การวิจารณ์วรรณกรรม

Download Report

Transcript การวิจารณ์วรรณกรรม

“การวิพากษ์ วิจารณ์ ” เป็ นสิ่ งที่เข้ ามาเกี่ยวข้ องกับชีวิต
คนเรามากที่สุด เพราะในแต่ละวันคนเราทุกคนมี การ
“ให้ ค่ า ”ต่ อ สิ่ ง ต่ า งๆ รอบตัว อยู่ แ ทบจะตลอดเวลา
เช่นเดียวกันกับเวลาที่เราพบปะผูค้ นที่เรารู้ จกั อยู่รอบๆ
ตัว เราก็รู้อยู่แก่ใจเราเองว่า คนๆ นั้นเป็ นคนดีหรื อไม่ดี
อย่ า งไร ดัง นั้ น คนเราทุ ก คนก็ จ ะมี ห ลัก เกณฑ์ ห รื อ
วิ ธี ก ารตัด สิ น ใจที่ เ ป็ นแบบฉบับ ของตนเอง และการ
วิพากษ์วจิ ารณ์กเ็ ป็ นเรื่ องที่ไม่ได้ใกล้ตวั คนเราเลย
ตัวอย่างการวิจารณ์
ตัวอย่างการวิจารณ์
นวนิยาย เขาชื่อกานต์
ผูแ้ ต่ง สุ วรรณี สุ คนธา (นามปากกา)นามจริ ง สุ วรรณี
สุ คนธ์เที่ยง
ขนาด ๔๔ ตอนจบ ตีพิมพ์โฆษณาเผยแพร่ ครั้งแรกใน
นิตรสาร”สตรี สาร”
๑. “เขาชื่อกานต์”เป็ นนวนิยายสมจริ งที่เน้นสาระสาคัญของ
เรื่ องคือความเข้มแข็งที่จะรักษาอุดมการณ์ในการทางานและการ
เสี ยสละความสุ ขของตน
๒. เค้าโครงเป็ นเรื่ องการกล่าวถึงสภาพชีวติ ตัวละครเหล่านั้นทุก
คนทั้งเป็ นผูม้ ีการศึกษาและฐานะพื้นเพมีอาชีพและทัศนะที่
ต่างกัน
๓. นวนิยายเรื่ องนี้เป็ นนวนิยายที่ดีเยีย่ มในด้าน
องค์ประกอบต่างๆของเนื้อเรื่ อง
๔. จุดสะเทือนใจในตอนจบเป็ นเครื่ องแสดงว่าอุดมคติยงั
ใช้ได้อยูใ่ นสถานที่ที่เต็มไปด้วยทั้งในกรุ งเทพมหานครและ
ชนบทห่างไกล
๕. ผูเ้ ขียนมีความสามารถเด่นยิง่ ในการนาเสนอ วาง
สัดส่ วนตรงกับเนื้อเรื่ องอย่างสมดุลกะทัดรัดไม่ยดื เยื้อแต่ง
ให้บทบาทและบุคลิกภาพของตัวละครกระจ่างชัดขึ้นโดย
ไม่ตอ้ งอธิบายอย่างตรงไปตรงมา
๖. ภาพตัวละครปรากฏในบทสนทนาและความนึกคิดของ
ตัวละครค่อยๆประจักษ์ชดั เจนเป็ นบุคลิกของตัวละครแต่
ละบุคคล
๗. สานวนโวหารมีการเลือกใช้ถอ้ ยคาที่มีความหมายตรง
กระชับ สั้นและรัดกุมง่ายๆตรงไปตรงมาแต่สร้างความรู้สึก
ตระหนักในคุณค่าของอุดมคติและความเสี ยสละ
๘. โดยสรุ ปแล้วนวนิยายเรื่ องนี้มีความดีเด่นหลายประการ
ได้แก่ เนื้อเรื่ อง กลวิธี สานวนโวหาร การใช้ถอ้ ยคาเป็ นเรื่ อง
ที่มีคุณค่าสอดคล้องกับสภาพชีวติ ในปั จจุบนั ซึ่ งต้องการ
สร้างเสริ มกาลังใจสนับสนุนในด้านอุดมคติความจริ งจังต่อ
ชีวติ ความซื่อสัตย์สุจริ ตและความเสี ยสละเป็ นอย่างยิง่
“เป็ นกวีนิพนธ์ นำเสนอภำพและแนวคิดเพื่อกำรดำรงและ
ดำเนินชี วิตอย่ ำงสันติสุข ที่ผสมผสำนวรรณศิลป์ ปรั ชญำ
และศิลปะเข้ ำด้ วยกันอย่ ำงกลมกลืน ประกอบด้ วยเนื อ้ หำ
หลำกหลำยมิติ ตั้งแต่ ปัจเจกบุคคล จนถึงระดับสังคม ไม่ ผูก
กับยุคสมัย ไม่ มีพรมแดน ข้ ำมมิติเวลำ และมิติพืน้ ที่ มีควำม
ลุ่มลึก กระตุ้นให้ เกิดจิ นตนำกำร ขบคิดและคิดต่ อ”
“กวีนิพนธ์ เล่ มนีเ้ ป็ นบทร้ อยกรองอิ สระ (free verse) มี
ควำมสอดคล้ องระหว่ ำงรู ปแบบกั บ เนื ้ อ หำที่ มี ควำม
หลำกหลำย แม้ ไม่ มีจังหวะของฉั นทลักษณ์ แต่ ผ้ ูเขียนสำมำรถ
วำงจังหวะคำกวีได้ อย่ ำงทรงพลัง และสำมำรถใช้ ภำษำที่ ทำให้
เกิ ดจิ นตภำพ มีกำรสร้ ำงภำพพจน์ ที่ล่ มุ ลึก โดยเฉพำะอย่ ำงยิ่ง
ก ำ ร ใ ช้ ก ำ ร อ้ ำ ง ถึ ง ( allusion) แ ล ะ ป ฏิ ท ร ร ศ น์
(paradox)”
1. รู ปแบบของการประพันธ์ (Form) ในที่ น้ ี คือ บทร้ อย
กรองอิสระ (free verse) ที่ไม่มีการบังคับรู ปสัมผัสหรื อ
เสี ย งสั ม ผัส ตามแบบของฉั น ทลัก ษณ์ ( โคลง ฉั น ท์ กาพย์
กลอน) แต่จะใช้วิธีการเล่นภาษา และจังหวะของการเรี ยงร้อย
ถ้อ ยค ามากกว่า ร้ อ ยแก้ว ธรรมดาทั่ว ๆ ไป แต่ ภ าษาที่ ใ ช้จ ะ
แสดงถึงอารมณ์และความลึกซึ้ งของภาษากวี โดยการเน้นไป
ที่ความคิดหรื อสาระที่แสดงออกมา
2. คุ ณ ธรรม (Morality) ที่ ก วี ไ ด้ส อดแทรกไว้ใ นงาน
เขียน ซึ่ งคณะกรรมการฯ ระบุถึงคาว่า“สั นติสุข” ในทัศนะ
ของคุณซะการีย์ยา อมตยา นั้น เขาได้เขียนถึงความคาดหวังที่
จะให้โลกมีสนั ติภาพ ไม่วา่ ผูค้ นจะนับถือศาสนาใด เชื้อชาติใด
หรื อในดิ นแดนใดก็ตาม แม้ว่ากวีนิพนธ์จะเขียนออกมาสวน
ทางกับข้อเท็จจริ งที่โลกที่แท้จริ ง แต่กวีก็มองว่า สันติสุขนั้น
สามารถสร้างได้ดว้ ยมือของมนุษย์เอง
เอกสารอ้างอิง
http://www.dekd.com/board/view.php?id=10468
74
http://www.panyathai.or.th/wiki/i
ndex.php/การวิจารณ์
กอบกุล อิงคุทานนนท์, ศัพท์ วรรณกรรม, สานักพิมพ์
ษรฉัตร, (ไม่ปรากฏปี ที่พิมพ์)
พัฒจิรา จันทร์ดา, การอ่ านและวิจารณ์ เรื่องสั้ น,
สานักพิมพ์สถาพรบุค๊ , 2547
nn1234, “มาร์ กซิสต์ ”ตัวตนแท้ จริงทีอ่ ยู่ใน
วรรณกรรม และ “การวิจารณ์ วรรณกรรมตามแนว
มาร์ กซิสต์ ” (Marxist Criticism),