ทฤษฎีความรู้ ( Theory of Knowledge : TOK )

Download Report

Transcript ทฤษฎีความรู้ ( Theory of Knowledge : TOK )

ทฤษฎีความรู้
( Theory Of Knowledge :TOK )
ทฤษฎีความรู้
( Theory Of Knowledge : TOK )
วัตถุประสงค์
เพือ
่ ปลูกฝังทักษะกระบวนการ การค้นคว้า
แสวงหาความรูเ้ พิ่มเติม ต่อยอดความรูใ
้ ห้ลก
ึ ซึ้งใน
ประเด็นความรู้ (Knowledge issues) ตามหลักสูตร
แกนกลาง (ในรูปแบบบูรณาการใน 8 กลุ่มสาระ )
หรืออาจจะจัดเป็นสาระเพิม
่ เติมเป็นบางสาระในระดับ
ม.ปลาย
ครูผู้สอน จะไม่สอนเนือ
้ หาเพิม
่ เติม แต่จะ
สอนกระบวนการกระบวนการสืบค้นหา
ความรู้ เป็นผู้ชแ
ี้ นะวิธีแสวงหาความรู้
“ Way of knowing “
นักเรียนจะต้องหาค้นคว้าหาความรูม
้ าแสดง
ให้เห็นว่า รู้ได้เราอย่างไร
“ How do we know”

ความคาดหวังต่อนักเรียน




สามารถแสดงความคิดเห็นเชิงวิเคราะห์
ตั้งสมมติฐานและหาคาตอบเกีย
่ วกับสิง่ ทีร่ ู้
สามารถตัง้ คาถาม/ให้คาอธิบาย แสดงความ
คิดเห็น หาทางออกในการแก้ปัญหาได้อย่าง
กระจ่างชัด
เชื่อมโยงความรู้/เปรียบเทียบวิธีการแสวงหา
ความรูเ้ กี่ยวกับสาขาวิชาต่างๆและวิธีการรับรู้

วิธีการรับรู้ และการจัดการเรียนรู้ 4 ทาง
สร้างความรู้จากความรู้สึก(Sense Perception)
สร้างความรู้จาการใช้ภาษา ( Language )
สร้างความรู้จากการให้เหตุผล ( Reason )
สร้างความรู้จากอารมณ์ ( Emotion )
1. การรับรูค
้ วามรู้จากความรูส
้ ึก
(Sense Perception )
หมายถึงปฏิกริ ย
ิ าทางกายของมนุษย์ทเี่ กิด
จากการกระตุน
้ ต่างๆรอบตัว จากการสัมผัส
ทั้งภายนอก ภายใน
สื่อการสอนสาหรับครูเพือ
่ กระตุน
้ ให้ผู้เรียน
สนใจอยากเรียนรู้
- ใช้เพลง
- ใช้รป
ู ภาพ
- ใช้สญ
ั ลักษณ์
ใช้สัญลักษณ์
การใช้ภาพบอกความรูส
้ ึก
2. การรับรูค
้ วามรู้จากภาษา ( Language )
เป็นรับรูค
้ วามรูจ
้ ากการสื่อสาร ด้วยภาษา
- ใช้สัญลักษณ์ ( Symbols)
- สัญญาณ ( Sign )
- ภาษากาย ( Body language)
- ภาษาพูด (language)
การใช้ภาษามือเพื่อสือ
่ สาร
การจัดการเรียนรู้
- ใช้สญ
ั ลักษณ์ ( Symbols )และป้าย
สัญญาณเครือ
่ งหมาย ( Signs ) เป็นสื่อ
การเรียนการสอน และบอกผู้เรียนบอก
ความหมายของสิง่ ทีผ
่ ู้เรียนเห็นและรับรู้
-
ใช้คาหรือประโยคเป็นสือ
่ ในการเรียนการ
สอน เช่นหาตัวอย่างคาทีเ่ ขียนเหมือนกัน
แต่ความหมายต่างเมือ
่ อยูใ
่ นแต่ละประโยค
เช่น
ฉันได้ยน
ิ เสียงไก่ขน
ั ในตอนเช้าตรู่
ในวันสงกรานต์แม่เอาน้าหอมใส่ขน
ั น้าไปสรง
องค์พระ
เขามีอารมณ์ขน
ั ได้ตลอดทัง้ วันเลย
- ใช้สญ
ั ลักษณ์ทเี่ กีย
่ วข้องกับศาสนา ความเชื่อ
-
-
และวัฒนธรรม ประเพณีทเี่ ป็นทีร่ จ
ู้ ักทัว
่ โลก
เป็นสื่อการเรียนการสอน
ใช้ธงของประเทศต่างๆ เป็นสื่อการเรียนการสอน
เช่นบอกความหมายของธงประเทศต่างๆ
ค้นคว้าหาความหมายของสัญลักษณ์บนธงชาติ
ของแต่ละประเทศ
ใช้สัญลักษณ์อน
ื่ ๆเป็นสือ
่ การเรียนการสอน
เช่น การใช้ภาษากาย ( Body language )
การใช้ธงชาติตา่ งๆเป็นสือ
่ การสอน
ใช้ภาพและสัญลักษณ์
ใช้สัญลักษณ์
3. การรับรูค
้ วามรู้จากอารมณ์ ( Emotion )
เป็นการเรียนรูโ้ ดยการค้นคว้าหา ความรูท
้ งั้ จาก
ที่เป็น อารมณ์ของตนเองและทัง้ ทีเ่ ป็นอารมณ์
ของผู้อื่น
การรับรูค
้ วามรูจ
้ ากอารมณ์ (Emotion )
การรับรูค
้ วามรูส
้ ึก ( Sense Perception )
การรับความรูท
้ างภาษา ( Language )
การรับความรูโ้ ดยเหตุผล ( Reason )
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. ใช้ภาพทีเ่ กี่ยวกับภาษากาย(body Language)
เป็นสื่อการสอน ท่าทาง (gesture) ที่เชื่อมโยง
กับอารมณ์ เช่นใช้ภาพการ์ตน
ู และผู้เรียนบอก
อารมณ์ของตัวละคร
2.ใช้สถานการณ์จาลอง (simulation ) เป็นสื่อ เช่น
ให้นก
ั เรียนแสดงท่าทางทีบ
่ อกอารมณ์ ให้เพือ
่ นๆ
สังเกตอาการและแสดงความคิดเห็น เป็นต้น
3. ใช้ขอ
้ ความหรือเนือ
้ เรือ
่ ง ( Text )
บทสนทนา ( dialogue ) และบท
ประพันธ์ โคลง กลอน ฉันท์ กาพย์ กลอน
เกีย
่ วกับอารมณ์ ความเชือ
่ ทีส
่ ะท้อนอารมณ์
ของผูป
้ ระพันธ์ และตัวละคร แล้วให้ผู้เรียน
วิเคราะห์และตีความอารมณ์ของผูเ้ ขียน
หรือตัวละคร เช่น
ตัวอย่างคาประพันธ์
เห็นแก้วแวววับทีจ
่ ับจิต
ไยไม่คิดอาจเอือ
้ มให้ถงึ ที่
เมื่อไม่เอือ
้ มจะได้อย่างไรมี
อันมณีฤาจะโลดไปถึงมือ
อันของสูงแม้ปองต้องจิต
ถ้าไม่คด
ิ ปีนป่ายจะได้ฤา
มิใช่ของตลาดทีอ
่ าจซือ
้
ฤาแย่งยื้อถือได้โดยไม่ยอม

การรับความรู้จากการให้เหตุผล ( Reason )
เป็นการใช้ขอ
้ มูลรายละเอียด ( Information )
ในลักษณะโน้มน้าว( Induce )
สืบสาวเหตุผล ( deduce)
สรุปความ ( Infer )
ลงความเห็นเป็นหลักการ ( generalize)
ระบุลก
ั ษณะเฉพาะ ( pacify )
ยืนยันลักษณะความเหมือน ( recognize
similarities)
การตัดสิน ( judge ) และโต้แย้ง สนับสนุน และ
คัดค้าน
บทบาทของครูผู้สอน
- กาหนดประเด็นความรู้ (knowledge issues )
หรือหัวข้อ (Topics ) สาหรับให้ผู้เรียนควร
ค้นคว้าเพิม
่ เติม
- รวบรวมหัวข้อทัง้ หมด ส่งโรงเรียน
(งานวิชาการ) รวบรวมและจัดทาเป็นเล่ม
ตัวอย่างหัวข้อ ( Topics )
- วรรณคดีสามารถบอกความจริงได้ดกี ว่าศาสตร์
ด้านศิลปะ หรือสาขาวิชาอื่นๆ หรือไม่
- ความรูข้ องมนุษย์เกิดขึ้นได้อย่างไร
- อะไรคือความเหมือนและความแตกต่างระหว่าง
คาอธิบายเชิงประวัตศ
ิ าสตร์ กับคาอธิบาย
เชิงวิทยาศาสตร์
- เครือ่ งจักรสามารรับรูไ้ ด้เช่นเดียวกับมนุษย์หรือไม่
- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาทีย
่ งั่ ยืน
ของประเทศไทย
- ท่านมีความคิดเห็นอย่างไรกับคากล่าวที่วา่
“ คณิตศาสตร์เป็นพืน
้ ฐานสาหรับการเรียนรูว
้ ช
ิ าอืน
่ ๆ”
-
เปรียบเทียบบทบาทของการให้เหตุผล
(reason )
และการจินตนาการ ( imagination ) ในสาระ
การเรียนรู้ 2 สาระเป็นอย่างน้อย
- เมื่อนักคณิตศาสตร์ นักประวัตศิ าสตร์ และ
นักวิทยาศาสตร์พด
ู ว่าพวกเขาได้ อธิบาย บางสิ่ง
บางอย่างไปแล้ว การพูดเช่นนี้ เขาเหล่านั้น
ใช้คาว่า“ อธิบาย”ในความหมายเดียวกันหรือไม่
นักเรียนทาอะไร
- เลือกหัวข้อเรือ
่ ง เพือ
่ ค้นคว้าความรูเ้ พิม
่ เติม
- ศึกษาเกณฑ์การให้คะแนน
- ปรึกษาครูทป
ี่ รึกษา
- รวบรวมความคิด ค้นคว้าหาความรู้
- แสดงความคิดเห็นของตนเอง
- ลาดับความคิดของตนเอง
- เขียนความเรียงแสดงความคิดเห็นเกีย
่ วกับหัวข้อเรือ
่ งที่
เลือก
การวัดและประเมินผล
มี 2 ลักษณะ ได้แก่
- การสอบข้อเขียน
- การสอบปากเปล่า (Oral)
สรุปบทบาทภาระงาน
สถานศึกษา
จัดทาเอกสาร รวบรวมประเด็นประเด็นความรู้
มอบหมายครูผู้สอน
แต่งตัง้ ครูทป
ี่ รึกษา
ครูผู้สอน
- สอนกระบวนการวิธีหาความรู้
ศาสตร์ สาขาของความรู้
- การเขียนรายงานการค้นคว้า
- ดูแลช่วยเหลือผู้เรียนในการค้นคว้า
และการเขียนรายงาน
- ประเมินผลเรียน ทั้งข้อเขียนและปาก
เปล่า

หน้าทีค
่ รูทป
ี่ รึกษา
- ช่วยเหลือ อานวยความสะดวกให้แก่ผู้เรียน
- กากับ ติดตาม การทางานของผูเ้ รียน
- ตรวจทาน และรับรองผลงานของผู้เรียน
ผู้เรียน
- เลือกประเด็นความรู้ 1 เรื่อง สาหรับค้นคว้า
- ค้นคว้าแสวงหาความรู้ เกี่ยวกับหัวข้อทีเ่ ลือก
- เขียนรายงานการค้นคว้าความยาวประมาณ
1,200 - 1,600 คา ( ม.ปลาย )
- ส่งรายงาน
- สอบปากเปล่า
- นาเสนอผลงาน
เป้าหมายผู้เรียนได้
Learn to know
 Learn to be
 Learn to do
 Learn to live together
