีดา้ นสารสนเทศของทีมได้อย่างเหมาะสม
4.สนับสนุนให้มีการใช้ขอ้ มูลอย่างต่อเนื่อง
5.การประเมินและตรวจสอบคุณภาพข้อมูล
6.การสร้างระบบความปลอดภัยของข้อมูลและระบบการสารองข้อมูล
คณะกรรมการพัฒนาระบบบริการ
CSO ( Chief service officer )
1.การวิเคราะห์ปัญหาสุ ขภาพในเขตสุ ขภาพ นาเสนอ CEO
2.กาหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริ การสุ ขภาพในเขตอย่างเหมาะสม
3.เชื่อมโยงการพัฒนาระบบบริ การสุ ขภาพกับการลงทุนได้อย่างคุม้ ค่า
4.เชื่อมโยงการพัฒนาระบบบริ การสุ ขภาพกับการพัฒนาบุคลากรได้อย่าง
เหมาะสมและตอบสนองต่อการพัฒนาระบบการให้บริ การ
5.จัดระบบและพัฒนาการส่ งต่อให้มีความเชื่อมโยง เหมาะสม เป็ นระบบ
6.ขับเคลื่อน Service plan อย่างเป็ นระบบ
หน้ าที่คณะกรรมการบริหารการเงิน CFO
Chief operation officer
1.การวางนโยบายด้านการเงินการคลัง
2.การวางแผนใช้เงินลงทุนด้านสุ ขภาพที่เหมาะสม ไม่ซ้ าว้อน
3.ร่ วมบริ หารความเสี่ ยงด้านการเงินการคลังให้กบั หน่วยบริ การในเขต เพื่อให้
หน่วยบริ การไม่ประสบภาวะวิกฤตทางการเงิน
หน้ าทีข่ องคณะกรรมการบริหารทรัพยากรบุคคล CHRO
Chief human resource office
• การกาหนดนโยบายสรรหา และคัดเลือกบุคลากร
• กาหนดหลักเกณฑ์การจ่ายค่าตอบแทน การแต่งตั้งโยกย้าย การเกลี่ยบุคลากร
อย่างเหมาะสมและเป็ นธรรม สอดคล้องกับแผนพัฒนาระบบบริ การและ
เป้ าหมายของเขต
โครงสร้ างคณะกรรมการ DHS อาเภอเมือง
Cup
โรงพยาบาลมหาสารคาม
CEO
ประธาน cup BOARD
( ผอ.รพ.มค )
COO
ประธาน คปสอ
1. คณะกรรมการ คปสอ. ( จนท.สสอ./จนท.พวค.)
Chief operation officer
2.คณะกรรมการนโยบาย
แผนงานและข้ อมูล
CIO
Chief imformation
officer
3.คณะกรรมการพัฒนา
ระบบบริการ
CSO
Chief service
officer
4.1คณะกรรมการ
บริหารการเงิน
CFO
Chief operation
officer
4.2คณะกรรมการ
บริหารทรัพยากรบุคคล
CHRO
Chief human
resource officer
โครงสร้ างคณะกรรมการ DHS อาเภอเมือง
Cup
โรงพยาบาลมหาสารคาม
CEO
ประธาน cup BOARD
( ผอ.รพ.มค )
COO
ประธาน คปสอ
1. คณะกรรมการ คปสอ. ( จนท.สสอ./จนท.พวค.)
Chief operation officer
2.คณะกรรมการนโยบาย
แผนงานและข้ อมูล
CIO
Chief imformation
officer
3.คณะกรรมการพัฒนา
ระบบบริการ
CSO
Chief service
officer
4.1คณะกรรมการ
บริหารการเงิน
CFO
Chief operation
officer
4.2คณะกรรมการ
บริหารทรัพยากรบุคคล
CHRO
Chief human
resource officer