ตัวอย่าง - มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

Download Report

Transcript ตัวอย่าง - มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

โดย ศิวรรจน์ จารุ กิตติ์นราธร
2 สิ งหาคม 2556
การอ้ างอิง หมายถึง การบอกแหล่งที่มาของข้ อมูลที่ผ้ เู ขียน
นามาใช้ อ้างอิงในการเขียนรายงาน ทาให้ รายงานน่าเชื่อถือ ให้
เกียรติผ้ เู ขียนเดิมและแสดงเจตนาของผู้เขียนว่าไม่ได้ คดั ลอก
ข้ อมูลผู้อื่น




ทาให้ เอกสารวิชาการของผู้เขียนน่าเชื่อถือ
หากผู้อา่ นสนใจเรื่ องที่อ้างอิง สามารถนาไปค้ นคว้ าเพิ่มเติมได้
ไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ของเจ้ าของสิง่ พิมพ์
สาหรับงานเขียนทางวิทยาศาสตร์ การตัดสินว่าวารสารทาง
วิทยาศาสตร์ มีมาตรฐานเพียงใด ดูที่ความถี่ของการอ้ างอิง



หนังสือและเอกสาร เช่น ตารา หนังสือวิชาการทัว่ ไป รายงานการ
ประชุม วิทยานิพนธ์ รายงานการวิจยั ฯลฯ
วารสาร เช่น บทความวิจยั บทความปริทศั น์ บทความทางวิชาการ
บทความพิเศษ
บทความจากอินเตอร์ เน็ต เป็ น สารสนเทศออนไลน์จากเว็บไซต์
วิธีการเขียนอ้ างอิง
ส่วนเนื ้อหา
1. แบบเชิงอรรถ (Footnote)
2. แบบแทรกในเนื้อหา (ระบบนามปี )
ส่วนท้ ายเล่ม
1. บรรณานุกรม (ระบบนามปี )
หรื อ รายการอ้างอิง (Reference)
คือ การระบุเอกสารและแหล่งที่ใช้อา้ งอิงในการเขียนเรี ยบเรี ยงวิทยานิพนธ์
ไว้ทา้ ยหน้าแต่ละหน้าโดยการเขียนหมายเลขกากับในเนื้อความ ณ
ตาแหน่งที่ตอ้ งการอ้างอิงแล้วเขียนเชิงอรรถอ้างอิงท้ายหน้า
ตัวอย่าง เช่น
1
อภิโชค เลขะกุล, ระเบียบวิธีวิจยั : เอกสารประกอบการสอนวิชา 801710
= Research Methodology (เชียงใหม่ : คณะสถาปัตยกรรม
ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2549), หน้า 10.
Footnote ในโปรแกรม Word จะจัดให้อตั โนมัติ
ระบบนามปี คือ ระบบที่มีชื่อผู้แต่ง, ปี ที่พิมพ์ และเลขหน้ าอ้ างอิงอยู่
ภายในวงเว็บ
ตัวอย่างเช่น
(อภิโชค เลขะกุล, 2549, 10)
บรรณานุกรม คือ รายการของทรัพยากรสารสนเทศทังหมดที
้
่ผ้ ทู ารายงานได้ ใช้
ประกอบการเขียนรายงาน ทังที
้ ่ปรากฏชัดเจนโดยเขียนอ้ างอิงไว้ และส่วนที่ไม่
ปรากฏชัดเจน แต่อาจเป็ นเพียงการรวบรวมความคิดหลายๆ แนวนามาเรี ยบ
เรี ยงใหม่
ตัวอย่าง
สันต์ สุวจั ฉราภินนั ท์. (2551). เหล็กดัด: ผลผลิตวัฒนธรรมความกลัวที่พบในบ้ านพักอาศัย
ในพื ้นที่เมืองเชียงใหม่. เชียงใหม่ : คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
การอ้ างอิงแบบนามปี คือ การระบุชื่อผู้แต่ง ปี ที่พิมพ์ และหมายเลขหน้ า
เพื่อแจ้ งแหล่งที่มาของข้ อความ ถ้ าเป็ นภาษาไทย ใช้ เลขปี พ.ศ. และถ้ า
เป็ นภาษาอังกฤษใช้ เลขปี ค.ศ. การอ้ างอิงเอกสารภาษาไทยให้ ใช้ ชื่อและ
นามสกุล ส่วนเอกสารภาษาอังกฤษใช้ เฉพาะชื่อสกุล



วิธีที่ 1 วงเล็บการอ้ างอิงไว้ ท้ายข้ อความ
วิธีที่ 2 วงเล็บการอ้ างอิง แทรกปนในเนื ้อหา
วิธีที่ 3 อ้ างอิงชื่อผู้แต่งไว้ ในวงเล็บ
.....................(ผู้แต่ง, ปี , เลขหน้ า)
ตัวอย่าง
.....................(อภิโชค เลขะกุล, 2549, 10)
.....................(อภิโชค เลขะกุล และ วิฑูรย์ เหลียวรุ่ งเรื อง, 2549, 10)
......................(Freeman, 1979, 19-20)
.............................(ผู้แต่ง, ปี พิมพ์, เลขหน้ า)...........................
ผู้แต่ง (ปี , เลขหน้ า)..................... หรื อ
“……………….”
...........................ผู้แต่ง (ปี , เลขหน้ า)
เช่ น
วิฑรู ย์ เหลียวรุ่งเรื อง (2552) พบว่า ....................................................
(กรณีนี ้เป็ นตัวอย่างการเขียนแบบสรุปเนื ้อหามาอ้ างอิงทังเล่
้ ม)
อภิโชค เลขะกุล (2549, 1-10) ทดลองพบว่า........................................
(กรณีนี ้เป็ นตัวอย่างของการเขียนแบบสรุปเนื ้อหาจากหน้ า 1-10 มาอ้ างอิง)
องุ่นทิพย์ และ กรุณา (2556) ได้ กล่าวถึง ...............................................
(กรณีนี ้เป็ นตัวอย่างของการเขียนแบบผู้แต่งสองคน)
รูปแบบ
ที่มา : (ชื่อผู้แต่ง, ปี พ.ศ., เลขหน้ า)
ตัวอย่าง
ที่มา : (องุ่นทิพย์ ศรี สวุ รรณ, 2556, 10)
1.
2.
3.
4.
ผู้แต่ง
ชื่อเรื่ อง
ปี พิมพ์
ข้ อมูลเกี่ยวกับการพิมพ์


บุคคล เช่น ผศ.ดร.ณวิทย์ อ่องแสวงชัย ลงว่า ณวิทย์ อ่องแสวงชัย
หน่วยงานราชการ เช่น คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ลงว่า มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. คณะ
สถาปั ตยกรรมศาสตร์
การลงชื่อผู้แต่งที่เป็ นหน่วยงานให้ เอาชื่อหน่วยงานใหญ่ขึ ้นก่อน ตามด้ วยหน่วยงานรองลาดับลงมา
ให้ ลงชื่อเรื่ องตามที่ปรากฏในหน้ าปกใน ถ้ ามีชื่อเรื่องรอง (Subtitle) ให้
ลงชื่อเรื่ องรองหลังเครื่ องหมายมหัทภาค ( : ) ส่ วนชื่อเรื่ องภาษาไทยที่มี
ภาษาต่างประเทศกากับให้ลงรายการเฉพาะชื่อเรื่ องภาษาไทยเท่านั้น ส่ วน
ชื่อเรื่ องภาษาอังกฤษ ให้เริ่ มตัวพิมพ์ใหญ่ และใช้แบบนั้นตลอดทั้งเล่ม และ
ให้พิมพ์ตวั หนา (กรณี ที่เขียนให้ขีดเส้นใต้ชื่อเรื่ อง)
ตัวอย่ างชื่อเรื่องภาษาอังกฤษ
English : A guide to writing
ยุทธนา ทองท้ วม. (2554). ศูนย์ ฟื้นฟูผ้ ูตดิ ยาเสพติด. เชียงใหม่ : คณะสถาปั ตยกรรม
ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
หมายเหตุ ไม่ต้องใส่ชื่อเรื่ องภาษาอังกฤษ

ครัง้ ที่พิมพ์ (Edition) ให้ ลงตามที่ปรากฏในหนังสือในเครื่ องหมาย
วงเล็บหลังชื่อเรื่ อง ตัวอย่าง
 (ฉบับปรับปรุงใหม่).
 (พิมพ์ครัง้ ที่ 2 ปรับปรุงใหม่).
 (ฉบับแก้ ไขปรับปรุง).
 (พิมพ์ครัง้ ที่4).
สถานที่พิมพ์ (Place of Publisher) ได้ แก่ เมืองที่พิมพ์ ผู้รับผิดชอบในการพิมพ์
และปี ที่พิมพ์
 เมืองที่พิมพ์

 จังหวัดเชียงใหม่
 กรุงเทพมหานคร
 ไม่ปรากฏเมืองที่พิมพ์

ผู้รับผิดชอบในการพิมพ์
ลงว่า
ลงว่า
ลงว่า
เชียงใหม่
กรุงเทพฯ
ม.ป.ท.
 หน่วยงานหรื อองค์กร ลงว่า กองแผนงาน สานักงานปลัดกระทรวง กระทรวงศึกษาธิการ
 สานักพิมพ์ เช่น สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ลงว่า สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
 โรงพิมพ์ เช่น โรงพิมพ์ห้วยแก้ ว ลงว่า โรงพิมพ์ห้วยแก้ ว / โรงพิมพ์ครุ ุสภา ลาดพร้ าว ลงว่า โรงพิมพ์
คุรุสภา
 ห้ างหุ้นส่วน เช่น บริ ษัท นานมี จากัด ลงว่า นานมี
 ไม่ปรากฏผู้รับผิดชอบ
ลงว่า
ม.ป.พ.
ตัวอย่ าง
 รู ปแบบ
ผูแ้ ต่ง. (ปี ). ชื่อเรื่อง. สถานที่พิมพ์ : สานักพิมพ์.
 ตัวอย่าง
นิพทั ธ์พร เพ็งแก้ว. (2550). เล่าเรื่องเมืองเพชร. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุ งเทพฯ : พิมพ์คา.
การเว้นวรรคการพิมพ์
1. หลังเครื่ องหมาย . เคาะ1 ครั้ง
2. ก่อนและหลังเครื่ องหมาย : เคาะ 1 ครั้ง
3. ชื่อเรื่ องเป็ นตัวหนา หรื อ ตัวเอียง
รู ปแบบ
ผูแ้ ต่ง.(ปี ที่พิมพ์).ชื่อบทความ.ชื่ อวารสาร, ปี ที่(ฉบับที่), เลขหน้า.
ตัวอย่าง
ชัยเสฏฐ์ พรหมศรี . (2549). การเป็ นผูน้ าที่มีจริ ยธรรม, นักบริ หาร,
26(3), 20-25.
การเว้นวรรคการพิมพ์
1. หลังเครื่ องหมาย . และ , เคาะ1 ครั้ง
2. ก่อนและหลังเครื่ องหมาย : เคาะ 1 ครั้ง
3. ชื่อวารสารเป็ นตัวเอียง
รูปแบบ
ผูแ้ ต่ง. (ปี เดือน วัน). ชื่อบทความ. ชื่ อหนังสื อพิมพ์ . น.เลขหน้า.

ตัวอย่ าง
สุ ชาติ เผือกสกนธ์. (9 มิถุนายน 2549). ปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียง. ผู้จัดการรายวัน, น.13.

ชื่อผูเ้ ขียน. (ปี ที่พิมพ์). ชื่อเรื่อง. ระดับวิทยานิพนธ์, ชื่อสาขา คณะ
ชื่อมหาวิทยาลัย.
ตัวอย่าง
ภัคพร กอบพึ่งตน. (2540). การประเมินคุณภาพการพยาบาลผูค้ ลอด
ปกติในโรงพยาบาลนครพิงค์ จังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์
พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริ หารการพยาบาล
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

บรรทัดที่ 2 4-เคาะ 8 ครัง้
ผูแ้ ต่ง. (ปี ที่พิมพ์). ชื่อบทความ. ใน ชื่ อสารานุกรม (ฉบับที่
, หน้า). สถานที่พิมพ์: สานักพิมพ์.
Sturgeon, T. (1995). Science fiction. In The encyclopedia Americana (Vol. 24, pp. 390392). Danbury, CT: Grolier.
ผูแ้ ต่ง. (ปี ). ชื่อเรื่อง. สื บค้นเมื่อวัน เดือน, ปี , จาก ชื่อเว็บไซต์: URL
ตัวอย่าง
โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย. ฝ่ ายผูป้ ่ วยนอก. หน่วยสุ ขศึกษา.
(ไม่ปรากฏปี พิมพ์). คาแนะนาสาหรับผูป้ ่ วยที่ได้รับการผ่าตัดทางนรี
เวชกรรม [แผ่นพับ ]. ค้นเมื่อ 25 พฤศจิกายน 2552, จาก
http://healthnet.md.chula.ac.th/text/forum1/takecare_sex/index.html
การเขยีนบรรณานุกรมแผ่นพับ (Brochure) / จุลสาร(Pamphlet) / สูจิบตั ร
เขียนเช่นเดียวกับหนงัสือโดยใส่ คาว่า [แผ่นพับ] หรื อ [Brochure] [จุลสาร]
หรื อ [Pamphlet] หลังชื่อเรื่ อง หรื อ สานักพิมพ์(ถ้ามี)
ตัวอย่าง
มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ . คณะแพทยศาสตร์. ภาควิชาศัลยศาสตร์.
(2552). โรคริ ดสี ดวงทวาร: เรื่ องพบบ่อยที่ไม่ควรมองข้าม [แผ่นพับ ].
สงขลา: มหาวิทยาลัย.
ศุลีพร ช่วยชูวงศ์. (สิ งหาคม 2552). การใช้ฐานข้อมูล UpToDate. เอกสาร
ประกอบการอบรมเรื่ องเทคนิคการสื บค้นสารสนเทศจากฐานข้อมูล
อิเล็กทรอนิกส์ทางการแพทย์, สงขลา : มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์.
Johannesson, C. (2008). The mole [PowerPoint slides]. Retrieved
October 16, 2008, from http://www.nisd.net/communicationsarts/
pages/chem/ppt/molarconv_pres_ppt
ดาริ ณี สุ วภาพ, ปาริ ชาติ เทวพิทกั ษ์, และดวงพร ผาสุ วรรณ. (2547). ปัจจัยที่มีอิทธิพล
ต่อผลสอบประเมินความรู ้ เพื่อขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาตเป็ นผูป้ ระกอบ
วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ช้ นั หนึ่ ง ของคณะพยาบาลศาสตร์
มหาวิทยาลัยรังสิ ต. ค้นเมื่อ 23 กรกฎาคม 2550, จาก
http:www.rsu.ac.th/research-abstract-005.php