การวางแผนการจัดการเรียนรู้ หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้น

Download Report

Transcript การวางแผนการจัดการเรียนรู้ หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้น

การวางแผนการจัดการเรียนรู้
หลักสู ตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา
ขั้นพืน้ ฐาน พ.ศ.2551
ดร.สุ รพงษ์ ไชยวงศ์
ผอ.กศน.จังหวัดตาก
เหตุผล
1 นโยบายรัฐบาลทีเ่ กีย่ วข้ อง กศน. ความเท่ าเทียมและทัว่ ถึง
2 กศน.รับผิดชอบการจัด/การเรียนรู้ ประชาชนนอกระบบ
โรงเรียนทุกคน
3 ประชาชนกว่ า 90%ไม่ เรียนหนังสื อ
4 ฯลฯ
วัตถุประสงค์
• ออกแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ เพือ่ ใช้ ในการจัด
การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
• เน้ นการเรียนรู้ และวางแผนการจัดภาคเรียนที่ 2/2557
• ออกแบบทั้งรายวิชาบังคับและรายวิชาเลือก
• วิชาเลือกภาคเรียนนีใ้ ช้ วธิ ีเรียนแบบโครงงานประเมิน
ปลายภาคแบบประเมินความรู้ รวบยอด(Comprehensive)
เป้าหมายการประชุมเชิงปฏิบัตกิ าร
1วางแผนการจัดการเรียนรู้ ทเี่ หมาะสม
ตามหลักสู ตร กศน.ขั้นพืน้ ฐาน พ.ศ.2551
2ครู เป็ นผู้จดั การเรียนรู้ ให้ ผู้เรียน
ทุกวิชาทีน่ ักศึกษาลงทะเบียนเรียนในภาคเรียนที่ 2/2557
3ครู สอนน้ อยทีส่ ุ ด(ทาบทบาทผู้จดั การ) วางแผนสรุปเนือ้ หา
แต่ ละรายวิชาบังคับทีน่ ักศึกษาลงทะเบียนเป็ นรายตาบลและ
จัดวิทยากรมาสอนให้ ตรงเนือ้ หารายวิชา
หลักการความเป็ นมา
• รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 มาตรา 49 ได้ระบุ
สาระสาคัญด้านสิ ทธิพ้นื ฐานที่ประชาชนคนไทยพึงจะได้รับบริ การจาก
ภาครัฐ โดยเฉพาะด้านการศึกษาให้คนไทยทุกคนมีสิทธิเท่าเทียมกันใน
การรับการศึกษา ดังนี้ “บุคคลย่อมมีสิทธิเสมอกันในการรับการศึกษา
ไม่นอ้ ยกว่าสิ บสองปี ที่รัฐจะต้องจัดให้อย่างทัว่ ถึง และมีคุณภาพ โดยไม่
เก็บค่าใช้จ่าย ผูย้ ากไร้ ผูพ้ ิการ หรื อทุพพลภาพ หรื อผูอ้ ยูใ่ นสภาวะ
ยากลาบาก ต้องได้รับสิ ทธิตามวรรคหนึ่ง และการสนับสนุนจากรัฐ
เพื่อให้ได้รับการศึกษาโดยทัดเทียมกับผูอ้ ื่น
•
การจัดการศึกษาอบรมขององค์กรวิชาชีพหรื อเอกชน การศึกษา
ทางเลือกของประชาชน การเรี ยนรู ้ดว้ ยตนเอง และการเรี ยนรู ้ตลอดชีวิต
ย่อมได้รับความคุม้ ครอง และส่ งเสริ มที่เหมาะสมจากรัฐ”
พรบ.การศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ.2542
การกาหนดให้ ยดึ หลักการจัดการศึกษาไว้ ในมาตรา 8 ว่ า
เป็ นการศึกษาตลอดชีวติ สาหรับประชาชนให้ สังคมมีส่วน
ร่ วมในการจัดการศึกษา และการพัฒนาสาระและ
กระบวนการเรียนรู้ ให้ เป็ นไปอย่ างต่ อเนื่อง ทางด้ านสิ ทธิ
และหน้ าที่ทางการศึกษา
พรบ.กศน.พ.ศ.2551
กาหนดไว้ ใน ในมาตรา 6 ว่ า”... จะเสริมหลักประกันของ
การเรียนรู้ ตลอดชีวติ ของประชาชน โดยกาหนดหลักการ
ไว้ ว่า การศึกษานอกระบบ ความเสมอภาคในการเข้ าถึง
และได้ รับการศึกษาอย่ างกว้ างขวาง ทัว่ ถึง เป็ นธรรม และ
มีคุณภาพเหมาะสมกับสภาพชีวติ ของประชาชน
กาหนดให้ มกี ารกระจายอานาจให้ กบั สถานศึกษาและการ
ให้ ภาคีเครือข่ ายมีส่วนร่ วมในการจัดการเรียนรู้
กล่าวโดยสรุ ปในด้านกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา
ประชาชน ทั้ง3กฏหมาย ก็มีความสอดคล้องสนับสนุนให้
ประชาชนได้รับการศึกษาอย่างต่อเนื่องตลอดชีวติ ที่
สอดคล้องกับวิถีชีวติ โดยใช้ยทุ ธศาสตร์ภาคีเครื อข่าย
และการระดมสรรพกาลังมาร่ วมจัดการศึกษา ตลอดจน
การจัดให้สถานศึกษาและหน่วยงานได้คิดพัฒนารู ปแบบ
กระบวนการจัดการเรี ยนรู้ที่หลากหลายให้สอดคล้องกับ
วิถีชีวติ และชุมชน
กรอบแนวคิดในการออกแบบ
หลักการศึกษาผู้ใหญ่
หลักการศึกษานอกระบบ
ลักษณะสาคัญผู้ใหญ่ กลุ่มเป้าหมายนอกระบบโรงเรียน
•
หลักสู ตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
พ.ศ.2551
1. เป็ นหลักสูตรที่มีโครงสร้างยืดหยุน่ ด้านสาระการเรี ยนรู้
เวลาเรี ยน และการจัดการเรี ยนรู้ โดยเน้นการบูรณาการเนื้อหาให้
สอดคล้องกับวิถีชีวติ ความแตกต่างของบุคคล ชุมชน และสังคม
2. ส่ งเสริ มให้มีการเทียบโอนผลการเรี ยนจากการศึกษาใน
ระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย
3. ส่ งเสริ มให้ผเู้ รี ยนได้พฒั นาและเรี ยนรู้อย่างต่อเนื่องตลอด
ชีวติ โดยตระหนักว่าผูเ้ รี ยนมีความสาคัญ สามารถพัฒนาตนเองได้ตาม
ธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ
4. ส่ งเสริ มให้ภาคีเครื อข่ายมีส่วนร่ วมในการจัดการศึกษา
• หลักสู ตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 กาหนดจุดหมายดังต่อไปนี้
• 1. มีคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยมที่ดีงาม และสามารถอยูร่ ่ วมกัน
ในสังคมอย่างสันติสุข
2. มีความรู ้พ้นื ฐานสาหรับการดารงชีวติ และการเรี ยนรู ้อย่าง
ต่อเนื่อง
3. มีความสามารถในการประกอบสัมมาอาชีพให้สอดคล้องกับ
ความสนใจ ความถนัด และตามทันความเปลี่ยนแปลงทาง
เศรษฐกิจ สังคม และการเมือง
• 4. มีทกั ษะการดาเนินชีวติ ที่ดี และสามารถจัดการกับชีวติ ชุมชน สังคม
ได้อย่างมีความสุ ขตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
5. มีความเข้าใจประวัติศาสตร์ชาติไทย ภูมิใจในความเป็ นไทย
โดยเฉพาะภาษา ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี กีฬา ภูมิปัญญาไทย ความ
เป็ นพลเมืองดี ปฏิบตั ิตนตามหลักธรรมของศาสนา
ยึดมัน่ ในวิถีชีวติ และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตริ ยท์ รงเป็ นประมุข
6. มีจิตสานึกในการอนุรักษ์ และพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่ งแวดล้อม
7. เป็ นบุคคลแห่งการเรี ยนรู้ มีทกั ษะในการแสวงหาความรู้ สามารถ
เข้าถึงแหล่งเรี ยนรู ้ และบูรณาการความรู้มาใช้ในการพัฒนาตนเอง
ครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ
การวัดและประเมินผล
4 ลักษณะได้แก่
1.การประเมินความรู ้ ซึ่ งกาหนดให้มีการประเมิน 2 ส่ วนได้แก่
การประเมินระหว่างภาค 60 % โดยให้ความสาคัญเกี่ยวกับ
กระบวนการเรี ยนรู้ ของผูเ้ รี ยน และความรู ้สะสมจากกิจกรรมการ
เรี ยนรู้ และการประเมินความรู ้ ยอดปลายภาค 40 % ซึ่ งทั้งสองส่ วน
ผูเ้ รี ยนจะต้องผ่านการประเมินไม่นอ้ ยกว่า 50% จึงจะถือว่าผ่านใน
แต่ละวิชา
2.การประเนินด้ านจริยธรรม คุณธรรมในตัวของผู้เรียน
ซึ่งประเมินผู้เรียนสะสมตลอดหลักสู ตร ตีค่าการประเมินผ่ าน หรือไม่ ผ่าน
3.การเข้ ารับการทดสอบความรู้ มาตรฐานชาติ(National test) ซึ่ง
กาหนดให้ ผู้เรียนจะต้ องเข้ ารับการทดสอบมาตรฐานชาติ (National test)
ภาคเรียนสุ ดท้ ายก่ อนครบหลักสู ตร
4.ผ่ านการประเมินกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวติ จานวน 100(200)
หน่ วยการเรียนในแต่ ละระดับ
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ เป็ นอานาจ หน้ าทีข่ องสถานศึกษา (ศูนย์
กศน. อาเภอ)กรมสั่ งการให้ จังหวัดดาเนินการวัดผลปลายภาคและกรม
จัดทาข้ อสอบกลางรายวิชาบังคับ
การประเมินตามสภาพจริง
• การประเมินสภาพจริ ง เป็ นการประเมินจากการวัดโดยให้
ผูเ้ รี ยนลงมือปฏิบตั ิจริ งในสถานการณ์จริ ง
• การประเมินสภาพจริ งเป็ นการประเมินจากการปฏิบตั งิ าน
หรื อกิจกรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง โดยงานหรื อกิจกรรมที่
มอบหมายให้ผปู้ ฏิบตั ิ จะเป็ นงานหรื อสถานการณ์ที่เป็ น
จริ ง (Real Life) หรื อใกล้เคียงกับชีวติ จริ ง
• สะสมความรู้ (Credit System)
• การสะสมผลการเรี ยนเป็ นการยอมรับความรู้
ประสบการณ์ เมื่อผูเ้ รี ยนได้เก็บสะสมผลการเรี ยนรู้ที่
จาเป็ นได้ครบตามหน่วยกิตแล้ว ผูเ้ รี ยนก็สามารถจบ
การศึกษา วัตถุประสงค์ของการสะสมผลการเรี ยน คือ
การให้โอกาสทางการศึกษาหลายๆ ทางเพื่อให้คนได้มี
โอกาสเรี ยนรู ้ตลอดชีวติ ตลอดจน มุ่งหาความรู ้และ
ฝึ กอบรมเพิม่ เติมในระยะยาว
หลักวิธีการจัด
• จัดกิจกรรมบนพืน้ ฐาน ปัญหา ความต้ องการของชุมชน
• จาแนกกลุ่มผู้เรียน วัยวุฒิ ปัญหา ความต้ องการ และสภาพ
• มีวธิ ีเรียนทีห่ ลากหลาย รายคน รายกลุ่ม เรียนจากผู้ร้ ู เรียนจาก
ภูมิปัญญาท้ องถิน่ เรียนด้ วยตนเองจากสื่ อ ตามอัธยาศัย
• สร้ างบรรยากาศในชุมชนทีเ่ อือ้ ต่ อการเรียนรู้ พัฒนาตนเอง
• มีสื่อ แหล่ งเรียนรู้ ทเี่ หมาะสมต่ อการเรียนรู้
• ผู้เรียน ๆ อย่ างมีความสุ ข พึงพอใจในกิจกรรม
• ครู ออกแบบการเรียนรู้ ทเี่ หมาะสม
ภาพที่ตอ้ งการเห็นในชุมชน
•
•
•
•
ชุมชนตืน่ ตัวในการเรียนรู้
มีกลุ่มกิจกรรมหลากหลาย มีสมาชิกกลุ่มทุกคนในหมู่บ้าน
ประชาชนร่ วมมือร่ วมใจกันแก้ ปัญหา /พึง่ พาตนเอง
มีการเรียนรู่ ต่อเนื่อง ตลอดชีวติ
สวัสดี
ขอบคุณครับ