เทคนิคการปรับพฤติกรรมสำหรับบุคคลออทิสติก

Download Report

Transcript เทคนิคการปรับพฤติกรรมสำหรับบุคคลออทิสติก

เทคนิคการปรับพฤติกรรมสาหรับบุคคลออทิสติก
โดย
นางกนกพร อินรัมย์
ศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา ๑๑
แนวทางการช่วยเหลือ
1.
การศึกษาความเข้าใจ ครู พ่อ แม่ และผูป้ กครองต้องศึกษา
ลักษณะพฤติกรรมโดยรวมของบุคคลออทิสติกว่าเป็ นความบกพร่องทาง
พัฒนาการด้านใด เช่น ด้านสังคม ภาษา การสือ่ ความหมาย และ
พฤติกรรม ซึง่ ส่งผลต่อการเรียนรูห้ ลายด้าน
2.
การศึกษาสภาพของบุคคลออทิสติก ศึกษาสภาพพื้นฐานในด้าน
ต่างๆ รวมทัง้ จุดเด่นและความสามารถพิเศษ เช่น ความจาดี รับรู ้
เรียนรูไ้ ด้เร็ว เพื่อนามาจัดทาแผนบริการความช่วยเหลือต่างๆ ได้อย่าง
สอดคล้องกับความจาเป็ นของบุคคลออทิสติก
แนวทางการช่วยเหลือ
3.
การจัดกิจกรรม เพื่อพัฒนาทักษะต่างๆ ของบุคคลออทิสติกที่
บกพร่อง เช่น การมองสบตา การนัง่ การฟัง การเล่น การช่วยเหลือ
ตนเองตามวัย
4. รูปแบบการจัดกิจกรรม มีหลากหลายทีเ่ ป็ นประสบการณ์ตรงให้
ได้ฝึกปฏิบตั โิ ดยใช้ประสาทสัมผัสทัง้ 5 ทัง้ แบบรายบุคคล กลุม่ ย่อย
กลุม่ ใหญ่ และการสอนบูรณาการ ทัง้ พัฒนาการ ทักษะ และเนื้อหาเข้า
ด้วยกัน เพื่อให้เกิดการเรียนรูอ้ ย่างเต็มศักยภาพ
แนวทางการช่วยเหลือ
5.
กาหนดจุดประสงค์การเรียนรู ้ ควรกาหนดจุดประสงค์การ
เรียนรูใ้ ห้สอดคล้องกับความต้องการและสถานการณ์จริง การจัด
สภาพแวดล้อมทีเ่ อื้อต่อการเรียนรู ้ รวมทัง้ การจัดสือ่ การเรียน
การสอนให้เหมาะสม โดยใช้ของจริงและของทีม่ ีอยูใ่ นท้องถิ่น
6. การใช้เทคนิคการสอนที่เหมาะสม เหมาะสม การสอนต้องใช้
เทคนิคการสอนทีเ่ ป็ นระบบ ผสมผสานเทคนิคต่างๆ มาจัดกิจกรรม
โดยคานึงถึงความแตกต่างของแต่ละบุคคล ทัง้ นี้ข้ ึนอยู่กบั วัยและความ
สนใจ
แนวทางการช่วยเหลือ
 7.
การเสริมโอกาสในการเรียนรู ้ ครูและผูป้ กครองควรแสวงหา
กิจกรรมต่างๆ มาเสริม
โดยเลือกให้ตรงกับความต้องการทีจ่ าเป็ นแก่บุคคลออทิสติก ดังนี้
 1) กิจกรรมเสริมพัฒนาการ เช่น กิจกรรมฝึ กพูด ศิลปะบาบัด
กิจกรรมบาบัด
ดนตรีบาบัด
 2) กิจกรรมขยายการเรียนรู ้ คอมพิวเตอร์ พิมพ์ดดี ดนตรี
ศิลปะ งานประดิษฐ์
การส่งเสริมการอ่าน งานอดิเรก
แนวทางการช่วยเหลือ
 3) กิจกรรมส่งเสริมคุณภาพชีวติ สุขภาพ ว่ายนา้ แอโรบิค
ทัศนศึกษา เข้าค่าย
8. การทางานร่วมกันร่วมกัน ระหว่างสถานศึกษากับ
ผูป้ กครอง สถานศึกษา และบ้าน หรือครูและพ่อแม่ตอ้ งเข้าใจ
วิธีการทางานร่วมกัน โดยอาจกาหนดบทบาทและแนวทางการ
ประสานงานร่วมกัน ดังนี้

แนวทางการช่วยเหลือ
 1)
แลกเปลี่ยนข้อมูลความรูเ้ กี่ยวกับเรือ่ งราวของบุคคลออทิสติก
โดยศึกษาทาความเข้าใจร่วมกัน โดยบันทึก สังเกต และประเมิน
 2) การประชุมหารือร่วมกันในการทาแผนการจัดการศึกษาเฉพาะ
บุคคล (IEP) และแผนการสอนเฉพาะบุคคล (IIP) ตามศักยภาพ
ของผูเ้ รียน
 3) การจัดกิจกรรมเสริมพิเศษร่วมกันทุกฝ่ าย
เทคนิคการสอนเพือ่ พัฒนาทักษะทางสังคม
 1. กระตุน้ ให้มีปฏิสมั พันธ์อย่างมีความหมายสองทางโดยใช้เทคนิค
เรือ่ งเชิงสังคม กิจกรรมบนพื้น เพ็คส์ และทีช เป็ นต้น
 2. ใช้การเล่นเป็ นสือ่ จูงใจให้เข้าร่วมกิจกรรมและสร้างโอกาสให้
ผูเ้ รียนสามารถมีปฏิสมั พันธ์สองทางกับครูหรือกับเพื่อน เช่น จับคูว่ ง่ิ
เล่น วิง่ ไล่จบั และนาผูเ้ รียนไปนัง่ เครือ่ งเล่นด้วยกันกับคนอืน่ หลาย
คนในช่วงระยะสัน้ ๆ
เทคนิคการสอนเพือ่ พัฒนาทักษะทางสังคม
3.
เริม่ ต้นจากการนาผูเ้ รียนเข้ากลุม่ เล็กๆ หรือมีเพื่อนมาเข้ากลุม่
เป็ นระยะๆ หากผูเ้ รียนต่อต้าน พยายามกระตุน้ ให้เข้ากลุ่มระยะสัน้ ๆ
แล้วปล่อยให้วงิ่ เล่นและนากลับมาเข้ากลุม่ ใหม่เป็ นระยะๆ
4.
สอนให้รูจ้ กั ทักทาย เช่น สวัสดี บ๊าย-บาย โดยให้เลียนแบบ
เพื่อน กระตุน้ เตือนโดยจับมือผูเ้ รียนทาพร้อมผูฝ้ ึ ก แล้วค่อยๆ ถอน
การกระตุน้ เตือนลงจนสามารถทาได้เอง
การช่วยเหลือบุคคลออทิสติกในการเรียนรู ้
1. การอ่านจิตใจ (Mind Reading)
 •
สาเหตุท่ีใช้วิธีน้ ี เนื่องจากบุคคลออทิสติกมีลกั ษณะของการไม่
รับรูท้ างจิตใจ (Mind Blindness) ไม่เข้าใจความรูส้ กึ และ
อารมณ์ของผูอ้ นื่ ทาให้เข้ากับเพื่อนไม่ได้ ขาดเพื่อน ขาดความสัมพันธ์
กับคนรอบข้างและไม่เข้าใจสิง่ ทีด่ าเนินไปรอบตัวดีพอ เป็ นเหตุให้
แสดงพฤติกรรมทีไ่ ม่เหมาะสมในสายตาของบุคคลอืน่
การช่วยเหลือบุคคลออทิสติกในการเรียนรู ้
จุดมุ่งหมาย ทีส่ าคัญของเทคนิคการอ่านจิตใจคือ การสอนให้บุคคล
ออทิสติกได้เข้าใจอารมณ์ของผูอ้ น่ื โดยฝึ กให้เด็กเข้าใจและคาดเดา
อารมณ์ผอู ้ นื่ จากการแสดงออกทางสีหน้า ท่าทางและจากการบรรยาย
เหตุการณ์ทเี่ กิดขึ้นในสังคม
การช่วยเหลือบุคคลออทิสติกในการเรียนรู ้
•
ขัน้ ตอนการอ่านจิตใจ การสอนบุคคลออทิสติกให้อา่ นจิตใจและ
อารมณ์ผอู ้ นื่ ได้ มี 3 ขัน้ ตอน และจะต้องสอนตามลาดับดังนี้
ขัน้ ที่ 1:
การสอนให้เข้าใจอารมณ์ (Teaching about
Emotion) โดยใช้ภาพถ่ายใบหน้าทีบ่ ่งบอกอารมณ์ดใี จ เสียใจ
ภาพแสดงความรูส้ กึ จากสถานการณ์ตา่ งๆ เช่น เด็กวิง่ หนีหนู
แสดงถึงความตกใจ/กลัว
การช่วยเหลือบุคคลออทิสติกในการเรียนรู ้
ขัน้ ที่ 2:
การสอนให้เข้าใจสภาวะข้อมูล (Teaching
about Informational States) ได้แก่ การรับรูท้ างการ
เห็น และมองภาพในมุมมองทีแ่ ตกต่างกันในมิตติ า่ งๆ หลายแบบหลาย
ลักษณะ เข้าใจหลักการทีน่ าไปสูก่ ารเรียนรู ้ คาดเดาการกระทาของผูอ้ นื่
จากข้อมูลทีม่ ี และเข้าใจเหตุการณ์ทเี่ ปลี่ยนไป
ขัน้ ที่ 3:
การสอนให้รูจ้ กั การเล่นสมมติ (Developing
Pretend Play) ได้แก่ การเล่นเพื่อพัฒนาประสาทการรับรู ้ การ
เคลื่อนไหว การเล่นอย่างมีความหมาย การเล่นสมมุติ เช่น ครูเล่านิทาน
ให้ผเู ้ รียนฟังและสมมุตใิ ห้ผเู ้ รียนเป็ นกระต่ายและเต่าและให้ผเู ้ รียนคลาด
และกระโดดแข่งกันให้ถึงเส้นชัยก่อนเป็ นผูช้ นะ
•
1)
ประโยชน์ของการอ่านจิตใจ
ช่วยในการสอนพฤติกรรมทางสังคม
(2) สามารถเข้าใจอารมณ์ของผูอ้ น่ื และแสดงออกต่อผูอ้ น่ื ได้
เหมาะสมเมื่ออยูใ่ นสถานการณ์ตา่ งๆ
(3) ช่วยให้บุคคลออทิสติกทีม่ ีปัญหาการสือ่ สารได้รบั รูว้ า่
ผูอ้ นื่ มีอารมณ์อย่างไรขณะสนทนา ผูอ้ นื่ ต้องการข้อมูลใดจากเรา
เราจึงจะให้ขอ้ มูลได้ถูกต้อง ซึง่ ทาให้การสนทนาดาเนินต่อไปได้
(4) ช่วยให้บุคคลออทิสติกเข้าใจตนเองมากขึ้น
(
การช่วยเหลือบุคคลออทิสติกในการเรียนรู ้
 2. เรือ่ งเชิงสังคม (Social Story)
 •
วัตถุประสงค์ของการนาเรือ่ งเชิงสังคมมาใช้สอน เรือ่ งเชิงสังคม
เป็ นเรือ่ งสัน้ กล่าวถึงลักษะเฉพาะหรืออธิบายสถานการณ์ ความคิด
รวบยอดหรือทักษะทางสังคม เขียนโดยบุคคลทีร่ บั ผิดชอบและ/หรืออยู่
ในครอบครัวเดียวกับบุคคลออทิสติก ซึง่ สามารถแต่งเรือ่ งได้มากมาย
แต่โดยทัว่ ไปเขียนเพื่อวัตถุประสงค์ตอ่ ไปนี้
การช่วยเหลือบุคคลออทิสติกในการเรียนรู ้ (ต่อ)
 (1) ตอบสนองต่อสถานการณ์ทเี่ ป็ นปั ญหาเพื่อช่วยบุคคลออทิสติก
ให้ได้รบั ข้อมูลเชิงสังคม เช่น พ่อ แม่ อาจสังเกตว่าลูกมีปัญหาทีจ่ ะ
นัง่ รถไปไหนมาไหน เล่นกับเด็กคนอืน่ หรือแสดงอารมณ์ออกมา จึง
นาปั ญหาเหล่านี้มาตัง้ เป็ นหัวข้อและเขียนเรือ่ งเชิงสังคมขึ้น
 (2) ช่วยอธิบายให้บุคคลออทิสติกเข้าใจสถานการณ์ตา่ งๆ ได้
ถูกต้อง เพราะบางครัง้ บุคคลออทิสติกถามคาถามหรือพูดบอก ทาให้
ครูรูว้ า่ เขาเข้าใจสถานการณ์นนั้ ๆ ผิด
การช่วยเหลือบุคคลออทิสติกในการเรียนรู ้ (ต่อ)
 (3)
เขียนเรือ่ งเชิงสังคมเพื่อรับรูค้ วามสาเร็จของบุคคลออทิสติก
เรือ่ งเชิงสังคมเพื่อรับรูค้ วามสาเร็จนี้ควรเป็ นเรือ่ งแรกของเขา ควร
เป็ นเรือ่ งทีอ่ ธิบาย/บอกเกี่ยวกับทักษะหรือสถานการณ์ทเี่ ขาประสบ
ความสาเร็จ และไม่มีปัญหา การเขียนชมเชยจะมีความหมายสาหรับ
บุคคลออทิสติกมากกว่าการบอกด้วยวาจา อย่างน้อยเรือ่ งทีเ่ ขียนขึ้น
จานวนครึง่ หนึ่งควรกล่าวถึงความสาเร็จเชิงบวก รายละเอียดของ
เรือ่ งทีเ่ ขียนขึ้นเป็ นสิง่ สาคัญทีจ่ ะช่วยพัฒนาการเห็นคุณค่าในตนเอง
(Self esteem) ของบุคคลออทิสติก
การช่วยเหลือบุคคลออทิสติกในการเรียนรู ้ (ต่อ)
•
(1)
(2)
(3)
องค์ประกอบสาคัญที่สดุ ของเรือ่ งเชิงสังคม คือ
ประเภทประโยคพื้นฐาน 4 ประเภท
อัตราความถี่ทเ่ี ขียนบอก
แต่ละประโยคเขียนในลักษณะต่างกันแต่มีความสาคัญพอๆ กัน
การช่วยเหลือบุคคลออทิสติกในการเรียนรู ้ (ต่อ)
ประโยคพื้นฐานที่นามาใช้ในการเขียนเรือ่ งเชิงสังคม ประโยค
พื้นฐานมี 4 ประเภท คือ
(1) พรรณนา/บอกเล่า (descriptive)
(2) มุมมอง (perpective)
(3) ชี้นา/ควบคุม (directive) และ
(4) ยืนยัน/รับรอง (affirmative)
•
การช่วยเหลือบุคคลออทิสติกในการเรียนรู ้ (ต่อ)
ประเภทที่
1:
ประโยคพรรณนา/บอกเล่า เป็ นประโยคที่
อธิบายว่าบุคคลทาอะไรในแต่ละสถานการณ์ทางสังคมเป็ นการบอกเล่า
ความจริง ไม่แสดงความเห็น หรือตัง้ สมมติฐาน ใช้บอกเล่าหัวเรือ่ ง
โดยทัว่ ไป
ตัวอย่าง :
(1)
“ฉันชือ่ ...” (โดยทัว่ ไปจะเป็ นประโยคแรกของเรือ่ งเชิงสังคม)
(2)
“บางครัง้ คุณยายอ่านเรือ่ งให้ฉนั ฟั ง”
(3)
“เด็กๆ ชอบเล่นในสนามเด็กเล่น”
การช่วยเหลือบุคคลออทิสติกในการเรียนรู ้ (ต่อ)
ประเภทที่
2:
ประโยคมุมมอง เป็นประโยคทีใ่ ช้อธิบายความ
นึกคิดภายในของบุคคลอืน่ เช่น ความรู/้ ความคิด ความรูส้ ึก ความเชือ่
ความเห็น แรงจูงใจหรือสภาวะทางกาย/สุขภาพ โดยทัว่ ไปจะใช้ประโยค
เหล่านี้กล่าวถึงบุคคลอืน่
ตัวอย่าง :
(1)
“ครูของฉันเก่งเลข” (ความรู/้ ความคิด)
(2)
“น้องสาวของฉันชอบเล่นเปี ยโน” (ความรูส้ ึก)
(3)
“เด็กบางคนเชือ่ ว่าซานตาคลอสมีจริง” (ความเชือ่ )
(4)
“เด็กหลายคนชอบรับประทานไก่ยา่ ง” (ความเห็น)
การช่วยเหลือบุคคลออทิสติกในการเรียนรู ้ (ต่อ)
ประเภทที่ 3: ประโยคชี้นา/ควบคุม เป็ นประโยค
ทีใ่ ช้บอกข้อเสนอแนะ หรือทางเลือกให้ใช้ตอบสนอง
สถานการณ์หรือความคิดรวบยอด เป็ นประโยคทีช่ ้ นี า
พฤติกรรมของบุคคลออทิสติกอย่างค่อยเป็ นค่อยไป
การช่วยเหลือบุคคลออทิสติกในการเรียนรู ้ (ต่อ)
ตัวอย่าง :
เริม่ ต้นประโยคชี้นา/ควบคุมด้วยคาว่า “ฉันจะ...” หรือ “ฉัน
สามารถ...” อาจชี้นาบุคคลออทิสติกให้เข้าใจผิดได้ เพราะเขา
อาจเชือ่ ว่าตนเองทาได้โดยไม่เผือ่ ว่าอาจจะทาผิดก็ได้ ฉะนัน้
ควรใช้ประโยคเหล่านี้แทน “ฉันจะพยายาม...” หรือ “ฉันจะลอง
ทา...” เช่น “ฉันจะพยายามนัง่ อยูjกับที”่ “ฉันจะขอให้แม่หรือ
พ่อกอด” “
การช่วยเหลือบุคคลออทิสติกในการเรียนรู ้ (ต่อ)
ประโยคที่
4:
ประโยคยืนยัน/รับรอง เป็ นประโยคทีใ่ ช้
เสริมความหมายประโยคอืน่ ๆ มักจะกล่าวถึงคุณค่าหรือความเห็นทีก่ ลุม่
คนในวัฒนธรรมหนึ่งๆ มีความรูส้ กึ ร่วมกัน โดยทัว่ ไปประโยคยืนยัน/
รับรองมักจะเป็ นประโยคใช้เขียนยืนยันความถูกต้อง ความสาคัญ การ
กระทาทีค่ วรปฏิบตั ิ เป็ นต้น
จบการนาเสนอ