PowerPoint Template - STREE-KM

Download Report

Transcript PowerPoint Template - STREE-KM

การเรียนรู้ทฤษฎีความรู้
(Theory of Knowledge : TOK)
 วัตถุประสงค์
การจัดการเรี ยนการสอนสาระทฤษฎีความรู้ (Theory of Knowledge : TOK )
มีวตั ถุประสงค์เพื่อให้ผเู ้ รี ยนสามารถแสดงความคิดเห็นเชิงวิเคราะห์ต้ งั สมมติฐานและ
การหาคาตอบเกี่ยวกับสิ่ งที่ผเู ้ รี ยนรู ้ (Knowing) สามารถตั้งคาถามให้คาอธิบายแสดง
ความคิดเห็นต่างๆรู ้จกั หาทางออกในการแก้ปัญหาได้อย่างกระจ่างชัดสามารถเชื่อมโยง
ความรู ้เปรี ยบเทียบวิธีการแสวงหาความรู ้เกี่ยวกับสาขาวิชาต่างๆและวิธีการรับความรู้
(Ways of Knowing ) จานวน 4 วิถีทางได้แก่วธ
ิ ี การสร้างความรู ้จากการสัมผัสรับรู้
(Sense Perception) สร้างความรู ้จากการใช้ภาษา (Language) สร้างความรู ้จากการ
ให้เหตุผล (Reason) และการสร้างความรู ้จากสิ่ งที่เป็ นอารมณ์ (Emotion)
1. วิธีการรับรู้ ความรู้ (Ways of Knowing)
การเรี ยนรู ้สาระทฤษฎีความรู ้ (Theory of Knowledge
TOK) มุ่งหวังให้ผเู ้ รี ยนรู ้จกั ค้นคว้าหาความรู ้โดยผ่านวิธีการรับความรู ้
4 ประการได้แก่
 การรับรู้ความรู้ดว้ ยความรู้สึกการสัมผัสรับรู้ (Sense Perception)
 ด้วยภาษา (Language)
 ด้วยอารมณ์ (Emotion)
 ด้วยการให้เหตุผล (Reason) การรับความรู้ดว้ ยความรู้สึก
(Sense Perception)
 1. การรับรู้ความรู้ดว้ ยความรู้สึกจากการสัมผัสรับรู้ (Sense
หมายถึงปฏิกิริยาทางกายของมนุษย์ที่เกิดขึ้นจากสิ่ ง
กระตุน้ ต่างๆรอบๆตัวเราความรู ้สึกภายนอกที่เกิดจากการสัมผัสได้แก่
รู ปรสกลิ่นเสี ยงสัมผัสเช่นได้ยนิ ชิมรสชาดการสัมผัสได้กลิ่นและ
มองเห็นและเกิดความรู ้สึกจากภายในได้แก่หิวเจ็บปวดและสิ่ งเร้าต่างๆ
Perception)
 2. การรับรู้ความรู้ทางภาษา (Language)
เป็ นการรับรู ้ความรู ้จากการสื่ อสารด้วยภาษาได้โดยสัญญลักษณ์ต่างๆ
(Symbols) สัญญาณ (Signs) ภาษากาย
(Body language) ภาษาพูด (Language) ซึ่ งภาษาประเภทต่างๆ
สามารถเป็ นเครื่ องมือที่นาไปสู่ ความคิดและภาษาสามารถสะท้อนเรื่ องราวของ
ตนเองได้
 ใช้สัญลักษณ์ (symbols) และป้ ายสัญญาณเครื่ องหมาย ( Signs )
เป็ นสื่ อ
 ใช้สญั ลักษณ์ที่เกี่ยวข้องกับศาสนาความเชื่อและวัฒนธรรมประเพณี ที่
เป็ นที่รู้จกั
 3. การรับรู้ความรู้ดว้ ยอารมณ์ (Emotion)
การรับรู ้ความรู ้ดว้ ยอารมณ์ (Emotion) เป็ นเรื่ องที่เกี่ยวข้องกับความฉลาด
ทางอารมณ์ (Emotional intelligence) เป็ นการเรี ยนรู ้โดยการค้นคว้าหา
ความรู ้ท้ งั จากที่เป็ นอารมณ์ของตนเอง (Intrapersonal intelligence)
และทั้งที่เป็ นอารมณ์ของผูอ้ ื่น (Interpersonal intelligence) การรับรู ้
ด้วยอารมณ์ (emotion) จะต้องเชื่อมโยงกับการรับรู ้ทางความรู ้สึกจากการ
สัมผัสรับรู ้ (Sense Perception) การรับรู ้ความรู ้ทางภาษา
(Language) และการรับรู ้ความรู ้โดยให้เหตุผล (reason)
 4. การรับรู้ทางความรู้โดยเหตุผล (Reason)
เป็ นการรับรู ้ความรู ้โดยเหตุผล (reason) เป็ นการใช้ขอ้ มูลรายละเอียด
ในลักษณะโน้มน้าว สื บสาวเหตุผล สรุ ปความ ลงความเห็นเป็ นหลักการ
ระบุลกั ษณะเฉพาะ ยืนยันลักษณะความเหมือน และจากนั้นเป็ นการตัดสิ น
และโต้แย้งสนับสนุนและคัดค้านอย่างเต็มที่เกี่ยวกับสิ่ งที่เป็ นจริ งสิ่ งดีสิ่งที่
ถูกต้องและสิ่ งที่สวยงาม
แหล่งเรี ยนรู้
แหล่ งการเรียนรู้
 แหล่งการเรียนรู้ หมายถึง แหล่งที่มีขอ้ มูลข่าวสารความรู้ ประสบการณ์
สารสนเทศและเทคโนโลยีสาหรับผูเ้ รี ยนใช้ในการแสวงหาความรู ้ ซึ่งมี
อยูต่ ามธรรมชาติและมนุษย์สร้างขึ้น
 ความสาคัญของแหล่งเรี ยนรู้
1. แหล่งการศึกษาตามอัธยาศัย
2. แหล่งการเรี ยนรู ้ตลอดชีวิต
3. แหล่งปลูกฝังนิสยั รักการอ่านการศึกษาค้นคว้า แสวงหาความรู ้ดว้ ย
ตนเอง
4. แหล่งสร้างเสริ มประสบการณ์ภาคปฏิบตั ิ
5. แหล่งสร้างเสริ มความรู ้ ความคิดวิทยาการและประสบการณ์
ประเภทของแหล่งการเรียนรู้
แหล่งการเรี ยนรู ้
ในโรงเรี ยน
นอกโรงเรี ยน
ตามธรรมชาติ
ตามธรรมชาติ
มนุษย์สร้างขึ้น
มนุษย์สร้างขึ้น
แหล่งการเรียนรู้ในโรงเรียน
 แหล่งการเรี ยนรู้ที่มีอยูแ่ ล้วตามธรรมชาติ เช่น บรรยากาศ สิ่งแวดล้อม
ปรากฏการณ์ธรรมชาติ สิ่ งมีชีวิต ฯลฯ
 แหล่งการเรี ยนรู้ที่มนุษย์สร้างขึ้น เช่น ห้องสมุดโรงเรี ยน ห้องสมุดกลุ่ม
สาระ ห้องสมุดเคลื่อนที่ ห้องเรี ยน ห้องปฏิบตั ิการต่าง ๆ ห้องโสต
ทัศนศึกษา ห้องมัลติมีเดีย เว็บไซต์ ฯลฯ
วัตถุประสงค์ ของการจัดแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน
 1. เพื่อพัฒนาโรงเรี ยนให้เป็ นสังคมแห่ งการเรี ยนรู ้ มีแหล่งข้อมูล ข่าวสาร
ความรู้วิทยาการ และสร้างเสริ มประสบการณ์ที่กว้างขวางหลากหลาย
 2. เพื่อเสริ มสร้างบรรยากาศการเรี ยนรู้ในโรงเรี ยนโดยเน้นผูเ้ รี ยนเป็ น
สาคัญ
 3. เพื่อจัดระบบและพัฒนาเครื อข่ายสารสนเทศและแหล่งการเรี ยนรู ้ใน
โรงเรี ยน
 4. เพื่อส่ งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนมีทกั ษะการเรี ยนรู ้ เป็ นผูใ้ ฝ่ รู ้ ใฝ่ เรี ยนและเรี ยนรู้
ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง
แหล่งการเรียนรู้นอกโรงเรียน
 แหล่งการเรี ยนรู้ที่มีอยูแ่ ล้วตามธรรมชาติ เช่น สภาพแวดล้อม ป่ า
ภูเขา แหล่งน้ า ทะเล สัตว์ ฯลฯ
 แหล่งการเรี ยนรู้ที่มนุษย์สร้างขึ้น เช่น ชุมชน วิถีชีวิต อาชีพ ภูมิ
ปัญญา ประเพณี วัฒนธรรม สถาบัน โบราณสถาน สถานที่สาคัญ
แหล่งประกอบการ
วัตถุประสงค์ ของการจัดแหล่งเรียนรู้ภายนอก
 1. เป็ นแหล่งการศึกษาตลอดชีวิตที่ประชาชนสามารถหาความรู ้ต่างๆได้ดว้ ย
ตนเองตลอดเวลา
 2. เพื่อส่ งเสริ มให้ชุมชนและสังคมมีแหล่งการเรี ยนรู ้เพื่อการศึกษาที่
หลากหลายสามารถเรี ยนรู้ได้ตามอัธยาศัย
 3. เป็ นเครื่ องมือที่สาคัญของบุคคลแห่ งการเรี ยนรู ้ ในการแสวงหาความรู ้
เพื่อพัฒนาตนเอง
แหล่งเรี ยนรู ้ภายนอกในท้องถิ่น ได้แก่หอ้ งสมุดประชาชน พิพิธภัณฑ์ พิพิธภัณฑ์
วิทยาศาสตร์ หอศิลป์ สวนสัตว์สวนสาธารณะสวนพฤกษศาสตร์ อุทยานวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี ศูนย์การกีฬา สถานประกอบการ วัดครอบครัว ชุมชน องค์การภาครัฐ
และภาคเอกชน แหล่งข้อมูล ภูมิปัญญาท้องถิ่นแหล่งการเรี ยนรู ้อื่นๆ เป็ นต้น